กักขัง | ก. บังคับให้อยู่ในสถานที่อันจำกัด, เก็บตัวไว้ในสถานที่อันจำกัด. |
กักขัง | น. โทษทางอาญาสถานหนึ่ง ที่ให้กักตัวผู้ต้องโทษไว้ในสถานที่ซึ่งกำหนดไว้อันมิใช่เรือนจำ มิใช่สถานีตำรวจ และมิใช่สถานที่ควบคุมผู้ต้องหาของพนักงานสอบสวน. |
ผู้ต้องกักขัง | น. ผู้ที่ถูกกักขังตามหมายกักขังของศาล. (ดู กักขัง ประกอบ). |
ขัง | กักขังจำเลยหรือผู้ต้องหาโดยศาล. |
ขาใหญ่ | น. นักเลงผู้มีอิทธิพล, นักโทษหรือผู้กักขังที่มีอิทธิพล. |
ควบคุม | การคุมหรือกักขังผู้ถูกจับโดยพนักงานฝ่ายปกครองหรือตำรวจในระหว่างสืบสวนและสอบสวน. |
ค่าไถ่ | น. ทรัพย์สินหรือประโยชน์ที่เรียกเอา หรือให้เพื่อแลกเปลี่ยนเสรีภาพของผู้ถูกเอาตัวไป ผู้ถูกหน่วงเหนี่ยว หรือผู้ถูกกักขัง. |
คุมขัง | ก. คุมตัว ควบคุม ขัง กักขัง หรือจำคุก. |
ไถ่ ๑ | ให้ทรัพย์สินหรือประโยชน์เพื่อแลกเปลี่ยนเสรีภาพของผู้ถูกเอาตัวไป ผู้ถูกหน่วงเหนี่ยว หรือผู้ถูกกักขัง. |
ทัณฑสถาน | (ทันทะ-) น. เรือนจำพิเศษประเภทหนึ่ง ซึ่งใช้เป็นที่ควบคุมกักขังผู้ต้องขังเฉพาะแต่ละประเภทให้เหมาะสมกับประเภทผู้ต้องขังนั้น ๆ เช่น ทัณฑสถานวัยหนุ่ม เป็นสถานที่ควบคุมกักขังและฝึกอาชีพแก่ผู้ต้องขังที่อยู่ในวัยหนุ่ม. |
โทษทางอาญา | น. โทษที่ลงแก่ผู้กระทำความผิดอาญา ซึ่งตามประมวลกฎหมายอาญาได้กำหนดไว้ ๕ สถาน ได้แก่ ประหารชีวิต จำคุก กักขัง ปรับ และริบทรัพย์สิน. |
ลงอาญา, ลงอาชญา | ก. ลงโทษหรือทำโทษด้วยวิธีต่าง ๆ ได้แก่ ประหารชีวิต จำคุก กักขัง ปรับ ริบทรัพย์สิน. |
หน่วงเหนี่ยว | (หฺน่วงเหฺนี่ยว) ก. รั้งตัวไว้, ดึงถ่วงไว้, กักไว้, เช่น เขาถูกฟ้องฐานะที่หน่วงเหนี่ยวกักขังผู้อื่น. |
หมายค้น | น. หนังสือสั่งการที่ศาลสั่งให้เจ้าหน้าที่ตรวจค้น เพื่อยึดสิ่งของหรือจับกุมบุคคลซึ่งมีหมายให้จับ หรือเพื่อช่วยบุคคลซึ่งถูกหน่วงเหนี่ยวหรือกักขังโดยมิชอบด้วยกฎหมาย. |
place of confinement | สถานที่กักขัง [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
restrain | ๑. หน่วงเหนี่ยว, กักขัง, ควบคุมตัว (ก. อาญา)๒. จำกัด, ห้ามกระทำการ (ก. แพ่ง) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
restraint | ๑. การหน่วงเหนี่ยว, การกักขัง, การควบคุมตัว (ก. อาญา)๒. การจำกัด, ข้อจำกัด, การยับยั้ง (ก. แพ่ง) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
arrests, restraints and detainments | การจับกุม หน่วงเหนี่ยว และกักขัง [ประกันภัย ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] |
confinement | การกักขัง [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
