512 ผลลัพธ์ สำหรับ *เขียน*
หรือค้นหา: เขียน, -เขียน-

Longdo TH - TH
กระพริบเป็นคำที่มักเขียนผิด ที่ถูกต้องคือ "กะพริบ"
ต้าว, ไอ้ต้าว(slang) คำเรียกแสดงถึงความแอบปลื้ม, เอ็นดู, หรือ ชื่นชม บ่อยครั้งเขียนด้วย ว แหวนหลายตัวต่อเนื่อง เช่น ไอ้ต้าววว แผลงมาจากคำว่า ไอ้เจ้า

Longdo Unapproved TH - TH
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
55555(slang, ภาษาอินเทอร์เน็ต) หัวเราะ หรือ ฮ่าฮ่าฮ่าฮ่าฮ่า เลยเขียนเอาสะดวกว่า 55555
dyslexic(n) " ดิสเลคซิค” (dyslexic-บุคคลที่พร่องความสามารถในการเขียนเป็นคำๆ ปกติแล้วจะสัมพันธ์กับความบกพร่องทางประสาทวิทยา)
ต๊าช(slang) สุดยอด, ​ดีเลิศ ใช้บรรยายความที่สุด, แรง, พุ่ง, มหัศจรรย์, กระแทก เช่น ดาราคนนี้ต๊าชมาก บ้างเขียนด้วย ช ช้าง ต่อเนื่องหลายตัว เช่น ต๊าชช, ต๊าชชช เวลาออกเสียงอาจเพิ่มความยาว ที่มา: https://www.facebook.com/SPRITEBABABI/

Longdo Unapproved IT - TH
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
a secco[อา-เซ็คโค] (n) จิตรกรรมที่เขียนบนปูนแห้งซี่งเป็นการเขียนจิตรกรรมฝาผนังวิธีหนึ่ง, See also: R. fresco
buon fresco[บวน เฟรสโค] (n) จิตรกรรมที่เขียนบนปูนเปียกซี่งเป็นการเขียนจิตรกรรมฝาผนังวิธีหนึ่ง, See also: R. fresco
mezzo fresco[เมซโซ เฟรสโค] (n) จิตรกรรมที่เขียนบนปูนชื้นซี่งเป็นการเขียนจิตรกรรมฝาผนังวิธีหนึ่ง, See also: R. fresco
pentimento[เพ็นติเม้นโต] (n) พหูพจน์ pentimenti - การเปลี่ยนแปลงงานจิตรกรรมที่ทำโดยจิตรกรที่ทิ้งร่องรอยให้เห็นว่าจิตรกรเปลี่ยนใจในการวางรูปแบบระหว่างการเขียนภาพ (wikipedia.org)

Longdo Unapproved TH-DHAMMA - TH
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
กุศล(n, adj, adv) การกระทำที่เกี่ยวข้องกับการยกระดับจิตใจให้ดีขึ้น ปรับปรุงจิตใจให้ดีขึ้น มากกว่าทำความดีเฉย ๆ การกระทำใด ๆ หากทำแล้วมีผลต่อสภาวะจิตใจของตนเปลี่ยนไปในทางที่สูงขึ้น จึงเรียกว่ากุศล หากการกระทำดีนั้น ๆ ไม่ได้มีผลเปลี่ยนแปลงจิตใจตนเองเลย ไม่เรียกว่ากุศล แต่เรียกว่า กรรมดี โดยทั่วไป มักจะใช้คู่กันกับคำว่า บุญกุศล แต่คำว่า บุญ กับ กุศล ความหมายต่างกัน (เขียนก็ไม่เหมือนกันแล้วจะให้ความหมายเหมือนกันได้อย่างไร) ตัวอย่าง 1. นาย กอ เป็นคนรวย ชอบที่จะให้ทาน เพราะเขาหวังว่า การให้ทานของเขาจะส่งผลทำให้เขารวย ยิ่ง ๆ ขึ้นไป และอาจจะได้ไปสวรรค์ หลังจากที่เขาตายไป - อันนี้นาย กอ ทำกรรมดี หรือทำบุญ แต่ไม่ได้เกิดกุศลในจิต หรือเกิดขึ้นน้อยมาก เพราะเขาทำทานก็จริง แต่ไม่มีผลทำให้จิตใจของเขาวางลงจากความโลภ หรืออยากเลย 2. นาย ขอ เป็นคนชั้นกลาง เขาเห็นเด็กกำพร้ามากมายเกิดขึ้น เขาจึงรู้สึกอยากที่จะช่วยเหลือเด็กเหล่านั้น จึงประหยัดค่าใช้จ่ายของตัวเองมากขึ้น เพื่อที่จะให้ตัวเองมีเงินเหลือมากขึ้น เพื่อที่จะแบ่งไปบริจาคเด็กเหล่านั้น เพื่อที่เด็กเหล่านั้นจะได้โตขึ้นเป็นผู้ใหญ่ที่ดีต่อไป - อันนี้ นาย ขอ ทำทั้งกุศล และบุญ เพราะมีผลที่ทำให้เขาต้องประหยัด อดออมมากขึ้น และการประหยัดอดออมนี้เอง จะทำได้ก็คือต้องปล่อยวางความอยากของตนเอง และทำเพราะในใจเกิดจิตเมตตากรุณา

Longdo Unapproved TH - EN
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
ปฏิบัติราชการแทน(exp) (ตำแหน่งต่ำกว่า)...for...(ตำแหน่งสูงกว่า) เช่น "รองอธิบดีกรมสรรพากร ปฏิบัติราชการแทนอธิบดี" เขียนว่า "Deputy Director-General of the Revenue Department for the Director-General"
วิชาการเขียนภาษาอังกฤษธุรกิจ(n, phrase) Business English Writing

Longdo Unapproved TH - MED
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
โรคประจำตัว(n) ต้องไม่ใช่ underlying disease อยากอธิบายเพิ่ม แต่หากอธิบายแล้ว ใช้เวลาแล้ว ไม่ได้รับรู้ว่าได้ส่งต่อถึงการพิจารณา ก็ไม่อยากเขียนเพิ่มเติม. เคยเขียนแล้ว.

