กฎหมายปิดปาก | น. หลักกฎหมายที่ไม่ยอมให้อ้างหรือพิสูจน์ข้อเท็จจริงให้ผิดไปจากข้อเท็จจริงที่ปรากฏตามพฤติการณ์ ไม่ว่าข้อเท็จจริงที่ปรากฏนั้นจะเป็นจริงหรือไม่ก็ตาม. |
กรมธรรม์ | (กฺรมมะทัน) น. เอกสารสัญญาซึ่งทำขึ้นตามที่กฎหมายกำหนด เช่น เอกสารที่ทาสลูกหนี้ยินยอมให้กรมการอำเภอทำให้ไว้แก่เจ้าหนี้นายเงิน สัญญาขายฝากที่ไร่ที่สวน, คำนี้เรียกเต็มว่า สารกรมธรรม์ หรือย่อว่า สารกรม, บางทีเรียกเพียงคำเดียวว่า กรม ก็มี เช่น กู้หนี้ถือสีนกันเข้าชื่อในกรมหลายคน (สามดวง). |
กรรโชก | (กัน-) น. เป็นฐานความผิดอาญา ที่ผู้กระทำข่มขืนใจผู้อื่นให้ยอมให้หรือยอมจะให้ตนหรือผู้อื่นได้ประโยชน์ในลักษณะที่เป็นทรัพย์สิน โดยใช้กำลังประทุษร้ายหรือโดยขู่เข็ญว่าจะทำอันตรายต่อชีวิต ร่างกาย เสรีภาพ ชื่อเสียง หรือทรัพย์สินของผู้ถูกขู่เข็ญ หรือของบุคคลที่สาม จนผู้ถูกข่มขืนใจยอมเช่นว่านั้น. |
กระดูก ๓ | ว. ขี้เหนียวอย่างไม่ยอมให้อะไรแก่ใครง่าย ๆ เช่น เจ้านายคนนี้กระดูกจริง ๆ ดินสอแท่งเดียวก็ไม่ยอมให้เบิก. |
กระดูกขัดมัน | ว. ขี้เหนียวมากอย่างไม่ยอมให้อะไรแก่ใครง่าย ๆ เช่น แม่ค้าคนนี้กระดูกขัดมันเหลือเกิน เราซื้อผลไม้แกตั้งร้อยกว่าบาทขอแถมเงาะลูกหนึ่งก็ไม่ได้ |
กลับลำ | ก. เปลี่ยนความคิด เช่น เมื่อวานเขาให้สัมภาษณ์ว่าจะไม่ยอมให้มีวันหยุดชดเชย วันนี้กลับลำอนุญาตให้มีตามเดิมแล้ว. |
ขัดข้อง | ก. ไม่ยอมให้ทำ, ไม่ตกลงด้วย, ติดขัด. |
ขัดใจ | ก. โกรธเพราะทำไม่ถูกใจ, ไม่ยอมให้ทำตามใจ. |
เงินเชื่อ | น. เงินค่าสิ่งของที่ยอมให้ชำระภายหลังเมื่อซื้อขาย, เงินแห้ง ก็เรียก. |
ดีดดิ้น | ก. เล่นตัวอย่างมีจริตหรือตั้งแง่ไม่ยอมทำหรือไม่ยอมให้ทำง่าย ๆ. |
ดื้อแพ่ง | ก. ขัดขืนไม่ยอมปฏิบัติตาม, ขัดขืนไม่ยอมให้ความร่วมมือ. |
ตระหนี่ตัว | ก. หวงตัว ไม่ยอมให้ใครอุ้ม (ใช้แก่เด็ก). |
ต่อ ๖ | ก. ยอมให้อีกฝ่ายหนึ่งได้เปรียบ โดยฝ่ายเห็นว่าได้เปรียบเป็นฝ่ายต่อ ฝ่ายเห็นว่าสู้ได้เป็นฝ่ายรอง เช่น ฉันขายาวกว่าเธอ จึงต่อให้เธอเดินไปก่อน. |
ตะพาย | เรียกกิริยาที่เอาเชือกร้อยช่องจมูกวัวควายที่เจาะ ว่า สนตะพาย, ใช้โดยปริยายแก่คนว่า ถูกสนตะพาย หรือ ยอมให้เขาสนตะพาย หมายความว่า ถูกบังคับให้ยอมทำตามด้วยความจำใจ ความหลง หรือความโง่เขลาเบาปัญญา |
ตัดเชือก | ก. ตัดความสัมพันธ์ ไม่ยอมให้ความช่วยเหลืออีกต่อไป. น. การแข่งขันรอบ ๔ คนหรือ ๔ ทีมสุดท้าย. |
ตัวแทนเชิด | น. บุคคลที่ตัวการเชิดให้ออกแสดงเป็นตัวแทนของตน หรือตัวการรู้แล้วยอมให้บุคคลนั้นเชิดตัวเองออกแสดงเป็นตัวแทน. |
ถ้วนถี่ | ว. ละเอียดลออ, รอบคอบ, โดยปริยายหมายความว่า ไม่ยอมให้ตกหล่นเสียหาย, ถี่ถ้วน ก็ว่า. |
ถี่ถ้วน | ว. ละเอียดลออ, รอบคอบ, โดยปริยายหมายความว่า ไม่ยอมให้ตกหล่นเสียหาย, ถ้วนถี่ ก็ว่า. |
ทางโท | น. ทางที่รถต้องยอมให้รถทางเอกผ่านไปได้ก่อน. |
ทุนนิยม | น. ระบบเศรษฐกิจที่ยอมให้บุคคลมีกรรมสิทธิ์ในที่ดินและทรัพยากรที่เป็นทุน มีเสรีภาพในการผลิตและการค้า. |
บ้านจัดสรร | น. กลุ่มบ้านซึ่งรัฐหรือเอกชนเป็นผู้ลงทุนสร้างให้ก่อน โดยยอมให้ผู้ซื้อผ่อนชำระก็ได้. |
ใบจอง | น. หนังสือแสดงการยอมให้เข้าครอบครองที่ดินชั่วคราวซึ่งพนักงานเจ้าหน้าที่เป็นผู้ออกให้. |
ปล่อย | ยอมให้ เช่น ปล่อยให้เข้ามา |
ปวารณา | (ปะวาระนา) ก. ยอมให้ภิกษุสามเณรขอหรือเรียกร้องเอาได้ เช่น ขอของจากผู้ปวารณา ใบปวารณา |
ปวารณา | บอกยอมให้ใช้ได้ด้วยความเต็มใจ เช่น ขอปวารณาจะใช้อะไรก็บอก |
ปวารณา | พิธีกรรมทางศาสนายอมให้สงฆ์ว่ากล่าวตักเตือนได้ ทำในวันขึ้น ๑๕ คํ่า เดือน ๑๑ ซึ่งเป็นวันออกพรรษา, เรียกวันออกพรรษา ว่า วันปวารณา หรือ วันมหาปวารณา. |
ปิดงาน | น. การที่นายจ้างปฏิเสธไม่ยอมให้ลูกจ้างทำงานชั่วคราวเนื่องจากข้อพิพาทแรงงาน. |
ปิดหูปิดตา | ก. ไม่ยอมรับรู้รับฟัง, ไม่ยอมให้รู้ให้เห็น. |
โป ๑ | น. เครื่องเล่นการพนันของจีน กลักทำด้วยทองเหลืองสี่เหลี่ยม มีลูกแดงขาวข้างในใช้ปั่น, ชื่อการพนันอย่างหนึ่ง เล่นโดยเจ้ามือเอาลิ้นโปใส่ลงในฝาครอบโป ไม่ให้คนแทงเห็น ปิดฝาครอบโปแล้วตั้งให้แทง โดยยอมให้คนแทงปั่นโปได้ตามใจชอบ เมื่อเปิด ถ้าลิ้นชักโปซีกขาวตรงกับช่องแต้มไหน ก็นับว่าโปออกแต้มนั้น โปมีประตูสำหรับแทงเพียง ๔ ประตู คือ หน่วย สอง สาม และครบ มีวิธีแทง ๗ วิธี คือ เหม็ง กั๊ก เลี่ยม อ๋อ ชั้ว ถ่อ และ อา, โปปั่น ก็เรียก. |
โปปั่น | น. ชื่อการพนันอย่างหนึ่ง เล่นโดยเจ้ามือเอาลิ้นโปใส่ลงในฝาครอบโป ไม่ให้คนแทงเห็น ปิดฝาครอบโปแล้วตั้งให้แทง โดยยอมให้คนแทงปั่นโปได้ตามใจชอบ เมื่อเปิด ถ้าลิ้นชักโปซีกขาวตรงกับช่องแต้มไหน ก็นับว่าโปออกแต้มนั้น โปมีประตูสำหรับแทงเพียง ๔ ประตู คือ หน่วย สอง สาม และครบ มีวิธีแทง ๗ วิธี คือ เหม็ง กั๊ก เลี่ยม อ๋อ ชั้ว ถ่อ และ อา, โป ก็เรียก. |
ผ่าน | ยอมให้ล่วงเข้าไปได้ เช่น บัตรผ่านประตู |
มวยไทย | น. กีฬาชกมวยบนเวทีที่มีกติกายอมให้คู่ชกใช้เท้า ศอก และเข่าได้. |
มอบฉันทะ | ก. มอบธุระไว้ด้วยความไว้วางใจ, ยินยอมให้ทำแทนโดยมีหลักฐาน, (กฎ) ดู มอบอำนาจ.มอบอำนาจ. |
ยกนิ้ว | ก. ยอมให้เป็นเยี่ยม. |
ยกเว้น | ก. ไม่เกี่ยวด้วย, กันเอาออก, ยอมให้เป็นพิเศษ. |
ยอม | ก. อาการที่แสดงออกบอกให้รู้ว่าเห็นด้วย ไม่ขัด ตกลงปลงใจ เช่น ยอมตามที่สั่ง ยอมนั่ง ยอมตาย, ผ่อนผันให้ เช่น ยอมให้ทำได้ ยอมให้ไป, ไม่สู้ เช่น เรื่องนี้ผมยอมเขา. |
รักษาหน้า | ก. ระวังไม่ยอมให้ต้องอับอายขายหน้า. |
รีดเอาทรัพย์ | น. เป็นฐานความผิดอาญา ที่ผู้กระทำข่มขืนใจผู้อื่นให้ยอมให้หรือยอมจะให้ตนหรือผู้อื่นได้ประโยชน์ในลักษณะที่เป็นทรัพย์สิน โดยขู่เข็ญว่าจะเปิดเผยความลับ ซึ่งการเปิดเผยนั้นจะทำให้ผู้ถูกขู่เข็ญหรือบุคคลที่สามเสียหายจนผู้ถูกข่มขืนใจยอมเช่นว่านั้น. |
