ปลายมือ | (adv) in the long run, Ant. ต้นมือ, Example: เขาชอบทำงานแบบเสร็จปลายมือเสมอ ก็คือทำให้เสร็จก่อนวันส่งงานเพียงวันเดียว, Thai Definition: ถึงที่สุด, ในที่สุด |
ปลายมือ | (n) end, See also: later period, late stage, later life, Example: สมชายตั้งความหวังไว้ว่าตอนปลายมือเขาจะมีชีวิตอย่างสงบสุข, Thai Definition: บั้นปลายของชีวิต |
ปลายมือ | น. บั้นปลายของชีวิต. |
ปลายมือ | ว. ในที่สุด. |
เหน็บชา | น. ชื่อโรคชนิดหนึ่ง เกิดจากขาดวิตามินบี ๑ ทำให้มีอาการชาปลายมือปลายเท้าเป็นต้น. |
acroparaesthesia; acroparesthesia | อาการเหน็บปลายมือปลายเท้า [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
acroparesthesia; acroparaesthesia | อาการเหน็บปลายมือปลายเท้า [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
Acrocyanosis | เลือดคั่ง, ปลายมือปลายเท้าเขียว, อาการเขียวที่พบที่ปลายมือปลายเท้า, อาการเขียวที่มือและเท้า, อาการเขียวที่ปลายมือปลายเท้า, เขียวเฉพาะที่ปลายมือปลายเท้า, เขียวตามปลายมือปลายเท้า [การแพทย์] |
Anesthesia, Glove and Stocking | การเสียความรู้สึกเริ่มบริเวณปลายเท้าปลายมือค่อย [การแพทย์] |
Arterial Insufficiency | ขาดเลือดหล่อเลี้ยงที่ปลายมือปลายเท้า [การแพทย์] |
Callosities | หนังกระด้าง, ภาวะหนังกระด้าง, ผิวหนังตามปลายมือเท้าแห้งด้านแข็ง, หนังหนากระด้าง, หนังหนาด้าน [การแพทย์] |
Cross Booter | เตะปลายมือ [การแพทย์] |
Cyanosis | ซัยอะโนซิส;ตัวเขียว, ภาวะ;อาการเขียว;ผิวเขียวคล้ำ;ไซยาโนซีส;เขียวคล้ำ;ผิวหนังซีดเขียว;ภาวะเขียว;เขียวจากการขาดเลือด;อาการแสดงของการขาดออกซิเจน;ตัวเขียวคล้ำ;การขาดอ๊อกซิเจน;เขียวที่ริมฝีปากและปลายมือปลายเท้า;ผิวหนังเขียว;ผิวหนังมีสีคล้ำ;ตัวเขียวจากการขาดออกซิเจน [การแพทย์] |
Cyanosis, Peripheral | ปลายมือปลายเท้าเขียว [การแพทย์] |
beriberi | โรคเหน็บชา, โรคที่มีอาการชาบริเวณปลายเท้าและปลายมือ โรคนี้เกิดขี้นเนื่องจากร่างกายขาดวิตามิน B1 [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
That's correct. | บางครั้ง แม้แต่ปลายมือของซาตาน ก็ปิดคดีได้ Wrecking Crew (2008) |
ปลายมือ | [plāimeū] (n) EN: end ; later period ; late stage ; later life |
ปลายมือ | [plāimeū] (adv) EN: in the long run ; in later life ; towards the end |
RSV | (abbrev) ไวรัส RSV หรือ Respiratory Syncytial Virus เป็นสาเหตุของการติดเชื้อระบบทางเดินหายใจตั้งแต่ส่วนบนจนถึงส่วนล่าง ส่งผลให้ผู้ป่วยมีอาการหลอดลมฝอยอักเสบ (Acute bronchiolitis) และอาจทำให้ปอดอักเสบติดเชื้อได้ (Pneumonia) โดยเฉพาะผู้ป่วยกลุ่มเสี่ยง เช่น เด็กที่มีโรคประจำตัว คลอดก่อนกำหนด ฯลฯ อาการเริ่มแรกเหมือนไข้หวัด คือ มีไข้ ไอ น้ำมูกไหล แต่จะมีไอมาก เสมหะเยอะและเหนียวข้น หายใจหอบเหนื่อย หน้าอกบุ๋ม อาจมีเสียหงายใจดังวี๊ดๆ ซึม ไม่กินน้ำ หงุดหงิด กระวุนกระวาย มีสีเขียวคล้ำบริเวณริมฝีปาก หรือ ปลายมือปลายเท้า เนื่องจากร่างกายขาดออกซิเจน หากมีอาการดังกล่าว ควรไปพบแพทย์ ที่มา: เอกสารแผ่นพับจากโรงเรียนอนุบาลชนานันท์ เรียบเรียงโดยก้านแก้ว จากการสัมภาษณ์ เรืออากาศเอกแพทย์หญิงหฤทัย กมลาภรณ์ โรงพยาบาลรามาธิบดี |