NECTEC Lexitron-2 Dictionary (TH-EN)
เขียน(v) write, See also: trace, Syn. จด, เขียนหนังสือ, Example: อย่าให้เขาเขียนเลย สงสารคนอ่าน, Thai Definition: ขีดให้เป็นตัวหนังสือหรือเลข, ขีดให้เป็นเส้นหรือรูปต่างๆ
คนเขียน(n) author, See also: writer, playwright, poet, essayist, novelist, Syn. ผู้เขียน, นักเขียน, ผู้แต่ง, Example: คนเขียนบทกวีเรื่องฤดูกาลได้แรงบันดาลใจจากสถานการณ์หนึ่งของสังคมในช่วงนั้น, Count Unit: คน, Thai Definition: ผู้แต่งหนังสือ
การเขียน(n) writing, Example: เขาหมกมุ่นอยู่กับการเขียนเนื้อหาในส่วนประวัติของเขา, Thai Definition: การขีดให้เป็นตัวหนังสือหรือเลข
ขีดเขียน(v) to write, Syn. เขียน, Example: เขาชอบขีดเขียนเป็นรูปต่างๆ ลงสมุดวาดภาพในยามว่าง, Thai Definition: เขียนหนังสือหรือตัวเลข
ข้อเขียน(n) essay, See also: composition, writings, article, Syn. บทความ, เรียงความ, Example: การเผยแพร่ข้อเขียนเรื่องโรคเอดส์ยังไม่สามารถเปลี่ยนค่านิยมของผู้ชายได้, Count Unit: ชิ้น, เรื่อง
งานเขียน(n) writing, See also: composition, work, Syn. งานนิพนธ์, งานประพันธ์, Example: หนังสือเล่มนี้ได้รับยกย่องว่าเป็นงานเขียนที่เหมาะกับเยาวชนที่สุด, Count Unit: เล่ม, ชิ้น, งาน, Thai Definition: ข้อเขียนซึ่งอาจจะเป็นรายงาน การแสดงความคิดเห็นหรือเรื่องราวที่แต่งขึ้น
ตัวเขียน(n) letter, See also: handwriting character, Syn. ตัวอักษร, ลายลักษณ์อักษร, อักขระ, ตัวหนังสือ, Example: ครูกำลังสอนนักเรียนเขียนตัวเขียนภาษาอังกฤษ, Thai Definition: ตัวหนังสือแบบเขียน
ตัวเขียน(n) letter, See also: handwriting character, Syn. ตัวอักษร, ลายลักษณ์อักษร, อักขระ, ตัวหนังสือ, Example: ครูกำลังสอนนักเรียนเขียนตัวเขียนภาษาอังกฤษ, Thai Definition: ตัวหนังสือแบบเขียน
นักเขียน(n) novelist, See also: author, writer, fiction writer, prose writer, fictionist, Syn. นักประพันธ์, Example: นักเขียนที่ทำต้นฉบับด้วยลายมือยังมีอีกมาก, Count Unit: คน, Thai Definition: ผู้แต่งหรือผู้เขียนหนังสือเป็นอาชีพ
ภาพเขียน(n) painting, See also: drawing, Syn. รูปภาพ, ภาพลายเส้น, Example: ในอดีตภาพเขียนของจิตกรค่าย Impressionism ถูกโจมตีว่าเป็นศิลปะที่แหกคอก แต่ปัจจุบันกลับได้รับความนิยมอย่างมาก, Count Unit: ภาพ, Thai Definition: ภพาที่เกิดจากการขีดเขียนขึ้น
รูปเขียน(n) painting, See also: drawing, depiction, Syn. ภาพเขียน, ภาพวาด, รูปวาด, Example: เขาชอบซื้อรูปเขียนลวดลายแปลกๆ มาประดับบนฝาผนัง, Count Unit: รูป, Thai Definition: ภาพที่วาดขึ้นตามความเป็นจริงหรือจินตนาการ
วาดเขียน(n) drawing, Syn. วาดภาพ, Example: วันไหนเรียนวิชาวาดเขียน ลูกต้องทำเสื้อเลอะกลับมาทุกที, Thai Definition: วิชาการเขียนรูปภาพต่างๆ