รู้ชั้นเชิง, รู้ชั้นรู้เชิง | ก. รู้เล่ห์เหลี่ยม, รู้กลอุบาย, เช่น เขารู้ชั้นเชิงของคู่ต่อสู้ ฉันรู้ชั้นเชิงไม่ยอมให้ใครมาหลอกง่าย ๆ ตำรวจรู้ชั้นเชิงของผู้ร้าย. |
ลุกะโทษ, ลุแก่โทษ | ก. สารภาพผิดยอมให้ลงโทษตามแต่จะเห็นสมควร. |
เล่นตัว | ก. ตั้งแง่ไม่ยอมทำหรือไม่ยอมให้ทำง่าย ๆ ตามที่มีผู้งอนง้อหรือขอร้อง เพราะคิดว่าตัวมีดี เช่น ถ้าทำเป็นก็ทำให้หน่อย อย่าเล่นตัวไปเลย. |
ศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ | น. องค์กรใหญ่ฝ่ายตุลาการขององค์การสหประชาชาติ ตั้งอยู่ที่กรุงเฮก ประเทศเนเธอร์แลนด์ มีอำนาจจำกัดเฉพาะการพิจารณาตัดสินคดีแพ่งที่เกิดขึ้นระหว่างประเทศสมาชิกขององค์การสหประชาชาติด้วยกัน ซึ่งประเทศคู่กรณียินยอมให้ศาลเป็นผู้พิจารณาตัดสินเท่านั้น. |
สถานการค้าประเวณี | น. สถานที่ที่จัดไว้เพื่อการค้าประเวณีหรือยอมให้มีการค้าประเวณี รวมถึงสถานที่ที่ใช้ในการติดต่อหรือจัดหาบุคคลอื่นเพื่อกระทำการค้าประเวณีด้วย. |
สนตะพาย | ก. กิริยาที่เอาเชือกร้อยช่องจมูกวัวควายที่เจาะ ซึ่งเรียกว่า ตะพาย, ใช้โดยปริยายแก่คนว่า ถูกสนตะพาย หรือ ยอมให้เขาสนตะพาย หมายความว่า ถูกบังคับให้ยอมทำตามด้วยความจำใจ ความหลง หรือ ความโง่เขลาเบาปัญญา. |
หนีหน้า | ก. หลบไม่ยอมให้พบหน้า. |
หมาในรางหญ้า | น. คนที่หวงแหนสิ่งที่ตนเองกินหรือใช้ไม่ได้ แต่ไม่ยอมให้คนอื่นกินหรือใช้, หมาหวงราง ก็ว่า. |
หมาหวงราง | น. คนที่หวงแหนสิ่งที่ตนเองกินหรือใช้ไม่ได้ แต่ไม่ยอมให้คนอื่นกินหรือใช้, หมาในรางหญ้า ก็ว่า. |
หลบลี้หนีหน้า | ก. หลีกหนีไปไม่ยอมให้พบหน้า. |
หวงตัว | ก. รักนวลสงวนตัว เช่น เป็นลูกผู้หญิงต้องรู้จักหวงตัว, ไม่ยอมให้ถูกเนื้อต้องตัว เช่น เด็กคนนี้หวงตัว ไม่ยอมให้คนแปลกหน้าอุ้ม. |
อนุญาต | ก. ยินยอม, ยอมให้, ตกลง. |
Aquifer | ชั้นหินใต้ผิวดินที่มีคุณสมบัติยอมให้น้ำซึมเข้าได้โดยง่าย, Example: ในทางปิโตรเลียม Aquifer จะต้องประกอบด้วยชั้นหินที่ยอมให้น้ำมันดิบหรือก๊าซไหลซึมผ่านได้อยู่ด้านล่าง และชั้นหินที่ไม่ยอมให้น้ำมันหรือก๊าซซึมผ่านได้อยู่ด้านบน (หรือที่เรียกว่าหินปิดกั้น) และจะต้องมีช่องว่างสำหรับกักเก็บน้ำมันหรือก๊าซได้ [ปิโตรเลี่ยม] |
Cap Rock | ชั้นหินที่ไม่ยอมให้ของเหลวหรือก๊าซไหลผ่าน, ชั้นหินที่ไม่ยอมให้ของเหลวหรือก๊าซไหลผ่าน ปิดทับอยู่ด้านบนของชั้นหินกักเก็บปิโตรเลียม และปิดกั้นไม่ให้ไฮโดรคาร์บอนหนีออกมาถึงพื้นผิวดินได้ [ปิโตรเลี่ยม] |
อนุญาต | ยินยอม ยอมให้, Example: คำที่มักเขียนผิด คือ อนุญาติ [คำที่มักเขียนผิด] |
Accession | การภาคยานุวัติ คือการที่รัฐหนึ่งเข้าไปเป็นภาคีสนธิสัญญา ซึ่งรัฐอื่น ๆ ได้วินิจฉัยตกลงก่อนแล้วและสนธิสัญญานั้นได้มีผลใช้บังคับก่อนแล้วด้วย บางที่ใช้คำ ?accession? ซึ่งตรงกับคำในภาษาฝรั่งเศสว่า ?adhésion? รัฐจะเข้าเป็นภาคีสนธิสัญญาไม่ได้ นอกจากว่าในสนธิสัญญานั้นมีบทบัญญัติยอมให้รัฐอื่นเข้ามาเป็นภาคีด้วยได้ เช่น มาตรา 4 ของกฎบัตรแห่งสหประชาชาติบัญญัติไว้ว่า?(1) สมาชิกภาพในสหประชาชาติ เปิดรับบรรดารัฐอื่นๆ ทั้งหลายที่ยอมรับพันธกรณีที่ระบุไว้ในกฎบัตรปัจจุบันและองค์การสหประชาชาติ พิจารณาวินิจฉัยแล้วว่า รัฐนั้น ๆ สามารถและเต็มใจที่จะปฏิบัติตามพันธกรณีเหล่านั้น??(2) การรับรัฐใดๆ ดังกล่าวเข้าเป็นสมาชิกในสหประชาชาติจะเป็นผลสำเร็จก็ต่อเมื่อสมัชชาสหประชา ชาติได้ลงมติรับรองตามข้อเสนอแนะของคณะมนตรีความมั่นคง? คือ เอกสิทธิ์ทางการทูตในการที่จะได้มีถิ่นพำนัก [การทูต] |
Government in Exile | รัฐบาลพลัดถิ่น คือระหว่างที่สงครามยังดำเนินอยู่ ประเทศคู่สงครามหนึ่งอาจถูกกองทัพของประเทศฝ่ายศัตรูเข้ายึดครอง ในสถานการณ์เช่นนั้น ตัวหัวหน้าของรัฐบาลหรือรัฐมนตรีของประเทศที่ถูกยึดครองอำนาจอาจไปตั้ง รรัฐบาลขึ้นชั่วคราวในดินแดนของประเทศพันธมิตรหนึ่ง ซึ่งยินยอมให้ทำเช่นนั้น รัฐบาลที่ตั้งขึ้นเป็นการชั่วคราวดังกล่าวเรียกว่า รัฐบาลพลัดถิ่น ตราบใดที่รัฐบาลพลัดถิ่นได้รับการรับรองฐานะเป็นตัวแทนของประเทศตน ย่อมดำเนินกิจการหน้าที่ของประเทศในส่วนที่เกี่ยวข้องกับประเทศอื่นๆ ได้ รัฐบาลพลัดถิ่นจะยังคงสถานภาพของตนไว้ตราบเท่าที่ยังไม่มีความพยายามต่อไป ที่จะยึดเอาดินแดนของตนที่ข้าศึกครองอยู่กลับคืนมาให้ได้ ตัวอย่างของรัฐบาลพลัดถิ่นที่เคยมีมาแล้วคือ รัฐบาลของประเทศโปแลนด์ เบลเยียม เนเธอร์แลนด์ กรีซ และยูโกสลาเวีย ซึ่งได้ไปตั้งอยู่ในประเทศอังกฤษ เมื่อระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง ตอนที่ดินแดนของประเทศเหล่านี้ได้ถูกกองทัพของเยอรมนีเข้ายึดครอง [การทูต] |
International Court of Justice | ศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ หรือที่เรียกกันอย่างไม่เป็นทางการว่า ศาลโลก ตั้งขึ้นเมื่อปี ค.