confinement in lien | การกักขังแทนค่าปรับ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
detain | ๑. กักขัง, หน่วงเหนี่ยว (บุคคล), ควบคุมตัว (ก. อาญา)๒. ยึดหน่วง (ก. แพ่ง) [ ดู retain ความหมายที่ ๑ ประกอบ ] [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
detainer | ๑. ผู้กักขัง, ผู้หน่วงเหนี่ยว (บุคคล) (ก. อาญา)๒. ผู้ยึดหน่วงทรัพย์ (ก. แพ่ง) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
detention | การกักขัง, การกักกัน [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
detention | ๑. การกักขัง, การหน่วงเหนี่ยว, การควบคุมตัว (ป. วิ. อาญา)๒. การยึดหน่วงทรัพย์ (ก. แพ่ง) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
false imprisonment | การกักขังโดยมิชอบด้วยกฎหมาย [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
imprisonment, false | การกักขังโดยมิชอบด้วยกฎหมาย [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
illegal confinement | การกักขังโดยมิชอบด้วยกฎหมาย [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
incarceration | การกักขัง [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
temporary detention | การกักขังชั่วคราว [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
workhouse | ๑. สถานที่กักขัง (ผู้ต้องโทษระยะสั้น)๒. โรงทำงาน (อังกฤษ) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
Preventive detention | การกักขังผู้กระทำผิด [TU Subject Heading] |
Freedom of Communication | เสรีภาพในการติดต่อและสื่อสาร ถือเป็นสิทธิทางกฎหมาย (ไม่ใช่เพียงเอกสิทธิ์เท่านั้น) ที่สำคัญอันหนึ่งของนักการทูตย่อมจะเห็นได้ชัดว่า คณะทูต จะไม่สามารถปฏิบัติหน้าที่ได้อย่างพึงพอใจ นอกจากจะมีอิสระอย่างสมบูรณ์ในการที่จะมีหนังสือหรือวิถีทางอื่นๆ เพื่อติดต่อกับรัฐบาลของตน หรือจะส่งและรับจดหมาย หรือหนังสือต่างๆ โดยเจ้าหน้าที่ถือสารพิเศษ หรือโดยถุงทางการทูต (Diplomatic pouch) สำหรับเรื่องนี้ อนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางการทูต ได้บัญญัติไว้ในข้อ 27 ดังนี้?1. ให้รัฐผู้รับอนุญาตและคุ้มครองการสื่อสารโดยเสรีในส่วนของคณะผู้แทน เพื่อความมุ่งประสงค์ในทางการทั้งมวลเพื่อการติดต่อกับรัฐบาล และกับคณะผู้แทนและสถานกงสุลอื่นของรัฐผู้ส่ง ไม่ว่าตั้งอยู่ ณ ที่ใด คณะผู้แทนอาจใช้วิถีทางที่เหมาะสมทั้งมวลได้ รวมทั้งผู้ถือสารทางการทูต และสารเป็นรหัสหรือประมวล อย่างไรก็ดี คณะผู้แทนอาจติดตั้งและใช้เครื่องส่งวิทยุได้ด้วยความยินยอมของรัฐผู้รับ เท่านั้น 2. หนังสือโต้ตอบทางการของคณะผู้แทนจะถูกละเมิดมิได้ หนังสือโต้ตอบทางการ หมายถึง หนังสือโต้ตอบทั้งมวลที่เกี่ยวกับคณะผู้แทนและภารกิจหน้าที่ของคณะผู้แทน 3. ถุงทางการทูต (Diplomatic Pouch) จะไม่ถูกเปิดหรือถูกกักไว้ 4. หีบห่อซึ่งรวมเป็นถุงทางการทูต จะต้องมีเครื่องหมายภายนอกที่เห็นได้ชัดเจน สามารถแสดงลักษณะของถุงทางการทูต ซึ่งอาจบรรจุเพียงเอกสารหรือสิ่งของทางการทูตที่เจตนาเพื่อใช้ในทางการเท่า นั้น 5. ผู้ถือสารทางการทูต (Diplomatic courrier) จะได้รับเอกสารทางการแสดงสถานภาพของตน และจำนวนหีบห่อซึ่งรวมเป็นถุงทางทูตนั้น ให้ได้รับความคุ้มครองจากรัฐผู้รับ ในการปฏิบัติการตามหน้าที่ของตน ให้ผู้ถือสารทางการทูตได้อุปโภคความละเมิดมิได้ ส่วนบุคคลจะต้องไม่ถูกจับกุมหรือกักขังในรูปใด 6. รัฐผู้ส่งหรือคณะผู้แทนอาจแต่งตั้งผู้ถือสารทางการทูตเฉพาะกรณีได้ ในกรณีที่ว่านี้ให้นำบทแห่งวรรค 5 ของข้อนี้มาใช้ด้วย เว้นแต่ว่าความคุ้มกันที่กล่าวไว้ในวรรคนั้นให้ยุติไม่ใช้ เมื่อผู้ถือสารนี้ได้ส่งถุงทางการทูตในหน้าที่ของตนให้แก่ผู้รับแล้ว 7. ถุงทางการทูตอาจจะมอบหมายไว้แก่ผู้บังคับการของเครื่องบินพาณิชย์ ซึ่งได้มีพิกัดจะลง ณ ท่าเข้าเมืองที่ได้รับอนุญาตแล้วได้ ให้ผู้บังคับบัญชาของเครื่องบินพาณิชย์รับเอกสารทางการแสดงจำนวนหีบห่อซึ่ง รวมเป็นถุง แต่ไม่ใช่ถือว่าผู้บังคับการของเครื่องบินพาณิชย์เป็นผู้ถือสารทางทูต คณะผู้แทนอาจส่งบุคคลหนึ่งในคณะผู้แทนไปรับมอบถุงทางการทูตได้โดยตรง และโดยเสรีจากผู้บังคับการของเครื่องบิน? [การทูต] |
Personal Inviolability of Diplomatic Agents | หมายถึง ตัวบุคคลของตัวแทนทางทูตจะถูกละเมิดมิได้ กล่าวคือ มาตรา 29 ของอนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางการทูต ได้บัญญัติในเรื่องนี้ไว้ว่า ?ตัวบุคคลของตัวแทนทางการทูตจะถูกละเมิดมิได้ ตัวแทนทางการทุตจะไม่ถูกจับกุมหรือกักขังในรูปใด ๆ ให้รัฐผู้รับปฏิบัติต่อตัวแทนทางการทูตด้วยความเคารพตามสมควร และดำเนินการที่เหมาะสมทั้งมวลที่จะป้องกันการประทุษร้ายใด ๆ ต่อตัวบุคคล เสรีภาพ หรือเกียรติของตัวแทนทางการทูต?ตัวบุคคลของตัวแทนทางการทูตจะถูกละเมิดมิได้ นั้น ได้ถือเป็นปัจจัยหลักในการที่ให้ผู้แทนทางการทูตได้รับสิทธิและความคุ้มกัน ทั้งมวล ถึงกับมีการพูดกันว่า ผู้ใดประทุษร้ายต่อตัวเอกอัครราชทูต จักถือว่าเป็นการทำร้ายต่อประมุขของประเทศซึ่งผู้แทนทางการทูตผู้นั้นเป็น ตัวแทนอยู่ ทั้งยังถือว่าเป็นการยังผลร้ายต่อความปลอดภัยและสวัสดิภาพของประชาชาติทั้ง มวลด้วยตัวอย่างเช่น เมื่อวันที่ 24 มีนาคม ค.