เขียนรูป(v) draw, See also: draw a picture, paint a picture, Syn. วาดรูป, วาดภาพ, เขียนภาพ, Example: จิตรกรกำลังนั่งเขียนรูป โดยมีศิลปินที่มีชื่อเสียงโด่งดังเป็นแบบให้, Thai Definition: เขียนหรือลากเส้นเป็นลวดลายหรือรูปภาพ
เขียนแบบ(v) draw, See also: sketch, Syn. วาดแบบ, Example: สถาปนิกเขียนแบบโครงสร้างของตึกได้ชัดเจนดีมาก, Thai Definition: วาดแบบให้เป็นรูปเป็นร่างตามที่กำหนดไว้
เขียนไทย(n) Thai dictation, Syn. การเขียนไทย, Example: ฉันไม่ชอบเขียนไทยเลย มันเป็นช่วงเวลาที่น่าเบื่อมาก, Thai Definition: วิชาเขียนคำภาษาไทยตามคำบอกของครู
คนเขียนบท(n) playwright, Syn. ผู้เขียนบท, Example: คนเขียนบทละครเรื่อง แม่เบี้ย ได้รับรางวัลในปีนี้, Count Unit: คน, Thai Definition: ผู้ที่แต่งหรือเขียนเรื่องราวขึ้น
ช่างเขียน(n) artist, See also: painter, Syn. จิตรกร, Example: ทุกคนในครอบครัวนี้มีอาชีพเป็นช่างเขียน, Count Unit: คน, Thai Definition: ผู้เขียนภาพ
ภาษาเขียน(n) written language, Syn. ภาษาทางการ, ภาษาสุภาพ, Example: เขาใช้ภาษาเขียนมากเกินกว่าเหตุไปหลายครั้งทำให้เรื่องไม่มีสีสันเท่าไหร่, Count Unit: ภาษา, Thai Definition: ภาษาที่ใช้ในงานเขียนซึ่งเป็นทางการมากกว่าภาษาพูด
ลายเขียนสี(n) painted design, Example: นักโบราณคดีได้ทำการขุดค้นพบเครื่องปั้นดินเผาที่มีลายเขียนสีของสมัยหินใหม่, Thai Definition: การเขียนลวดลายโดยใช้สีต่างๆ
การขีดเขียน(n) writing, Example: เขารักการขีดเขียนมาตั้งแต่เด็ก
คนเขียนข่าว(n) correspondent, See also: journalist, reporter, pressman/presswoman, Syn. นักข่าว
สอบข้อเขียน(v) take an exam, See also: sit an exam, Ant. สอบปากเปล่า, Example: ผู้สมัครทุกสาขาวิชาวิชาเอกจะต้องสอบข้อเขียนความรู้ความสนใจทั่วไปด้านธุรกิจ, Thai Definition: ทดสอบความรู้โดยถามให้ตอบเป็นลายลักษณ์อักษร
เขียนจดหมาย(v) write a letter
วิชาวาดเขียน(n) drawing, Syn. วาดเขียน, Example: ครูผู้สอนวิชาวาดเขียนปลื้มใจกับลูกศิษย์ที่ได้รับรางวัลเหรียญทอง ในการประกวดวาดภาพนานาชาติ
สมุดวาดเขียน(n) drawing book, Example: คณะได้มอบสมุดวาดเขียน สี พู่กันให้เด็กๆ จำนวน 200 ชุด, Thai Definition: สมุดที่ใช้วาดภาพ
เขียนหนังสือ(v) write, See also: compose, Syn. แต่งหนังสือ, Example: ทมยันตีเขียนหนังสือที่เกี่ยวกับความรักได้ลึกซึ้งกินใจมาก, Thai Definition: เรียบเรียงหรือแต่งให้เป็นเรื่องราว
เขียนหนังสือ(v) author, See also: compose, scribe, write, Syn. แต่งหนังสือ, Ant. อ่านหนังสือ, Example: ทมยันตีเขียนหนังสือที่เกี่ยวกับความรักได้ลึกซึ้งกินใจมาก, Thai Definition: เรียบเรียงหรือแต่งให้เป็นเรื่องราว