ศ.1945 ตามกฎบัตรขององค์การสหประชาชาติ กฎข้อบังคับ (Statute) ของศาลโลกนั้นได้ผนวกอยู่ท้ายกฎบัตรของสหประชาชาติ และถือเป็นส่วนสำคัญอย่างแยกจากกันมิได้ของกฎบัตร ศาลนี้ตั้งอยู่ ณ กรุงเฮก ประเทศเนเธอร์แลนด์ศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ ถือเป็นองค์กรแห่งศาลหรือแห่งตุลาการสำคัญที่สุดขององค์การสหประชาชาติ ประเทศใดที่เข้าเป็นภาคีของกฎข้อบังคับของศาลโลก ย่อมมีสิทธิที่จะส่งคดีใดก็ตามไปให้ศาลโลกพิจารณาได้ ภายใต้เงื่อนไขที่คณะมนตรีความมั่นคงได้จัดวางไว้ นอกจากนั้น คณะมนตรีความมั่นคงก็อาจจะส่งกรณีพิพาททางกฎหมายไปให้ศาลพิจารณาได้ทั้ง สมัชชาและคณะมนตรีความมั่นคงสามารถขอคำปรึกษาหรือความเห็นจากศาลเกี่ยวกับ ปัญหาข้อกฎหมายใดๆ และองค์กรอื่น ๆ ของสหประชาชาติ อันรวมถึงองค์การชำนัญพิเศษ ก็สามารถขอคำปรึกษา หรือความเห็นเกี่ยวกับประเด็นปัญหาทางกฎหมายใดๆ ที่อยู่ภายในกรอบของงานที่ปฏิบัติอยู่ แต่ทั้งนี้ ต้องได้รับอนุมัติเห็นชอบจากสมัชชาสหประชาชาติก่อน สมัชชาเคยมอบอำนาจเช่นนี้แก่คณะมนตรีเศรษฐกิจและสังคม คณะมนตรีภาวะทรัสตี คณะกรรมาธิการระหว่างกาล (Interim Committee) ของสมัชชา รวมทั้งองค์กรระหว่างรัฐบาลบางแห่งด้วยรัฐทั้งหมดที่เป็นสมาชิกของสหประชา ชาติถือว่าเป็นภาคีของกฎข้อบังคับของศาลโลกไปในตัว ส่วนประเทศใดที่มิใช่เป็นสมาชิกของสหประชาชาติ ก็อาจเป็นภาคีของกฎข้อบังคับของศาลโลกได้ ตามเงื่อนไขที่สมัชชาสหประชาชาติเป็นผู้กำหนดเป็นราย ๆ ไป ตามข้อเสนอแนะของคณะมนตรีความมั่นคง ศาลโลกมีอำนาจที่จะพิจารณาปัญหาทั้งหลายที่รัฐสมาชิกขอให้พิจารณา รวมทั้งเรื่องอื่น ๆ ทั้งหลายที่ระบุอยู่ในกฎบัตรสหประชาชาติ และตามสนธิสัญญาหรืออนุสัญญาที่ใช้บังคับอยู่ รัฐสมาชิกย่อมยอมผูกพันตนล่วงหน้าได้ที่จะยอมรับอำนาจศาลในกรณีพิเศษต่าง ๆ โดยจะต้องลงนามในสนธิสัญญา หรืออนุสัญญาซึ่งยอมให้ส่งเรื่องไปที่ศาลได้ หรือออกประกาศเป็นพิเศษว่าจะปฏิบัติเช่นนั้น ในคำประกาศเช่นนั้นจะต้องระบุว่ายอมรับอำนาจบังคับของศาลโลก และอาจจะยกเว้นคดีบางประเภทมิให้อยู่ในอำนาจของศาลได้ ในการวินิจฉัยลงมติ ศาลโลกจะอาศัยแหล่งที่มาของกฎหมายต่าง ๆ ดังนี้ คือ- สัญญาหรืออนุสัญญาระห่างประเทศซึ่งวางกฎข้อบังคับที่รัฐคู่กรณียอมรับ- ขนบธรรมเนียมระหว่างประเทศซึ่งมีหลักฐานแสดงว่าเป็นหลักปฏิบัติทั่วไปตามที่ กฎหมายรับรองศาลโลกอาจจะตัดสินชี้ขาดว่าสิ่งใดยุติธรรมและดี โดยรัฐภาคีที่เกี่ยวข้องตกลงเห็นชอบด้วยคณะมนตรีความมั่นคงอาจจะรับการขอ ร้องจากรัฐภาคีหนึ่งใดในกรณีพิพาท ให้กำหนดมาตรการที่จะใช้เพื่อให้คำตัดสินของศาลมีผลบังคับ ถ้าคู่กรณีอีกฝ่ายหนึ่งไม่ยอมปฏิบัติตามข้อผูกพันภายใต้อำนาจศาลศาลโลก ประกอบด้วยผู้พิพากษารวม 15 ท่าน ซึ่งถือกันว่าเป็น ?สมาชิก? ของศาล และได้รับเลือกตั้งจากสมัชชาและคณะมนตรีความมั่นคงของสหประชาชาติ ผู้พิพากษาเหล่านี้จะมีอำนาจออกเสียงลงคะแนนอย่างอิสระเสรีหลักเกณฑ์การคัด เลือกผู้พิพากษาศาลโลกจะถือตามคุณสมบัติขอผู้พิพากษานั้น ๆ มิใช่ถือตามสัญชาติของบุคคลดังกล่าว อย่างไรก็ดี จะมีการระมัดระวังด้วยว่า กฎหมายที่นำมาใช้ในศาลจะต้องมาจากระบบกฎหมายที่สำคัญ ๆ ของโลก ในศาลโลกจะมีผู้พิพากษาที่เป็นชาติเดียวกันมากกว่าหนึ่งคนไม่ได้ ผู้พิพากษาทั้งหลายจะมีสิทธิ์ดำรงอยู่ในตำแหน่งได้ เป็นเวลา 9 ปี มีสิทธิ์ได้รับเลือกตั้งซ้ำได้ และระหว่างที่ดำรงอยู่ในตำแหน่ง จะต้องไม่ประกอบอาชีพการงานอื่นใดทั้งสิ้น [การทูต] |
Inviolability of the Mission Premises | คือความละเมิดมิได้จากสถานที่ของคณะผู้แทน หมายความว่า บ้านของตัวแทนทางการทูต รวมทั้งสถานที่อื่น ๆ ที่ใช้เพื่อจุดประสงค์ทางการทูต รวมถึงตึกรามใด ๆ ที่ผู้แทนทางการทูตใช้ดำเนินงานทางการทูตในตำแหน่งที่ของเขา ไม่ว่าสถานที่นั้น ๆ จะเป็นทรัพย์สินของรัฐบาลของเขาหรือเป็นของเขาเอง หรือแม้แต่เป็นสถานที่ที่ให้ตัวแทนทางการทูตเช่า เหล่านี้จะได้รับความคุ้มกัน (Immunity) ทั้งสิ้น นอกจากนี้ เจ้าหน้าที่ของรัฐผู้ใด โดยเฉพาะเจ้าที่ตำรวจ เจ้าหน้าที่เก็บภาษี หรือเจ้าหน้าที่ศาล จะเข้าไปในที่อยู่หรือทำเนียบของผู้แทนทางการทูตมิได้ นอกจากจะได้รับความยินยอมให้กระทำเช่นนั้นอย่างไรก็ดี หากเกิดอาชญากรรมขึ้นภายในสถานที่ของคณะผู้แทน หรือในที่อยู่ของตัวแทนทางการทูต โดยบุคคลซึ่งมิได้อุปโภคความละเมิดมิได้ ตัวแทนทางการทูตผู้นั้นจะต้องมอบตัวอาชญากรดังกล่าวให้แก่รัฐบาลท้องถิ่นตาม ที่ขอร้อง กล่าวโดยทั่วไป ตัวแทนทางการทูตจะยอมให้ที่พักพิงในสถานทูตแก่อาชญากรใด ๆ ไม่ได้ เว้นแต่ในกรณีที่เห็นว่าอาชญากรผู้นั้นตกอยู่ในอันตรายที่จะถูกฆ่าจากฝูงชน ที่ใช้ความรุนแรง ก็จะยอมให้เข้าไปพักพิงได้เป็นกรณีพิเศษในเรื่องนี้ อนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางการทูต ได้กล่าวไว้ในข้อ 22 ดังนี้ ?1. สถานที่ของคณะผู้แทนจะถูกละเมิดมิได้ ตัวแทนของรัฐผู้รับไม่อาจเข้าไปในสถานที่นั้นได้ เว้นแต่ด้วนความยินยอมของหัวหน้าคณะผู้แทน 2. รัฐผู้รับมีหน้าที่พิเศษที่จะดำเนินการทั้งมวลที่เหมาะสม เพื่อคุ้มครองสถานที่ของคณะผู้แทนจากการบุกรุกหรือความเสียหายใด ๆ และที่จะป้องกันการรบกวนใด ๆ ต่อความสงบสุขของคณะผู้แทน หรือการทำให้เสื่อมเสียเกียรติ 3. สถานที่ของคณะผู้แทน เครื่องตกแต่ง และทรัพย์สินอื่นของคณะผู้แทนในสถานที่นั้น ตลอดจนพาหนะในการขนส่งของคณะผู้แทน ให้ได้รับความคุ้มกันจาการค้น การเรียกเกณฑ์ การอายัด หรือการบังคับคดี ? [การทูต] |
Iron Curtain | ม่านเหล็ก เป็นศัพท์ที่อดีตนายกรัฐมนตรีของอังกฤษ ผู้ล่วงลับไปแล้ว คือ เซอร์วินสตัน เชอชิลล์ เป็นผู้บัญญัติขึ้นหมายถึงเครื่องกีดขวางปิดกั้นเขต ซึ่งโซเวียตรัสเซียและประเทศคอมมิวนิสต์ในยุโรปตะวันออกไม่ยอมให้มีการ ติดต่อหรือเดินทางเข้าไปในอาณาเขตของประเทศดังกล่าว ที่เรียกกันว่า ประเทศหลังม่านเหล็ก เป็นปรากฏการณ์ทางการเมืองในระหว่างสงครามเย็น แต่ภายหลังที่ลัทธิคอมมิวนิสต์ล่มสลาย ม่านเหล็กก็พลอยหมดสภาพไปในที่สุด [การทูต] |