ศ. 1964 ชายหนุ่มญี่ปุ่นคนหนึ่งซึ่งมีจิตวิปลาส ได้ใช้มีดแทง นายเอ็ดวิน โอไรส์ชาวเออร์ เอกอัครราชทูตสหรัฐฯ ประจำประเทศญี่ปุ่น ในเขตนอกสถานเอกอัครราชทูตสหรัฐฯ ในกรุงโตเกียว รัฐมนตรีว่าการกระทวงมหาดไทยญี่ปุ่นได้ลาออกจากตำแหน่งทันทีและรุ่งขึ้นใน วันที่ 25 มีนาคม ค.ศ. 1964 นายอิเคดะ นายกรัฐมนตรีญี่ปุ่นในสมัยนั้น ได้ทำการขอโทษต่อประชาชนชาวอเมริกันทางวิทยุโทรทัศน์ ซึ่งนับเป็นครั้งแรกที่ได้มีการดำเนินการในทำนองนี้ และการที่นายกรัฐมนตรีอิเคดะได้ปฏิบัติดังกล่าวได้แสดงให้เห็นว่า การที่ตัวบุคคลของผู้แทนทางการทูตจะถูกละเมิดมิได้นั้น มีความสำคัญมากเพียงใดตัวแทนทางการทูตจะถูกจับ ถูกฟ้องศาล หรือถูกลงโทษฐานประกอบอาชญากรรมนั้นไม่ได้ เพราะถือว่าผู้แทนทางการทูตมิได้อยู่ในอำนาจศาลของรัฐผู้รับ อย่างไรก็ดี หากผู้แทนทางการทูตกระทำความผิดอย่างโจ่งแจ้ง รัฐผู้รับอาจขอให้รัฐผู้ส่งเรียกตัวกลับไปยังประเทศของเขาได้ในทันที [การทูต] |
Work of the United Nations on Human Rights | งานขององค์การสหประชาชาติว่าด้วยสิทธิมนุษยชน งานสำคัญชิ้นหนึ่งของสหประชาชาติคือ วควมมปรารถนาที่จะให้ประเทศทั้งหลายต่างเคารพและให้ความคุ้มครองแก่สิทธิ มนุษยชนตลอดทั่วโลก ดังมาตรา 1 ในกฎบัตรของสหประชาติได้บัญญัติไว้ว่า?1. เพื่อธำรงไว้ซึ่งสันติภาพและความมั่นคงระหว่างประเทศ และมีเจตนามุ่งมั่นต่อจุดหมายปลายทางนี้ จะได้ดำเนินมาตรการร่วมกันให้บังเกิดผลจริงจัง เพื่อการป้องกันและขจัดปัดเป่าการคุกคามต่อสันติภาพ รวมทังเพื่อปราบปรามการรุกรานหรือการล่วงละเมิดอื่น ๆ ต่อสันติภาพ ตลอดจนนำมาโดยสันติวิธี และสอดคล้องกับหลักแห่งความยุติธรรมและกฎหมายระหว่างประเทศ ซึ่งการปรับปรุงหรือระงับกรณีพิพาทหรือสถานการณ์ระหว่างประเทศ อันจะนำไปสู่การล่วงละเมิดสันติภาพได้ 2. เพื่อพัฒนาสัมพันธไมตรีระหว่างประชาชาติทั้งปวงโดยยึดการเคารพต่อหลักการ แห่งสิทธิเท่าเทียมกัน และการกำหนดเจตจำนงของตนเองแห่งประชาชนทั้งปวงเป็นมูลฐานและจะได้ดำเนิน มาตรการอันเหมาะสมอย่างอื่น เพื่อเป็นกำลังแก่สันติภาพสากล 3. เพื่อทำการร่วมมือระหว่างประเทศ ในอันที่จะแก้ปัญหาระหว่างประเทศในทางเศรษฐกิจ การสังคม วัฒนธรรม และมนุษยธรรม รวมทั้งการส่งเสริมสนับสนุนการเคารพสิทธิมนุษยชนและอิสรภาพ อันเป็นหลักมูลฐานสำหรับทุก ๆ คนโดยปราศจากความแตกต่างด้านเชื้อชาติ เพศ ภาษา หรือศาสนา 4. เพื่อเป็นศูนย์กลางและประสานการดำเนินงานของประชาชาติทั้งปวงในอันที่จะ บรรลุจุดหมายปลายทางเหล่านี้ร่วมกันด้วยความกลมกลืน"ดังนั้น เมื่อวันที่ 10 ธันวาคม ค.