เครื่องเขียน(n) stationery, See also: writing materials
โต๊ะเขียนแบบ(n) drawing table
กระดาษเขียนแบบ(n) drawing board, Syn. กระดาษวาดแบบ
นักเขียนการ์ตูน(n) cartoonist, Count Unit: คน
อุปกรณ์การเขียน(n) stationery, Syn. เครื่องเขียน
ร้านเครื่องเขียน(n) stationery store, Example: ครอบครัวของผมมีกินมีใช้อยู่ทุกวันนี้ก็เพราะการทำกิจการร้านขายเครื่องเขียนนี่แหละ, Count Unit: ร้าน
โต๊ะเขียนหนังสือ(n) writing table, See also: desk, Syn. โต๊ะทรงพระอักษร, Example: ห้องทำงานของเขาค่อนข้างจะมิดชิด มีโต๊ะเขียนหนังสือเก่าๆ อยู่โต๊ะหนึ่ง, Count Unit: ตัว, Thai Definition: โต๊ะสำหรับเขียนหนังสือ
กระดาษเขียนจดหมาย(n) writing paper, See also: note paper, letter paper, stationery, Example: ร้านนี้ขายกระดาษเขียนจดหมายลายการ์ตูนราคาไม่แพง, Count Unit: แผ่น, Thai Definition: กระดาษที่ใช้สำหรับเขียนจดหมายโดยเฉพาะ ส่วนใหญ่เป็นกระดาษเนื้อเหนียว น้ำหนักเบา อาจมีลวดลายสีสันสวยงาม
เสรีภาพในการเขียน(n) liberty of writing, See also: freedom of writing, Syn. สิทธิเสรีภาพในการเขียน, อิสระในการเขียน, Example: เสรีภาพในการเขียนเกิดขึ้นแล้วที่นี่บนอินเทอร์เน็ต
ร้านขายเครื่องเขียน(n) stationery, Syn. ร้านเครื่องเขียน, Example: ผู้รู้จักแนะนำให้ผมเปิดร้านขายเครื่องเขียนแถวถนนมหาราช, Count Unit: ร้าน

พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔
ข้อเขียนน. เรียกการสอบแบบเขียนคำตอบ ว่า สอบข้อเขียน, มักใช้คู่กับ สอบสัมภาษณ์.
เขียนก. ขีดให้เป็นตัวหนังสือหรือเลข, ขีดให้เป็นเส้นหรือรูปต่าง ๆ, วาด, แต่งหนังสือ.
เขียนด้วยมือลบด้วยตีนก. ยกย่องแล้วกลับทำลายในภายหลัง.
เขียนทองน. เรียกผ้าลายแต้มทองสำหรับพระเจ้าแผ่นดินและเจ้านายทรง.
เขียนไทยน. วิชาเขียนภาษาไทยตามคำบอกของครู เพื่อฝึกเขียนตัวสะกดการันต์ให้ถูกต้อง, เขียนตามคำบอก ก็ว่า.
เขียนเสือให้วัวกลัวก. ทำอย่างใดอย่างหนึ่ง เพื่อให้อีกฝ่ายหนึ่งเสียขวัญหรือเกรงขาม.
แม้นเขียนดู กระหนกนารี.
วาดเขียนน. วิชาว่าด้วยการเขียนรูปภาพต่าง ๆ.
สอบข้อเขียนก. สอบความรู้โดยให้ผู้สอบเขียนคำตอบลงในกระดาษ.
ก ข ไม่กระดิกหู(กอข้อ-) น. ผู้ที่เรียนหนังสือแล้วไม่รู้ อ่านไม่ออกเขียนไม่ได้.
กงเวียนน. เครื่องมือสำหรับเขียนวงกลม ส่วนโค้งของวงกลม หรือกะระยะ ทำด้วยโลหะ มี ๒ ขา ปลายข้างหนึ่งแหลม ปลายอีกข้างหนึ่งมีดินสอเป็นต้น อีกแบบหนึ่งมีปลายแหลมทั้ง ๒ ข้าง แบบหลังนี้ใช้สำหรับเขียนบนโลหะก็ได้, กางเวียน ก็ว่า, ปัจจุบันเรียกว่า วงเวียน.
กบิล ๒บรรดา เช่น กบิลว่าน, คำนี้บางทีเขียนเป็น กะบิล กระบิล ระบิล.
กบี่(กะ-) น. ลิง, นิยมเขียนเป็น กระบี่.
กบูร(กะบูน) ว. งาม เช่น ก็ใช้สาวสนมอนนกบูร (ม. คำหลวง นครกัณฑ์), คำนี้บางทีเขียนเป็น กระบูร กระบวร ขบูร ขบวร.