Neutralization, Neutrality หรือ Neutralism | คำว่า Neutraliza-tion หมายถึง กระบวนการซึ่งรัฐได้รับการค้ำประกันความเป็นเอกราชและบูรณภาพอย่างถาวรภาย ใต้อนุสัญญาระหว่างประเทศ รัฐที่ได้รับการประกันรับรองให้เป็นกลาง (Neutralized State) เช่นนี้จะผูกมัดตนว่า จะละเว้นจาการใช้อาวุธโจมตีไม่ว่าประเทศใดทั้งสิ้น นอกเสียจากว่าจะถูกโจมตีก่อน ตัวอย่างอันเป็นที่รู้จักกันดีที่สุดในเรื่องรัฐที่ได้รับการค้ำประกันความ เป็นกลางอย่างถาวร คือ ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ตามปฏิญญา (Declaration) ซึ่งมีการลงนามกัน ณ กรุงเวียนนา ประเทศออสเตรีย เมื่อวันที่ 20 มีนาคม ค.ศ. 1815 ประเทศใหญ่ ๆ ในสมัยนั้น คือ ออสเตรีย ฝรั่งเศส อังกฤษ ปรัสเซีย และรัสเซีย ได้รับรองว่า โดยคำนึงถึงผลประโยชน์ส่วนรวม จึงเป็นการจำเป็นที่จะให้รัฐเฮลเวติก(Helvetic Swiss States) ได้รับการประกันความเป็นกลางตลอดไป ทั้งยังประกาศด้วยว่า รัฐสภาของสวิตเซอร์แลนด์ตกลงรับปฏิบัติตามข้อกำหนดที่ได้ระบุไว้เมื่อไร ความเป็นกลางของสวิตเซอร์แลนด์ก็จะได้รับการค้ำประกันความเป็นกลางในทันที และแล้วสมาพันธ์สวิตเซอร์แลนด์ก็ได้ประกาศยอมรับปฏิบัติตาม หรือให้ภาคยานุวัติเมื่อวันที่ 27 พฤษภาคม ค.ศ. 1815 บรรดาประเทศที่รับรองค้ำประกันความเป็นกลางของสวิตเซอร์แลนด์จึงประกาศ รับรองดังกล่าว เมื่อวันที่ 20 พฤศจิกายน ค.ศ. 1815 อนึ่ง การค้ำประกันความเป็นกลางในลักษณะที่ครอบคลุมทั้งประเทศของรัฐใดรัฐหนึ่ง นั้น มีความแตกต่างกับการค้ำประกันเพียงดินแดนส่วนใดส่วนหนึ่งของรัฐหนึ่ง ซึ่งหมายความว่าดินแดนส่วนหนึ่งของรัฐที่ได้รับการค้ำประกันความเป็นกลางจะ ไม่ยอมให้ฝ่ายใดใช้ดินแดนส่วนที่ค้ำประกันนั้นเป็นเวทีสงครามเป็นอันขาด การค้ำประกันความเป็นกลางยังมีอีกแบบหนึ่งคือ รัฐหนึ่งจะประกาศตนแต่ฝ่ายเดียวว่าจะรักษาความเป็นกลางของตนตลอดไปโดยถาวร แต่ในกรณีเช่นนี้ ความเป็นเอกราชและบูรณภาพของรัฐที่ประกาศตนเป็นกลางเพียงฝ่ายเดียว จะไม่ได้รับการค้ำประกันร่วมกันจากรัฐอื่น ๆ แต่อย่างใดส่วนคติหรือลัทธิความเป็นกลาง (Neutralism) เป็นศัพท์ที่หมายถึงสถานภาพของรัฐต่าง ๆ ที่ไม่ต้องการน้ำประเทศของตนเข้ากับฝ่ายหนึ่งฝ่ายใดในสงครามเย็น ( Cold War) ที่กำลังขับเคี่ยวกันอยู่ระหว่างกลุ่มประเทศภาคตะวันออกกับกลุ่มประเทศภาค ตะวันตก นอกจากนี้ ผู้นำบางคนในกลุ่มของรัฐที่เป็นกลาง ไม่เห็นด้วยกีบการที่ใช้คำว่า ?Neutralism? เขาเหล่านี้เห็นว่าควรจะใช้คำว่า ?ไม่ฝักใฝ่กับฝ่ายหนึ่งฝ่ายใด? ( Uncommitted ) มากกว่าจะเห็นได้ว่า คำว่า ?ความเป็นกลาง? ( Neutrality ) นั้น หมายถึงความเป็นกลางโดยถาวร ซึ่งได้รับการค้ำประกันจากกลุ่มประเทศกลุ่มหนึ่ง เช่นในกรณีประเทศสวิตเซอร์แลนด์ก็ได้หรือหมายถึงความเป็นกลางเฉพาะในดินแดน ส่วนหนึ่งของรัฐที่ไม่ยอมให้ใครเข้าไปทำสงครามกันในดินแดนที่เป็นกลางส่วน นั้นเป็นอันขาดก็ได้ ดังนั้น พอจะเห็นได้ว่า แก่นแท้ในความหมายของความเป็นกลาง ( Neutrality) จึงอยู่ที่ท่าที หรือ ทัศนคติของประเทศที่ดำรงตนเป็นกลาง ไม่ต้องการเข้าข้างประเทศคู่สงครามใด ๆ ในสงคราม ในสมัยก่อนผู้คนยังไม่รู้จักความคิดเรื่องความเป็นกลางดังที่รู้จักเข้าใจ กันในปัจจุบัน ความเป็นกลางเป็นผลมาจากการทยอยวางหลักเกณฑ์ต่าง ๆ ของความเป็นกลาง นับตั้งแต่ศตวรรษที่ 16 เรื่อยมาจนถึงปัจจุบัน [การทูต] |
Niccolo Machiavelli (1469-1527) | คือรัฐบุรุษและปรัชญาเมธีทางการเมืองของสาธารณรัฐ ฟลอเรนส์ (Florence) ระหว่างรับราชการ ท่านดำรงตำแหน่งฝ่ายธุรการหลายตำแหน่งซึ่งไม่สู้มีความสำคัญเท่าใด แต่สิ่งที่ท่านสนใจมากที่สุดได้แก่ศิลปะของการเมือง หนังสือสำคัญ ๆ ที่ท่านประพันธ์ขึ้นไว้คือ The Prince เล่มหนึ่ง อีกเล่มหนึ่งชื่อ The Art of War และอีกเล่มหนึ่งคือ Discourses on the First Ten Books of Livyมีนักเขียนหลายคนวิพากษ์ Machiavelli ที่แสดงความเห็นสนับสนุนว่า รัฐบาลใดก็ตมที่ต้องการรักษาอำนาจการปกครองตนให้เข้มแข็งไว้ ย่อมจะใช้วิถีทางใด ๆ ก็ได้ ถึงแม้หนทางเช่นนั้นจะผิดกฎหมายหรือไร้ศีลธรรมก็ตาม และก็มีนักเขียนอีกหลายคนสนับสนุนท่าน โดยชี้ให้เห็นว่า ท่านเป็นแต่เพียงตีแผ่ให้เห็นพฤติกรรมที่แท้จริงของรัฐบาลประเทศต่าง ๆ ในยุคสมัยที่ท่านมีชีวิตอยู่มากกว่าอย่างอื่น อาทิเช่น ในหนังสือ The Prince ของท่านตอนหนึ่งอ้างว่า การต่อสู้นั้นมีอยู่สองวิธี วิธีแรกเป็นการต่อสู้โดยวิถีทางกฎหมาย อีกวิธีหนึ่งคือการต่อสู้โดยใช้กำลัง (Force) วิธีแรกนั้นเป็นวิธีที่มนุษย์พึงใช้ ส่วนวิธีที่สองเป็นวิธีเยี่ยงสัตว์ป่า แต่การใช้วิธีแรกมักจะไม่ค่อยได้ผลเสมอไป เพราะไม่เพียงพอ ก็ย่อมจะหันเข้าใช้วิธีที่สองได้ ฉะนั้น ผู้ปกครองประเทศสมัยนั้น ซึ่ง Machiavelli เรียกว่า Prince จึงจำเป็นต้องรู้ดีว่าจะใช้ทั้งวิธีที่มนุษย์จะพึงใช้ และวิธีเยี่ยงสัตว์ป่าอย่างไร ด้วยเหตุนี้ ผู้ปกครองประเทศสมัยนั้นไม่จำเป็นต้องมีสัจธรรม หากการกระทำนั้น ๆ จะทำความเสียหายแก่ผลประโยชน์ของประเทศ ท่านเห็นว่า หากมนุษย์ทุกคนเป็นคนดี กฎเช่นนี้ก็เป็นกฎที่ไม่ถูกต้อง แต่โดยที่มนุษย์ไม่ใช่คนดีทั้งหมด ในเมื่อเขาไม่ยอมให้ความศรัทธาความไว้วางใจในตัวท่าน ก็ไม่มีอะไรที่จะมาห้ามมิให้ท่านเลิกศรัทธากับเขาเหล่านั้นได้ [การทูต] |