ศ. 1948 สมัชชาแห่งสหประชาชาติจึงได้ลงข้อมติรับรองปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน ซึ่งนับเป็นครั้งแรกในประวัติศาสตร์ชุมชนระหว่างประเทศ ที่ได้ยอมรับผิดชอบที่จะให้ความคุ้มครอง และเคารพปฏิบัติตามสิทธิมนุษยชนปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน ประกอบด้วยข้อความรวม 30 มาตรา กล่าวถึง1. สิทธิของพลเมืองทุกคนที่จะมีเสรีภาพ และความเสมอภาค รวมทั้งสิทธิทางการเมือง2. สิทธิทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม มาตรา 1 และ 2 เป็นมาตราที่กล่าวถึงหลักทั่วไป เช่น มนุษย์ปุถุชนทั้งหลายต่างเกิดมาพร้อมกับ อิสรภาพ และทรงไว้ซึ่งศักดิ์ศรีและสิทธิเท่าเทียมกัน ดังนั้น ทุกคนย่อมมีสิทธิและอิสรภาพตามที่ระบุในปฏิญญาสากล โดยไม่คำนึงถึงความแตกต่างใด ๆ เชื้อชาติ เพศ ภาษา ศาสนา ความเห็นทางการเมือง หรืออื่น ๆ ต้นกำเนิดแห่งชาติหรือสังคม ทรัพย์สินหรือสถานภาพอื่น ๆ ส่วนสิทธิของพลเมืองและสิทธิทางการเมืองนั้น ได้รับการรับรองอยู่ในมาตร 3 ถึง 21 ของปฏิญญาสากล เช่น รับรองว่าทุกคนมีสิทธิที่จะมีชีวิตอยู่ มีเสรีภาพและความมั่นคงปลอดภัย มีอิสรภาพจากความเป็นทาสหรือตกเป็นทาสรับใช้ มีเสรีภาพจากการถูกทรมาน หรือการถูกลงโทษอย่างโหดร้าย สิทธิที่จะได้รับการรับรองเป็นบุคคลภายใต้กฎหมาย ได้รับความคุ้มครองเท่าเทียมกันภายใต้กฎหมาย มีเสรีภาพจากการถูกจับกุม กักขัง หรือถูกเนรเทศโดยพลการ มีสิทธิที่จะเคลื่อนย้ายไปไหนมาไหนได้ สิทธิที่จะมีสัญชาติ รวมทั้งสิทธิที่จะแต่งงานและมีครอบครัว เป็นต้นส่วนมาตรา 22 ถึง 27 กล่าวถึงสิทธิทางเศรษฐกิจ ทางสังคม และทางวัฒนธรรม เช่น มีสิทธิที่จะอยู่ภายใต้การประกันสังคม สิทธิที่จะทำงาน สิทธิที่จะพักผ่อนและมีเวลาว่าง สิทธิที่จะมีมาตรฐานการครองชีพสูงพอที่จะให้มีสุขภาพอนามัย และความเป็นอยู่ที่ดี สิทธิที่จะได้รับการศึกษาและมีส่วนร่วมในชีวิตความเป็นอยู่ตามวัฒนธรรมของ ชุมชน มาตรา 28 ถึง 30 กล่าวถึงการรับรองว่า ทุกคนมีสิทธิที่จะมีขีวิตอยู่ท่ามกลางความสงบเรียบร้อยของสังคมและระหว่าง ประเทศ และขณะเดียวกันได้เน้นว่า ทุกคนต้องมีหน้าที่และความรับผิดชอบต่อชุมชนด้วยสมัชชาสหประชาชาติได้ประกาศ ให้ถือปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชนนี้ เป็นมาตรฐานร่วมกันที่ทุกประชาชาติจะต้องปฏิบัติตามให้ได้ และเรียกร้องให้รัฐสมาชิกของสหประชาชาติช่วยกันส่งเสริมรับรองเคารพสิทธิและ เสรีภาพตามที่ปรากฎในปฏิญญาสากลโดยทั่วกัน โดยเล็งเห็นความสำคัญในเรื่องสิทธิมนุษยชนนี้ สมัชชาสหประชาชาติจึงลงมติเมื่อวันที่ 4 ธันวาคม ค.ศ. 1950 ให้ถือวันที่ 10 ธันวาคมของทุกปี เป็นวันสิทธิมนุษยชนทั่วโลก [การทูต] |
animal rights | (n) สิทธิของสัตว์ที่จะมีชีวิตอยู่อย่างอิสระปราศจากการหารประโยชน์ของมนุษย์หรือถูกมนุษย์ทารุณหรือกักขัง |
bang up | (phrv) ขังคุก, See also: กักขัง, Syn. lock up |