กปณ, กปณา(กะปะนะ, กะปะนา) ว. อนาถา, ไร้ญาติ, น่าสงสาร, (กลอน) เขียนเป็น กปนา ก็มี เช่น แม้มนุษยกปนาจำนง ขอสิ่งประสงค์ประสาททาน (ม. คำหลวง มัทรี).
กปณก(กะปะนก) น. ผู้อนาถา, ผู้ไร้ญาติ, ผู้น่าสงสาร, เขียนเป็น กปนก ก็มี เช่น เถ้ากปนกแพนกพล้าว มีแม่ย้าวสาวศร หนึ่งน้นน (ม. คำหลวง ชูชก).
กรร- ๓(กัน-) ใช้เป็นพยางค์หน้า (ซึ่งโบราณเขียนเป็น กนน หรือ กัน ก็มี) แทน กระ เช่น กรรชิง-กันชิง-กระชิง, กรรเช้า-กรนนเช้า-กระเช้า, กรรเชอ-กนนเชอ- กระเชอ, กรรโชก-กันโชก-กระโชก, กรรพุ่ม-กระพุ่ม, กรรลึง-กระลึง.
กรรกศ(กันกด) ว. หยาบช้า, เขียนเป็น กรรกษ ก็มี เช่น อันว่าพระญาติท่ววไท้ บมิหวังไหว้พระตถาคต ใจแลไปกรรกษ บารนีฯ (ม. คำหลวง ทศพร).
กรรเจียกจอนน. เครื่องประดับหู เช่น กรรเจียกจอนจำหลักลายซ้ายขวา (สังข์ทอง), เขียนเป็น กรรเจียกจร ก็มี.
กรรโชก(กัน-) ก. ขู่เอาด้วยกิริยาหรือวาจาให้กลัว เช่น ผู้ใดกรานกรรโชกราษฎรแลตรัสถามตนฯ อำพรางพระเจ้าอยู่หัว มิได้กราบทูลตามสัจตามจริงก็ดี (สามดวง), โบราณเขียนเป็น กันโชก หรือ กำโชก ก็มี. (แผลงมาจาก กระโชก).
กรรณิการ์น. ชื่อไม้ต้นขนาดเล็กชนิด Nyctanthes arbortristis L. ในวงศ์ Oleaceae ใบคาย ดอกหอม กลีบดอกสีขาว หลอดดอกสีแสด ใช้ย้อมผ้า, เขียนเป็น กณิการ์ หรือ กรณิการ์ ก็มี.
กรรตุวาจก(กัดตุ-, กันตุ-) ก. กริยาที่บอกว่าประธานเป็นกรรตุการกคือผู้ทำหรือผู้ใช้ให้ทำ, กริยาของประโยคที่แสดงว่าประธานทำหน้าที่เป็นกรรตุการกคือเป็นผู้ทำหรือผู้ใช้ให้ทำ เช่น ครูเขียนหนังสือ (ประธานเป็นผู้ทำ)ครูให้นักเรียนเขียนหนังสือ (ประธานเป็นผู้ใช้ให้ทำ).
กรรแทก(กัน-) ก. กระแทก, เขียนเป็น กันแทก ก็มี เช่น หัวล้านชาวไร่ไล่ปาม เข้าขวิดติดตาม กันแทกก็หัวไถดินฯ (สมุทรโฆษ).
กรรภิรมย์(กัน-) น. ฉัตร ๕ ชั้นและ ๗ ชั้น สำรับหนึ่งมี ๓ องค์ คือ พระเสมาธิปัต พระฉัตรชัย พระเกาวพ่ายหรือพระเกาวพ่าห์ ทำด้วยผ้าขาวลงยันต์เส้นเขียนทอง เป็นเครื่องสูงอันเป็นสิริมงคลยิ่งสำหรับพระมหากษัตริย์ ใช้กางเชิญนำพระราชยานเวลาเสด็จพระราชดำเนินโดยกระบวนพยุหยาตราใหญ่ และใช้เข้าพิธีคชกรรมนำช้างสำคัญขึ้นจากแพเข้าสู่โรงสมโภช หรือใช้ผูกเสาพระแท่นมณฑลในพระราชพิธีใหญ่, เขียนเป็น กรรม์ภิรมย์ กันภิรมย์ หรือ กันพิรุณ ก็มี.
กรรมชวาต(กำมะชะวาด) น. ลมเกิดแต่กรรม คือ ลมเกิดในครรภ์เวลาคลอดบุตร ได้แก่ ลมเบ่ง เช่น พอถึงพระหัตถ์พระราชเทวีก็ทรงจับเอากิ่งรัง พอเกิดลมกรรมชวาตหวั่นไหวประชวรพระครรภ์ (ปฐมสมโพธิกถา), เขียนเป็น กรรมัชวาต ก็มี.