Persons Entitled to Diplomatic Privileges and Immunities | บุคคลทีมีสิทธิที่จะได้รับเอกสิทธิ์และความคุ้ม ครองกันทางการทูต มาตรา 37 ของอนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางการทูตได้บัญญัติไว้ว่า ?1. คนในครอบครัวของตัวแทนทางการทูต ซึ่งประกอบเป็นส่วนของครัวเรือนของตัวแทนทางการทูต ถ้าไม่ใช่คนในชาติของรัฐผู้รับ ให้ได้อุปโภคเอกสิทธิ์และความคุ้มกันที่ระบุไวในข้อ 29 ถึง 36 2. บุคคลในคณะเจ้าหน้าที่ฝ่ายธุรการและฝ่ายวิชาการของคณะผู้แทน รวมทั้งคนในครอบครัวของตน ซึ่งประกอบเป็นส่วนของครัวเรือนของตน ตามลำดับ ถ้าไม่ใช่คนในชาติของรัฐผู้รับ หรือมีถิ่นที่อยู่ถาวรในรัฐผู้รับ ให้ได้อุปโภคเอกสิทธิ์และความคุ้มกันที่ได้ระบุไว้ในข้อ 29 ถึง 35 เว้นแต่ว่าความคุ้มกันจากอำนาจศาลทางแพ่งและทางปกครองของรัฐผู้รับ ที่ได้ระบุไว้ในวรรค 1 ของข้อ 31 นั้น ไม่ให้ขยายไปถึงการกระทำที่ได้ปฏิบัติไปเกินภารกิจหน้าที่ของตน ให้บุคคลในคณะเจ้าหน้าที่ฝ่ายธุรการและฝ่ายวิชาการได้อุปโภคเอกสิทธิ์ ที่ได้ระบุไว้ในข้อ 36 วรรค 1 ในส่วนที่เกี่ยวกับสิ่งของที่ได้นำเข้าเมื่อเข้ารับหน้าที่ครั้งแรกด้วย 3. บุคคลในคณะเจ้าหน้าที่ฝ่ายบริการของคณะผู้แทนซึ่งไม่ใช่คนในชาติของรัฐผู้ รับ หรือมีถิ่นที่อยู่ถาวรในรัฐผู้รับให้ได้อุปโภคความคุ้มกัน ในส่วนที่เกี่ยวกับการกระทำที่ได้ปฏิบัติตามภารกิจหน้าที่ตน การยกเว้นจากค่าภาระผูกพันรวมทั้งภาษีสำหรับค่าบำเหน็จที่ตนได้รับโดยเหตุผล จากการรับจ้างของตน และการยกเว้นที่ได้บรรจุไว้ในข้อ 33 4. คนรับใช้ส่วนตัวของบุคคลในคณะผู้แทน ถ้าไม่ใช่คนในชาติของรัฐผู้รับ หรือมีถิ่นที่อยู่ประจำในรัฐผู้รับ ให้ได้รับการยกเว้นจากค่าภาระผูกพัน หรือภาษีสำหรับค่าบำเหน็จที่เขาได้รับโดยเหตุผลจากการรับจ้างของตนในส่วน อื่น คนรับใช้ส่วนตัวเช่นว่านี้ อาจได้อุปโภคเอกสิทธิ์และความคุ้มกันเท่าที่รัฐผู้รับยอมให้เท่านั้น อย่างไรก็ดี รัฐผู้รับต้องใช้อำนาจของตนเหนือบุคคลเช่นว่านี้ ในการที่จะไม่แทรกสอดโดยไม่สมควรในการปฏิบัติการหน้าที่ของคณะผู้แทน [การทูต] |
Potsdam Proclamation | คือคำประกาศ ณ เมืองปอตสแดม ออกเมื่อวันที่ 26 กรกฎาคม ค.ศ. 1945 โดยหัวหน้าคณะรัฐบาลของประเทศสหรัฐอเมริกา อังกฤษ และจีน ลงนามโดยประธานาธิบดีของรัฐบาลจีนคณะชาติ เป็นคำประกาศเมื่อตอนใกล้จะเสร็จสิ้นสงครามโลกครั้งที่สอง โดยฝ่ายสัมพันธมิตรดังกล่าวกำลังทำสงครามขับเคี่ยวอยู่กับฝ่ายญี่ปุ่น พึงสังเกตว่า สหภาพโซเวียต ในตอนนั้นมิได้มีส่วนร่วมในการออกคำประกาศ ณ เมืองปอตสแดมแต่อย่างใดโดยแท้จริงแล้ว คำประกาศนี้เท่ากับเป็นการยื่นคำขาดให้ฝ่ายญี่ปุ่นตัดสินใจเลือกเอาว่าจะทำ การสู้รบต่อไป หรือจะยอมจำนนเพื่อยุติสงคราม คำประกาศได้เตือนอย่างหนักแน่นว่า หากญี่ปุ่นตัดสินใจที่จะสู้รบต่อไป แสนยานุภาพอันมหาศาลของสัมพันธมิตรก็จะมุ่งหน้าโจมตีบดขยี้กองทัพและประเทศ ญี่ปุ่นให้แหลกลาญ แต่หากว่าญี่ปุ่นยอมโดยคำนึงถึงเหตุผล ฝ่ายสัมพันธมิตรก็ได้ตั้งเงื่อนไขไว้หลายข้อ สรุปแล้วก็คือ ลัทธิถืออำนาจทหารเป็นใหญ่จะต้องถูกกำจัดให้สูญสิ้นไปจากโลกอำนาจและอิทธิพล ของบรรดาผู้ที่ชักนำให้พลเมืองญี่ปุ่นหลงผิด โดยกระโจนเข้าสู่สงครามเพื่อครองโลกนั้น จะต้องถูกทำลายให้สิ้นซาก รวมทั้งพลังอำนาจในการก่อสงครามของญี่ปุ่นด้วยจุดต่าง ๆ ในประเทศญี่ปุ่น ตามที่ฝ่ายสัมพันธมิตรจะกำหนด จะต้องถูกยึดครองไว้จนกระทั่งได้ปฏิบัติตามจุดมุ่งหมายของสัมพันธมิตรเป็นผล สำเร็จแล้ว อำนาจอธิปไตยของญี่ปุ่นให้จำกัดอยู่เฉพาะภายในเกาะฮอนซู ฮ็อกไกโด กิวชู ชิโกกุ และเกาะเล็กน้อยอื่น ๆ ตามที่ฝ่ายสัมพันธมิตรจะกำหนด อาชญากรสงครามทุกคนจะต้องถูกนำตัวขึ้นศาล รวมทั้งที่ทำทารุณโหดร้ายต่อเชลยศึกของสัมพันธมิตร รัฐบาลญี่ปุ่นจะต้องกำจัดสิ่งต่าง ๆ ทั้งหมดที่เป็นอุปสรรคต่อการรื้อฟื้น และเสริมสร้างความเชื่อถือในหลักประชาธิปไตยในระหว่างพลเมืองญี่ปุ่น และจัดให้มีเสรีภาพในการพูด การนับถือศาสนา และในการแสดงความคิดเห็น ตลอดจนการเคารพสิทธิมนุษยชนขั้นพื้นฐาน อย่างไรก็ดี ญี่ปุ่นจะได้รับอนุญาตให้ดำเนินกิจการด้านอุตสาหกรรมที่จะเกื้อกูลต่อภาวะ เศรษฐกิจของประเทศ และความสามารถที่จะชำระค่าปฏิกรรมสงคราม แต่จะไม่ยอมให้คงไว้ซึ่งกิจการอุตสาหกรรมชนิดที่จะช่วยให้ญี่ปุ่นสร้างสม อาวุธเพื่อทำสงครามขึ้นมาอีก ในทีสุด กำลังทหารสัมพันธมิตรจะถอนตัวออกจากประเทศญี่ปุ่นในทันทีที่จุดประสงค์ต่าง ๆ ได้บรรลุผลเรียบร้อยแล้ว ในตอนท้ายของเงื่อนไข สัมพันธมิตรได้เรียกร้องให้รัฐบาลญี่ปุ่นประกาศยอมแพ้อย่างไม่มีเงื่อนไข เสียโดยไว [การทูต] |
Sanctions | การบังคับตามกฎระหว่างประเทศ หมายถึงการที่หลาย ๆ ชาติได้ลงมติใช้มาตรการบังคับหรือจูงใจพร้อม ๆกันเพื่อบังคับให้ชาติหนึ่งที่ละเมิดกฎหมายระหว่างประเทศ ทำการยับยั้ง (Desist) หรือยินยอมให้มีการชี้ขาดตัดสิน (Adjudication) หรือกล่าวอย่างสั้น ๆ แซ็งชั่นก็คือ หนทางที่บังคับพันธกรณีทางกฎหมายให้เป็นไปตามกฎหมายเรื่องแซ็งชั่นนี้ กฎบัตรสหประชาชาติได้กล่าวไว้ในบทที่ 7 ข้อ 41 และ 42 มีข้อความดังนี้ ?ข้อ 41 คณะมนตรีความมั่นคงอาจวินิจฉัยว่า จะต้องใช้มาตรการอันใดอันไม่มีการใช้กำลังอาวุธ เพื่อยังผลให้เกิดแก่คำวินิจฉัยของคณะมนตรี และอาจเรียกร้องให้สมาชิกแห่งสหประชาชาติใช้มาตรการเช่นว่านั้น มาตรการเหล่านี้อาจรวมถึงการตัดสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจ และการคมนาคมทางรถไฟ ทางทะเล ทางอากาศ ทางไปรษณีย์โทรเลข ทางวิทยุ และวิถีทางคมนาคมอย่างอื่นโดยสิ้นเชิงหรือแต่บางส่วน และการตัดความสัมพันธ์ทางการทูต ข้อ 42 หากคณะมนตรีความมั่นคงพิจารณาเห็นว่ามาตรการที่บัญญัติไว้ในข้อ 41 น่าจะไม่เพียงพอ หรือได้พิสูจน์แล้วว่าไม่เพียงพอ คณะมนตรีก็อาจดำเนินการใช้กำลังทางอากาศ ทางทะเล หรือทางพื้นดินเช่นที่เห็นจำเป็น เพื่อธำรงไว้ หรือสถาปนากลับคืนมาซึ่งสันติภาพและความมั่นคงระหว่างประเทศ การดำเนินการเช่นว่านี้ อาจรวมถึงการแสดงแสนยานุภาพ การปิดล้อม และการปฏิบัติอย่างอื่นโดยกำลังทางอากาศ ทางทะเล หรือทางพื้นดินของบรรดาสมาชิกแห่งสหประชาชาติ [การทูต] |