be behind bars | (idm) จำคุก, See also: กักขัง, ขังคุก |
captivity | (n) การถูกกักขัง, See also: การถูกจองจำ, Syn. imprisonment, confinement |
chain | (vt) กักตัว, See also: กักขัง, คุมตัว, Syn. confine, restrain |
crib | (vt) กักขัง, Syn. confine |
cool up | (phrv) จำกัดสิทธิเสรีภาพ, See also: กักขัง, ปิดกั้น, Syn. coop in |
detain | (vt) กักขัง, See also: หน่วงเหนี่ยว, กักตัว, เหนี่ยวรั้ง, Syn. retain, hold, confine, Ant. discard, lose |
detainee | (n) ผู้ถูกกักขัง, See also: ผู้ถูกคุมขัง, นักโทษ, Syn. prisoner |
incarcerate in | (phrv) จำคุก, See also: กักขัง, คุมขัง |
intern in | (phrv) กักขังใน, See also: กักขังไว้ใน, คุมขังใน, Syn. inter in |
hem in | (vt) กักขัง, See also: กักตัว, Syn. confine, restrict |
immure | (vt) กักขัง (ทางวรรณคดี), See also: ขังคุก, คุมขัง, Syn. confine, imprison |
impound | (vt) กักขัง, See also: กัก, Syn. confine, seize |
imprison | (vt) จำคุก, See also: กักขัง, คุมขัง, Syn. confine, immure |
imprisonment | (n) การจำคุก, See also: การกักขัง, การคุมขัง, Syn. confinement, immurement |
incarcerate | (vt) ขังคุก (คำทางการ), See also: กักขัง, จองจำ, Syn. confine, imprison, jail |
internee | (n) ผู้ถูกกักขัง, See also: ผู้ต้องขัง |
internment | (n) การกักกัน, See also: การกักขัง |
lock away | (phrv) กักขัง, See also: จำคุก, ใส่กรงขัง, Syn. lock up, put away, shut away |
lock up | (phrv) กักขัง, See also: จำคุก, ใส่กรงขัง, Syn. lock away |
jail | (vt) จำคุก, See also: กักขัง, จองจำ, เข้าตาราง, Syn. imprison, confine, detain, Ant. free, release |
pent | (adj) ซึ่งถูกกักขัง, See also: ซึ่งถูกกักตัว, ซึ่งถูกคุมขัง, Syn. confined |
pent-up | (adj) ที่ถูกควบคุมไว้, See also: ที่ถูกกักขังไว้, ซึ่งไม่ได้รับการปลดปล่อย |
pinch | (vt) กักขัง (คำไม่เป็นทางการ), See also: จับกุม, Syn. arrest, catch |
prison | (n) การติดคุก, See also: การคุมตัว, การกักขัง, การกักกัน |
place someone behind bars | (idm) กักขัง, See also: คุมขัง, Syn. be behind, put behind |
put inside | (phrv) ขังคุก, See also: กักขัง, คุมขัง |
put someone behind bars | (idm) จำคุก, See also: กักขัง, Syn. be behind, place behind |
restrain | (vt) กักขัง, See also: กักตัว, Syn. imprison |
wall up | (phrv) ขัง, See also: กักขัง, คุมขัง |
brig | (บริก) n. เรือใบสองเสา, ห้องคุกในเรือ, สถานที่กักขัง |