กระกวดว. สูงชัน, กรวด, เขียนเป็น กรกวด ก็มี เช่น อยู่จอมด้วยกรกวด กิ่งก้านรวดรยงงามอยู่น้นน (ม. คำหลวง มัทรี).
กระกัดก. ใคร่, อยาก, ยินดี, เช่น ด้วยกระกัดศรัทธา (มาลัยคำหลวง), ใช้ว่า ตระกัด ก็มี, โบราณเขียนเป็น กรกัติ หรือ กระกัติ ก็มี.
กระโจมทองน. เครื่องกันแดดและฝนเปิดโล่ง ๔ ด้าน อยู่บนสัปคับหลังช้างพระที่นั่ง เขียนลายปิดทองรดน้ำ.
กระชัง ๓น. นํ้าปัสสาวะแห่งทารก, นํ้าครํ่า, เขียนเป็น กะชัง ก็มี.
กระดาน ๑กระดานดำ เช่น ครูเขียนการบ้านไว้บนกระดาน
กระดานชนวนน. แผ่นหินชนวนหน้าเรียบรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า เข้ากรอบไม้ ใช้เขียนด้วยดินสอหินซึ่งทำด้วยหินชนวนตัดและฝนเป็นแท่ง สำหรับฝึกเขียนหนังสือในสมัยก่อน.
กระดานดำน. กระดานใหญ่ทาสีดำหรือสีเขียว ใช้ชอล์กเขียน ใช้เป็นอุปกรณ์การสอน, ภาษาปากว่า กระดาน.
กระดาษน. วัตถุเป็นแผ่นบาง ๆ โดยมากทำจากใยเปลือกไม้ ฟาง หญ้า หรือ เศษผ้า เป็นต้น ใช้เขียนหรือพิมพ์หนังสือหรือห่อของและอื่น ๆ.
กระบอก ๑รูปตันที่กำเนิดขึ้นจากการเขียนรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า โดยใช้ด้านใดด้านหนึ่งเป็นแกนแล้วหมุนโดยรอบฐาน ปลายทั้ง ๒ ข้างมีหน้าเป็นวงกลม เรียกว่า รูปทรงกระบอก หรือ รูปกระบอก, ลักษณะได้แก่ รูปที่มีสัณฐานกลมยาวและตรงซึ่งมีส่วนสัดกลมเท่ากันตั้งแต่ต้นจนปลาย. (อ. cylinder).
กระบาล(-บาน) น. ส่วนกลางของกะโหลกศีรษะ, หัว, (คำไม่สุภาพ) เช่น ตีกระบาล เขกกระบาล, (โบ) เขียนเป็น กระบาน ก็มี เช่น เพิกหนังทังผมนั้นออกเสียแล้วเอากรวดทรายขัดกระบานศีศะชำระให้ขาวเหมือนพรรณศรีสังข์ (สามดวง)
กระพัดน. เชือกหรือลวดหนังตีเป็นเกลียวหุ้มผ้าแดง ปรกติคล้องผูกอยู่รอบคอช้าง เมื่อตั้งสัปคับหรือกูบอย่างใดอย่างหนึ่ง ใช้ปลายทั้ง ๒ ข้างผูกสัปคับหรือกูบเพื่อรั้งมิให้เลื่อนไปทางท้ายช้างขณะเดินขึ้นที่ชัน, เขียนเป็น กระพัตร ก็มี เช่น และกระพัตรรัตคนควร (ดุษฎีสังเวย).
กระยาน. เครื่อง, สิ่งของ, เครื่องกิน, เช่น เทียนธูปแลประทีปชวาลา เครื่องโภชนกระยา สังเวยประดับทุกพรรณ (ดุษฎีสังเวยกล่อมช้างของเก่า ครั้งกรุงเก่า), เขียนเป็น กรยา ก็มี เช่น พระไพรดมานโฉม นุบพิตรแลงผอง มนตรอัญสดุดิยฮอง กรยานุถกลทาบ (ดุษฎีสังเวยกล่อมช้างของเก่า ขุนเทพกะวีแต่ง).
กระยารงค์น. สีสำหรับวาดเขียน.
กระยาง ๑น. ขาหยั่ง เช่น อ้ายเหล่าเที่ยววิด พบหนองป้องปิด ทำเปนเชิงราง เอาไม้สามอัน ปักไว้เปนกระยาง แขวนโพงตรงกลาง สาดนํ้าเอาปลา (คำพากย์เรื่องสุบิน), เขียนเป็น กระหยาง ก็มี เช่น ปักไว้เปนกระหยาง (สุบินคำพากย์).
กระลัมพรน. โทษใหญ่, ความฉิบหาย, เช่น ก็ทำกระลัมพรกาล (สมุทรโฆษ), (แผลงมาจาก กลัมพร), เขียนเป็น กระลำพร หรือ กะลำพร ก็มี.