Visa | การตรวจลงตรา กล่าวคือ เป็นเครื่องหมายแสดงการรับรองที่ประทับอยู่ในหนังสือเดินทางว่า หนังสือเดินทางฉบับนั้นได้รับการตรวจตราแล้ว ในกรณีที่ผู้ถือหนังสือดังกล่าวยื่นขอเดินทางเข้าไปในประเทศที่ให้การตรวจลง ตรา และทุกอย่างถูกต้องจึงให้ผู้นั้นเดินทางไปยังประเทศดังกล่าวได้อนุสัญญากรุง เวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางกงสุลได้บัญญัติไว้ในข้อ 5 ของวรรค D ว่า หน้าที่ทางกงสุลข้อหนึ่งคือ ?ออกหนังสือเดินทางและเอกสารเดินทางให้แก่คนชาติของรัฐผู้ส่ง และตรวจลงตราหนังสือเดินทาง หรือออกเอกสารที่เหมาะสมให้แก่บุคคลที่ประสงค์จะเดินทางไปยังรัฐผู้ส่ง?พึง เข้าใจว่า แม้หนังสือเดินทางจะได้รับการตรวจลงตราแล้วก็ตาม ก็มิได้เป็นการประกันร้อยเปอร์เซ็นต์ว่า ผู้ถือหนังสือนั้นจะได้รับการยินยอมให้เดินทางเข้าไปในรัฐที่ให้การตรวจลง ตรา คือ เจ้าหน้าที่ตรวจคนเข้าเมืองในรัฐนั้นอาจห้ามมิให้เข้าประเทศได้ ทั้ง ๆ ที่ได้รับการตรวจตราแล้วก็ตาม แต่การกระทำเช่นนี้เป็นกรณีที่เกิดขึ้นน้อยมากการตรวจลงตราหรือวีซ่านั้น แบ่งออกเป็นประเภทใหญ่ ๆ ได้ 3 ประเภท คือ1) การตรวจลงตราทางการทูต ซึ่งออกให้แก่บุคคลในคณะทูตและกงสุล รวมทั้งข้าราชการชั้นผู้ใหญ่ของต่างประเทศ2) การตรวจลงตราทางราชการ ออกให้แก่ข้าราชการที่ไม่รวมอยู่ในประเภทที่ 1) ซึ่งจะเดินทางไปธุระราชการ และ3) การตรวจลงตราธรรมดา ออกให้แก่บุคคลทั่วไปที่มีคุณสมบัติเหมาะสม และไม่รวมอยู่ในประเภทที่ 1) และ 2) มีหลายประเทศได้ให้การตรวจลงตราชั่วคราว การตรวจลงตราสำหรับลูกเรือเดินทะเล การตรวจลงตราสำหรับพ่อค้าต่างประเทศ การตรวจลงตราสำหรับนักศึกษา และการตรวจลงตราสำหรับผู้อพยพลี้ภัย เป็นต้น [การทูต] |
allowable depletion | allowable depletion, ความชื้นในดินที่ยอมให้ลดลงได้ [เทคนิคด้านการชลประทานและการระบายน้ำ] |
allowable soil moisture depletion | allowable soil moisture depletion, ความชื้นในดินที่ยอมให้ลดลงได้ [เทคนิคด้านการชลประทานและการระบายน้ำ] |
deficiency | deficiency, ความชื้นในดินที่ยอมให้ลดลงได้ [เทคนิคด้านการชลประทานและการระบายน้ำ] |
breaching dike | breaching dike, คันดินที่ยอมให้พัง [เทคนิคด้านการชลประทานและการระบายน้ำ] |
cellophane | เซลโลเฟน, กระดาษแก้วที่มีขนาดของรูระหว่างอนุภาคเล็กมาก ยอมให้สารบางชนิดผ่านได้ มักใช้ในการทดลองเกี่ยวกับออสโมซิส [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
electrolyte | อิเล็กโทรไลต์, สารละลายหรือของเหลวที่แตกตัวเป็นไออนได้บางส่วน หรือทั้งหมด และยอมให้กระแสไฟฟ้าไหลผ่านได้ [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
diode | ไดโอด, อุปกรณ์ทางอิเล็กทรอนิกส์ซึ่งมีขั้วไฟฟ้า 2 ขั้วยอมให้กระแสไหลผ่านได้ทางเดียวใช้ในเครื่องแปลงไฟฟ้ากระแสสลับให้เป็นไฟฟ้ากระแสตรง ไดโอดมีหลายชนิด แต่ที่นิยมอยู่ทั่วไปเป็นชนิดสารกึ่งตัวนำ [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
capacitor | ตัวเก็บประจุ, ชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์ชนิดหนึ่งมีสมบัติในการเก็บประจุไฟฟ้า ตัวเก็บประจุอย่างง่าย ๆ ประกอบด้วยแผ่น ตัวนำคู่เดียวหรือหลายคู่ซึ่งมีฉนวนคั่นระหว่าง แผ่นตัวนำ มีสมบัติสำคัญ อีกประการหนึ่ง คือให้ไฟฟ้ากระแสสลับผ่านได้แต่ไม่ยอมให้ไฟฟ้า กระแสตรงผ่าน [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
conductor | ตัวนำ, สารที่มีสมบัติยอมให้ประจุไฟฟ้าผ่านไปได้ เช่น ทองแดง เป็นตัวนำไฟฟ้าที่ดี เป็นต้น [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
electric conductor | ตัวนำไฟฟ้า, สารที่มีสมบัติยอมให้ประจุไฟฟ้าผ่าน หรือสารที่ถ่ายโอนประจุไฟฟ้าได้ดี เช่น โลหะต่าง ๆ เป็นต้น [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
translucent object | วัตถุโปร่งแสง, วัตถุที่แสงผ่านได้แต่จะเกิดการกระเจิงหรือการกระจายแสง เช่น กระจกฝ้ายอมให้แสงผ่านได้ แต่ไม่สามารถมองเห็นวัตถุที่อยู่อีกข้างหนึ่ง เพราะแสงเกิดการกระเจิง [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
differentially permeable membrane [ semipermeable membrane ] [ selectively permeable membrane ] | เยื่อเลือกผ่าน, เยื่อบาง ๆ ที่มีสมบัติยอมให้โมเลกุลหรือไอออนของสารบางชนิดผ่านเข้าออกได้ เช่น เยื่อหุ้มเซลล์ เยื่อหุ้มนิวเคลียส [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
electric resistance | ความต้านทานไฟฟ้า, สมบัติอย่างหนึ่งของตัวนำที่จะต้านกระแสไฟฟ้า ถ้าตัวนำนั้นยอมให้กระแสไฟฟ้าผ่านไปได้ดีเรียกว่าตัวนำนั้นมีความต้านทานไฟฟ้าน้อย หรือเป็นตัวนำไฟฟ้าที่ดี ความต้านทานไฟฟ้าของตัวนำมีค่าเท่ากับอัตราส่วนระหว่างความต่างศักย์ไฟฟ้าระหว่างปลายของตัวนำกับกระแสไฟฟ้าที่ผ่า [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
membrane | เยื่อ, สิ่งที่มีลักษณะเป็นแผ่นบาง ๆ มีรูขนาดเล็กมาก ส่วนมากยอมให้สารซึ่งมีอนุภาคเล็ก ๆ เท่านั้นซึมผ่าน [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
Membrane Permeability | การยอมให้สารผ่านเข้าเซลล์, ความซึมซ่านผ่านได้ของเยื่อแผ่นบาง, เพอร์มีอะบิลิตีของเมมเบรน [การแพทย์] |
Membranes, Semipermeable | น้ำหล่อสมองและไขสันหลังซึมผ่านได้, สารบางอย่างซึมผ่านได้, เยื่อบางเซมิเพอร์เมียเบิล, เยื่อเซลล์แบบผ่านได้บางส่วน, เซมิเปอร์มีอะเบิลเมมเบรน, เยื่อที่มีคุณสมบัติยอมให้สารบางอย่างผ่านไปได้, เยื่อที่ซึมซ่านผ่านได้บ้าง [การแพทย์] |
adhibit | (vt) ยอมให้ใช้, See also: ยอมให้เข้าไป, Syn. admit, let in |
admissible | (adj) ซึ่งยอมให้เข้า |
admit | (vi) ยอมให้เข้า, See also: รับเข้าไว้ |
admit | (vt) อนุญาตให้เข้า, See also: ปล่อยให้เข้าไป, ยอมให้เข้าไป, Syn. let in, allow entrance to |
allowance | (n) ความคลาดเคลื่อนที่ยอมให้เกิดขึ้นได้ |