cage | (เคจฺ) { caged, caging, cages } n. กรง, กรงนก, คุก, ที่คุมขัง, ที่กักขัง, โครง, โครงกระดูก, โครงเหล็กค้ำปืน vt. ใส่ในกรง |
calaboose | (แคล'ละบูส) n. คุกการกักขัง |
detention | (ดิเทน'เชิน) n. การกักขัง, การคุมตัว, การกักกัน, การยึดทรัพย์ของผู้อื่น adj. เกี่ยวกับการกักขัง |
detenu | (เดทะนู') n. ผู้ถูกกักขัง |
durance | (ดู'เรินซฺ) n. การจำคุก, การกักขัง, ความอดทน, ความทนทาน, Syn. imprisonment |
imprison | (อิมพริส' เซิน) vt. จำคุก, เอาเข้าคุก, กักขัง., See also: imprisoner n., Syn. incarcerate |
imprisonment | (อิมพริส' เซินเมินทฺ) n. การจำคุก, การเอาเข้าคุก, การถูกจำคุก, การกักขัง |
incarcerate | (อินคาร์' เซอเรท) vi. จำคุก, กักขัง, คุมขัง. -adj. ถูกจำคุก, ถูกคุมขัง., See also: incarceration n., Syn. imprison, jail |
internee | (อินเทอนี') n. ผู้ถูกกักกันหรือกักขัง |
internment | (อินเทิร์น'เมินทฺ) n. การกักกัน, การกักขัง, Syn. confinement |
keep | (คีพ) { kept, kept, keeping, keeps } v. เก็บ, สงวนไว้, กักขัง, ป้องกันรักษา, หน่วงเหนี่ยว, ธำรงไว้, ผดุงไว้, กักตัว, ดำเนินกิจการ, ยังคงเป็นอยู่ การรักษาไว้, การสนับสนุน, ตัวตึกที่แข็งแรงที่สุดของปราสาทสมัยกลาง, ส่วนที่แข็งแกร่ง แน่นหนาที่สุด, คุก. -Phr. (forkeeps ด้วยควา |
pinch | (พินชฺ) vt. หยิก, หนีบ, บีบ, บิด, บีบ, คลึง, ทำให้แสบ, ลดลง, ฉกฉวย, ทำให้กลุ้ม, กระเบียดกระเสียน, เด็ดทิ้ง, ตัดแต่ง, ขโมย, ทำให้หดเหี่ยว, ปล้น, กักขัง, จับกุม. vi. (รองเท้า) รัด, ทำให้กลัดกลุ้ม, กระเบียดกระเสียน, ประหยัด, เหน็บแนม. -Id. (pinch pennies ประหยัด) n. การหยิก, การหนีบ, จำนวนนิดเดียว, ความขัดสน, สถานการณืที่ลำบาก, ความกดดัน |
cage | (n) กรง, ที่คุมขัง, ที่กักขัง |
cage | (vt) คุมขัง, ใส่กรง, ขังกรง, กักขัง |
calaboose | (n) คุก, เรือนจำ, ที่คุมขัง, ที่กักขัง |
confine | (vt) กักขัง, จำกัดที่, ตีวง |
confinement | (n) การกักขัง, การจำกัดขอบเขต, การกักตัว, การคุมขัง |
detain | (vt) กักขังไว้, หน่วงไว้, กักกัน, รอไว้, ยับยั้ง |
detention | (n) การกักกัน, การกักขัง, การหน่วงไว้, การคุมขัง, การยึดทรัพย์ |
duress | (n) การบีบบังคับ, การบังคับขู่เข็ญ, การข่มขู่, การกักขัง |
immure | (vt) กักขัง, จำคุก, ขัง |
imprison | (vt) ขังคุก, กักขัง, จองจำ, จับกุม |
imprisonment | (n) การขังคุก, การกักขัง, การจองจำ, การจับกุม |
keep | (vt) เก็บ, ดูแล, รักษา, เลี้ยง, ระวัง, กักขัง |
penitentiary | (adj) ที่รับผิด, ซึ่งรู้สึกผิด, เกี่ยวกับการกักขัง |
penitentiary | (n) ที่กักขัง, สถานดัดสันดาน |