กระลำพรน. กระลัมพร, โทษใหญ่, ความฉิบหาย, เขียนเป็น กะลำพร ก็มี. (ดู กลัมพร).
กระลุมพางน. กลองหน้าเดียว, โบราณเขียนเป็น กรลุมพาง ก็มี.
กระลูนน. ความเศร้าโศก. ว. น่ากรุณา, น่าสงสาร, เช่น อ่อนจิตสวามีอันพูนกระลูนนุกูลภรรยายิ่งยอดกว่าอันภิปราย (สรรพสิทธิ์), เขียนเป็น กระลู่น์ ก็มี.
กระลู่น์ว. น่ากรุณา, น่าสงสาร, เช่น กระลู่น์แลดูดาลแสยง (สุธน), เขียนเป็น กระลูน ก็มี.
กระวีชาติน. หมู่กวี, พวกกวี, เช่น เสดจ์ในพระที่นั่งพลับพลาทองโดยอุตราภิมุขพร้อมด้วยหมู่มาตยามนตรีกระวีชาติราชปะโรหิตาจารย์เฝ้าพระบาท (สามดวง), เขียนเป็น กระวีชาต หรือ กระวิชาติ ก็มี เช่น พระองค์ทรงพระกรุณาเพื่อจะมิให้มุกขมนตรีกระวีชาตแลราษฎรล่วงเกินพระราชอาญา, พร้อมด้วยหมู่มุกขมาตยามนตรีกระวิชาติราชสุริยวงษพงษพฤฒาโหราจารยเฝ้าเบื้องบาทบงกชมาศ (สามดวง).
กระเวนกระวนก. วนเวียน เช่น กระเวนกระวนกาม กวนอก พี่นา (นิ. นรินทร์), หวนตลบ เช่น หอมกระเวนกระวน, เขียนเป็น กรเวนกรวล ก็มี เช่น ชื่อจลาจรเรนทร์ หอมกรเวนกรวล อาจจิญจญจวนใจ (ม. คำหลวง มหาราช).
กระษัย(-ไส) น. ชื่อโรคตามตำราแพทย์แผนโบราณว่า ทำให้ร่างกายทรุดโทรม มีอาการผอมแห้งตัวเหลืองเท้าเย็น, เขียนเป็น กษัย ก็มี.
กระษัยกล่อน(-ไสกฺล่อน) น. ชื่อโรคตามตำราแพทย์แผนโบราณว่า ทำให้ร่างกายผอมแห้ง ซึ่งเกิดจากโรคกร่อน, เขียนเป็น กษัยกล่อน ก็มี.
กระสานติ์ว. สงบ, ราบคาบ, กสานติ์ ก็ใช้, เขียนเป็น กรสานต์ ก็มี เช่น ดำรงกรษัตรให้กรสานต์ (ยวนพ่าย).
กระหนก ๑น. ชื่อลายไทยประเภทหนึ่ง ใช้ผูกเขียนเป็นลวดลาย มีทั้งระบายสี ปิดทองรดนํ้า ปั้น หรือแกะสลักเป็นต้น มีหลายแบบ เช่น กระหนกเปลว กระหนกก้านขด กระหนกเครือ, เขียนเป็น กนก ก็มี.

ศัพท์บัญญัติราชบัณฑิตยสถาน
programmerนักเขียนโปรแกรม [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
programming๑. การเขียนโปรแกรม๒. การสร้างโปรแกรม [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
programming๑. การเขียนโปรแกรม๒. การสร้างโปรแกรม [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
painting knifeเกรียงเขียนภาพ [ศิลปะ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
pantographเครื่องวาดเขียนย่อขยาย [ศิลปะ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
programmerนักเขียนโปรแกรม [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
programmerนักเขียนโปรแกรม [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕]
potboilerงานเขียนเพื่อเงิน [วรรณกรรม ๖ มี.ค. ๒๕๔๕]
logic programmingการเขียนโปรแกรมเชิงตรรกะ [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
law, gagกฎหมายลิดรอนเสรีภาพ (ในการพูด การเขียน และการร้องทุกข์) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
recipe๑. เครื่องหมายนำการสั่งยา (ในใบสั่งยา) [ เขียนแทนด้วย Px ] [ มีความหมายเหมือนกับ superscription ]๒. ตำรับ, สูตร [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
reiteratureการเขียนสั่งซ้ำ (ใบสั่งยา) [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
symbolic programmingการเขียนโปรแกรมเชิงสัญลักษณ์ [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
secretaryโต๊ะเขียนหนังสือส่วนตัว [ศิลปะ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
secant๑. ซีแคนต์ [ เขียนแทนด้วย sec ]๒. เส้นตัด [ มีความหมายเหมือนกับ secant line ] [คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗]
sineไซน์ [ เขียนแทนด้วย sin ] [คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗]
systems programmerนักเขียนโปรแกรมระบบ [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
systems programmingการเขียนโปรแกรมระบบ [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
spasm, writers'อาการตะคริวนักเขียน [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
semi-literateผู้อ่านออกเขียนไม่ได้, อ่านออกเขียนไม่ได้ [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕]
superscriptionเครื่องหมายนำการสั่งยา (ในใบสั่งยา) [ เขียนแทนด้วย Px ] [ มีความหมายเหมือนกับ recipe ๑ ] [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