amenable | (adj) ซึ่งยอมให้ทดสอบ |
amenable | (adj) ที่ตอบสนองต่อ, See also: ที่ยอมให้, Syn. responsive, answerable |
admit of | (phrv) ยอมให้, See also: อนุญาต, Syn. allow of |
admit to | (phrv) อนุญาตให้เข้า (เข้ามา, เข้าไป, เข้าร่วม), See also: ยอมให้เข้า |
allow in | (phrv) ยอมให้เข้ามา, See also: อนุญาตให้เข้า, Syn. permit in |
allow into | (phrv) ยอมให้เข้ามา, See also: อนุญาตให้เข้า, Syn. permit into |
allow of | (phrv) ยอมให้เกิดขึ้น, See also: ยอมให้มี, Syn. admit of, permit of |
allow out | (phrv) อนุญาตให้ออกไป (จากห้อง ตึก อาคาร ประตู), See also: ยอมให้ออกไป, Syn. permit out |
allow through | (phrv) ยอมให้ผ่าน, Syn. permit through |
allow to | (phrv) ยินยอมให้ตามกฎหมาย (มักเป็นเงิน), See also: ยอมให้, อนุญาตให้ |
allow up | (phrv) ยินยอมให้ลุกจากเตียง (คนป่วย), See also: ยอมให้, อนุญาตให้, Syn. permit up |
bow before | (phrv) ยินยอมให้กับ, See also: ยอมอ่อนข้อให้, Syn. bow to |
bow to | (phrv) ยินยอมให้กับ, See also: ยอมอ่อนข้อให้, Syn. bow before |
ceiling | (n) ระดับหรือราคาสูงสุด (ที่ยอมให้ขึ้นถึง), Syn. cap, Ant. floor |
concession | (n) การยอมให้, Syn. yielding, granting |
concessive | (adj) ที่ยอมให้, See also: ที่อ่อนข้อให้, Syn. conceding |
consent | (vi) ยอมให้ทำ, See also: อนุญาต |
countenance | (vt) ยอมรับ, See also: ยอมให้, Syn. approve |
consent to | (phrv) อนุญาตให้, See also: ยินยอมให้เกิดหรือมี, Syn. agree to |
cut in | (phrv) ยอมให้ร่วมกิจกรรม (เล่นไพ่, ธุรกิจฯลฯ) (คำไม่เป็นทางการ) |
decide on | (phrv) ตัดสินให้, See also: ยินยอมให้, Syn. agree on, decide against, determine on, settle on |
decide upon | (phrv) ตัดสินให้, See also: ยินยอมให้, Syn. agree on, decide against, determine on, settle on |
deferent | (adj) ซึ่งอนุโลมได้, See also: เกี่ยวกับการคล้อยตาม, ซึ่งยอมให้ได้ |
emplane | (vt) ขึ้นเครื่องบิน, See also: ยินยอมให้ขึ้นเครื่องบิน, Syn. enplane |
emplane | (vi) ขึ้นเครื่องบิน, See also: ยินยอมให้ขึ้นเครื่องบิน, Syn. enplane |
give in to | (phrv) ยอมให้, See also: ยินยอม, Syn. give over to, give to |
give over | (phrv) ยอมให้, See also: ยอมยอมให้กับฐ, ยอมอ่อนข้อให้, Syn. give up |
give to | (phrv) ยอมให้ทาง (การจราจร), Syn. yield to |
give up | (phrv) ยอมยกให้, See also: ยินยอมให้, Syn. deliver over, give over |
go ahead with | (phrv) ยอมให้ทำต่อไป |
grant | (vt) ยินยอม, See also: ยอมให้, ประทาน, ให้รางวัล, Syn. allow, bestow, award, Ant. disallow |
grudge | (vt) ไม่เต็มใจให้, See also: ยอมให้อย่างไม่พอใจ |
hand over | (vt) ยื่นให้, See also: ส่งให้, เอาออกมาให้, ยอมให้, Syn. give up, surrender |
not take no for an answer | (idm) ไม่อาจยอมรับคำปฏิเสธได้ (เป็นวิธีพูดแบบสุภาพ), See also: ไม่ยอมให้ปฏิเสธ |
indulge | (vt) ยอมตามใจ, See also: ยอมตาม, ยอมให้ทำสิ่งที่ชอบ, Syn. spoil, Ant. mistreat |
indulge | (vi) ยอมตามใจ, See also: ยอมตาม, ยอมให้ทำสิ่งที่ชอบ, Syn. spoil, Ant. mistreat |
let out | (phrv) ให้เช่า, See also: ยอมให้เช่า, อนุญาตให้เช่า, Syn. hire out, rent out |
loosen up | (phrv) ยอมเสียเงิน (คำไม่เป็นทางการ), See also: ยอมให้เงิน |
leak | (vt) ยอมให้น้ำรั่วผ่านได้ |
licence | (vt) อนุญาต, See also: ยินยอม, ยอมให้, ให้อำนาจ, Syn. certify, permit, authorize, endorse, allow, approve |
license | (vt) อนุญาต, See also: ยินยอม, ยอมให้, ให้อำนาจ, Syn. certify, permit, authorize, endorse, allow, approve |
OK | (adj) ที่ยอมให้ได้ |
open marriage | (n) การแต่งงานที่ยอมให้คู่ครองไปมีความสัมพันธ์กับผู้อื่นได้ |
permit through | (phrv) ยอมให้ผ่าน, See also: อนุญาตให้ผ่าน, Syn. allow through |
permit up | (phrv) ยอมให้ลุกจากเตียง (คนป่วย), Syn. allow up |
access key | กุญแจการเข้าถึงหมายถึง รหัส หรือคำหลักที่ใช้เพื่อให้เข้าถึงข้อมูลที่มีเก็บไว้ได้ ข้อมูลบางอย่างต้องทำเป็นการเฉพาะ และจะยอมให้เรียกมาใช้ได้เฉพาะคนบางกลุ่ม จึงต้องมีกุญแจที่จะให้รู้กันเฉพาะคนในกลุ่ม ผู้ที่ไม่รู้กุญแจ ก็ไม่สามารถเรียกเอาข้อมูลออกมาดู หรือมาใช้หรือแก้ไขได้ |
admit | (แอสดมิท') vt., vi. ให้เข้า, รับเข้า, ให้สิทธิเข้าได้, ยอมให้, ยอมรับรอง, ยอมรับ, รับสารภาพ, รับ, รับรอง. -admittable, admittible adj., Syn. let in, concede |
allow | (อะเลา') vt., vi. ยอมให้, อนุญาตให้, จ่ายให้, ยกให้, พิจารณา, คิด, ให้อภัย, เพื่อให้, Syn. permit, confess, Ant. refuse, deny, withhold |
amenable | (อะมี' นะเบิล) adj. อ่อนโยน, ไม่ดื้อ, ซึ่งรับผิดชอบ, ยอม รับฟัง, ยอมให้วิจารณ์หรือทดสอ บ ได้-amenableness, amenability n., Syn. agreeable, Ant. stubborn |
brook | (บรูค) { brooked, brooking, brooks } n. ห้วย, ลำธาร vt. ทนทุกข์, ยินยอมให้มี, ทน, ยินยอม |
compliance | (คัมไพล'เอินซฺ) n. การยินยอม, การยอมให้, การอ่อนข้อให้, การร่วมมือ, การเชื่อฟัง, Syn. agreement |
compuserve | คอมพิวเซิร์ฟเป็นบริการที่นำคอมพิวเตอร์ของเราไปต่อสายเชื่อมกับคอมพิวเตอร์ขนาดยักษ์ที่สามารถเก็บข้อมูลได้จำนวนมาก ๆ เพื่อจะได้ขอใช้ข้อมูลบางอย่างได้ โดยปกติ การทำเช่นนี้จะต้องจ่ายค่าบริการค่อนข้างแพง นอกจากนั้น บริการ CompuServe ยังมีโปรแกรมเก่า ๆ ที่ยอมให้มีการคัดลอกมาใช้ได้โดยไม่ต้อง เสียค่าใช้จ่ายใด ๆ อีก มีเกมให้เรียกมาเล่นได้ พร้อมทั้งให้บริการอย่างอื่นอีกมาก เช่น จะจองตั๋วเครื่องบินเองก็ได้ นอกจากนั้น ผู้ใช้จะขอดูข้อมูลต่าง ๆ ได้ เช่นข้อมูลเกี่ยวกับการแข่งกีฬา ข้อมูลจากตลาดหลักทรัพย์ ฯ |
concede | (คันซีด') { conceded, conceding, concedes } vt. ยอมรับ, ยินยอม, ยอมให้, ยอมตาย. vi. ยอมอ่อนข้อให้, ยอม, See also: conceder n. ดูconcede, Syn. yield, assent, Ant. deny |
disallow | (ดิสอะเลา') vt. ไม่ยอม, ไม่ยอมให้มี, ไม่ยอมรับความจริง, ปฏิเสธ, ไม่อนุญาต, See also: disallowable adj. disallowance n. |
extended memory specifica | ข้อกำหนดหน่วยความจำแบบขยายใช้ตัวย่อว่า XMS (อ่านว่า เอกซ์เอ็มเอส) เป็นมาตรฐานการจัดการเกี่ยวกับหน่วยความจำแบบหนึ่งที่ยอมให้โปรแกรมระบบดอส เข้าถึงส่วนความจำขยายได้ โปรแกรมในดอสที่จัดการเรื่องนี้ มีชื่อว่า Himem.Sys |
freeware | ฟรีแวร์ของฟรีหมายถึง ซอฟต์แวร์ต่าง ๆ ที่แม้จะจดทะเบียนลิขสิทธิ์เอาไว้ แต่ก็ยินยอมให้มีการคัดลอกเอาไปใช้ได้อย่างเสรี โดยไม่คิด เงิน (ต่างกับ public domain ซึ่งไม่มีการจด ทะเบียนใด ๆ เลย ใครจะคัดลอกหรือนำไปใช้ ก็สามารถทำได้ทั้งสิ้น) |
give-and-take | n. การยินยอมให้แก่กัน, Syn. reciprocity |
grant | (กรานทฺ) vt. อนุญาต, ยอมให้, ให้, โอน. n. สิ่งที่ให้, การให้, การอนุญาต, การโอน, การโอนทรัพย์สิน., See also: grantable adj. granter n. grantor n., Syn. boon |
multiuser system | ระบบหลายผู้ใช้หมายถึง โปรแกรมหรือระบบปฏิบัติการที่ยอมให้มีผู้ใช้ได้มากกว่าหนึ่งคน ในเวลาเดียวกัน เช่น การจัดข้อมูลพื้นฐานเพื่อให้ผู้ใช้หลายคนสามารถเรียกหาได้พร้อม ๆ กันอย่างในระบบเครือข่าย (network) เป็นต้น |
open architecture | สถาปัตยกรรมเปิดหมายถึง แนวคิดที่จะทำให้การออกแบบและการสร้างคอมพิวเตอร์เป็นความรู้ที่เป็นสาธารณะโดย ยินยอมให้บริษัทต่าง ๆ นำไปผลิตขายได้ ทั้งนี้เพื่อช่วยให้การพัฒนาการสร้างคอมพิวเตอร์ให้ดีขึ้นไปเรื่อย ๆ |
pds | (พีดีเอส) ย่อมาจาก public domain software เป็นที่รวมของโปรแกรมฟรี หมายถึงผู้สร้างซอฟต์แวร์นั้น ๆ ยินยอมให้คนทั่วไปคัดลอกไปใช้ได้ ไม่ผิดพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ดู public domain ประกอบ |
public domain | n. ที่ดินของรัฐ, สิ่งประดิษฐ์หรือผลงานทางวรรณกรรมที่สิทธิบัตร หรือลิขสิทธิ์หมดอายุ, สาธารณสมบัติ, ของสาธารณะหมายถึง ซอฟต์แวร์ที่สร้างขึ้นแล้วผู้สร้างหรือเจ้าของยินยอมให้ใคร ๆ มาคัดลอกนำไปใช้ได้ โดยไม่ผิดพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ เช่น โปรแกรม Cuwriter ในระบบเครือข่าย จะมีกลุ่มโปรแกรมกลุ่มหนึ่งเรียกว่า PDS ย่อมาจาก public domain software เป็นที่รวมของโปรแกรมฟรีต่าง ๆ ที่ใคร ๆ ก็สามารถคัดลอกไปใช้ได้ |
refuse | (รีฟิวซ') vt., vi. ปฏิเสธ, ไม่ยอม, ไม่ยอมให้, ไม่ยอมรับสิทธิ n. (เรฟ'ฟิวซ) ขยะ, กาก, สิ่งของที่ทิ้งแล้ว, เศษที่ใช้แล้ว adj. ถูกทิ้ง, ทิ้งแล้ว, ไร้ค่า, See also: refusable adj., Syn. decline, Ant. accept |
res edit | เรซเอดิท <คำอ่าน>ย่อมาจาก resource editor เป็นโปรแกรมอรรถประโยชน์ (utility program) โปรแกรมหนึ่งในเครื่องแมคอินทอชที่ยอมให้ผู้ใช้แก้ไขส่วนต่าง ๆ ของแฟ้มข้อมูลในเครื่องแมคอินทอชได้ เช่น เปลี่ยนกรอบสนทนา หรือเมนู |
sanction | (แซงคฺ'เชิน) n. การลงโทษ, การอนุญาตเป็นทางการ, สิ่งที่สนับสนุนการกระทำ, บทลงโทษ, การให้สัตยาบัน. vt. ลงโทษ, อนุญาต, อนุมัติ, เห็นด้วย, ยอมให้, ให้สัตยาบัน., See also: sanctionable adj. sanctioner n. |
toleration | (ทอล'เลอเร'เชิน) n. ความอดทน, ความทนทาน, การมีรัฐบาลยอมให้มีการนับถือศาสนาอื่นที่ไม่ใช่ศาสนาประจำชาติ., See also: tolerationism n. tolerationist n., Syn. tolerance |
transparent | (แทรนซฺแพ'เรินทฺ) adj. โปร่งแสง, โปร่งตา, ใสเหมือนกระจก, ยอมให้แสงผ่านได้ตลอด, เปิดเผย, ตรงไปตรงมา, เข้าใจง่าย, เห็นชัด, ชัดแจ้ง., See also: transparently adv. transparency n., Syn. clear, obvious, sheer |
xms | เอกซ์เอ็มเอสย่อมาจาก extended memory specification (ข้อกำหนดหน่วยความจำแบบขยาย) เป็นมาตรฐานการจัดการเกี่ยวกับหน่วยความจำแบบหนึ่งที่ยอมให้โปรแกรมระบบดอส เข้าถึงส่วนความจำขยายได้ โปรแกรมในดอสที่จัดการเรื่องนี้ มีชื่อว่า Himem.Sys |
yield | (ยีลดฺ) vt., vi. ให้ผล, ผลิต, ให้, เกิด, ยอม, ยอมให้, ยอมจำนน, อ่อนข้อให้ n. การให้ผล, สิ่งที่เป็นผลขึ้น, ผล, ผลิตภัณฑ์, ประโยชน์ที่ได้รับ, ปริมาณผล, See also: yieldable adj. yielder n., Syn. furnish, produce |
admittance | (n) การอนุญาตให้เข้า, การยอมให้เข้า, การรับเข้า |
cede | (vt) ยอมให้, ยกให้, สละให้ |
cession | (n) การยกให้, การยอมให้, การยินยอม |
concede | (vt) ยอมรับ, ยกให้, ยอมให้, ยอมตาม, ยินยอม |
concession | (n) การยอมให้, การยินยอม, การยอมรับ, การให้เช่าที่, สัมปทาน |
grant | (vi, vt) ยอมรับ, อนุญาต, ยินยอม, ยอมให้, ตกลงตาม, มอบให้ |
inexorable | (adj) ไม่ยอมตาย, ไม่ยอมให้, ไม่ปรานี, ใจแข็ง |
sanction | (vt) ยอมให้, อนุมัติ, อนุญาต, รับรอง, ลงโทษ |
tolerant | (adj) อดกลั้น, ยอมให้, อดทน, ใจกว้าง, ให้อภัย |
tolerate | (vt) ยอมให้, อดทน, อดกลั้น, ทนต่อ |
vouchsafe | (vt) อนุญาต, ยอมให้, มอบให้ |
yield | (vi) ยอมแพ้, อ่อนข้อ, ยอมจำนน, ยอมให้ |
yielding | (adj) ยอมตาม, ยินยอม, ยอมให้ |