on-line programmingการเขียนโปรแกรมแบบเชื่อมตรง [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
olographเอกสารที่เขียนเองทั้งฉบับ [ ดู holograph ] [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
arc cosineอาร์กโคไซน์ [ เขียนแทนด้วย arccos หรือ cos-1 ] [คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗]
arc hyperbolic cosineอาร์กไฮเพอร์โบลิกโคไซน์ [ เขียนแทนด้วย arccosh, acosh หรือ cosh-1 ] [คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗]
arc hyperbolic sineอาร์กไฮเพอร์โบลิกไซน์ [ เขียนแทนด้วย arcsinh, asinh หรือ sinh-1 ] [คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗]
arc hyperbolic tangentอาร์กไฮเพอร์โบลิกแทนเจนต์ [ เขียนแทนด้วย arctanh, atanh หรือ tanh-1 ] [คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗]
arc sineอาร์กไซน์ [ เขียนแทนด้วย arcsin หรือ sin-1 ] [คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗]
arc tangentอาร์กแทนเจนต์ [ เขียนแทนด้วย arctan หรือ tan-1 ] [คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗]
automatic writingการเขียนโดยอัตโนมัติ [วรรณกรรม ๖ มี.ค. ๒๕๔๕]
agraphiaภาวะเสียการเขียนสื่อความ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
manuscript๑. เอกสารตัวเขียน๒. ต้นฉบับ [วรรณกรรม ๖ มี.ค. ๒๕๔๕]
multiversion programmingการเขียนโปรแกรมแบบหลายฉบับ [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
cosecantโคซีแคนต์ [ เขียนแทนด้วย cosec หรือ csc ] [คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗]
cosineโคไซน์ [ เขียนแทนด้วย cos ] [คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗]
chief programmer teamทีมงานนักเขียนโปรแกรมหลัก [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
code๑. รหัส, รหัสคำสั่ง [ สัญลักษณ์ที่ใช้แทนข้อมูลหรือคำสั่ง ]๒. คำสั่ง, โปรแกรม๓. ลงรหัส๔. เขียนโปรแกรม [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
code๑. รหัส, รหัสคำสั่ง [ สัญลักษณ์ที่ใช้แทนข้อมูลหรือคำสั่ง ]๒. คำสั่ง, โปรแกรม๓. ลงรหัส๔. เขียนโปรแกรม [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
circumscribeเขียนวงล้อม [คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗]
crayon engraving; crayon manner๑. กลวิธีพิมพ์แบบเขียนถ่าน๒. ภาพพิมพ์แบบเขียนถ่าน [ศิลปะ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
crayon manner; crayon engraving๑. กลวิธีพิมพ์แบบเขียนถ่าน๒. ภาพพิมพ์แบบเขียนถ่าน [ศิลปะ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
cotangentโคแทนเจนต์ [ เขียนแทนด้วย cot หรือ ctg ] [คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗]
connector๑. สัญลักษณ์เชื่อมต่อ [ ใช้ในการเขียนผังงาน ]๒. ตัวเชื่อมต่อ [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
dry-brush paintingการเขียนภาพพู่กันแห้ง [ศิลปะ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
graphomaniaอาการย้ำเขียน [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
graphophobiaอาการกลัวการเขียน [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
graphorrhea; graphorrhoeaอาการเขียนเรื่อยเปื่อย [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
graphorrhoea; graphorrheaอาการเขียนเรื่อยเปื่อย [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
graffitiรอยขูดขีดเขียน [ศิลปะ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
ghost writerนักเขียนกำบัง, นักเขียนผี [วรรณกรรม ๖ มี.ค. ๒๕๔๕]

คลังศัพท์ไทย (สวทช.)
Videoวีดิทัศน์, คำว่า วีดิทัศน์ เป็นศัพท์บัญญัติตรงกับคำภาษาอังกฤษว่า video (อ่านว่า วิ-ดี-โอ). ศาสตราจารย์ ดร. คุณบรรจบ พันธุเมธา เป็นผู้คิดคำนี้ขึ้น โดยเห็นว่า คำว่า “วีติ” ในภาษาสันสกฤต แปลว่า “ความสนุกสนานรื่นเริง” มีเสียงใกล้เคียงกับคำว่า video ในภาษาอังกฤษ เมื่อเติมคำว่า “ทัศน์” ลงไปข้างท้าย ก็อาจจะแปลได้ว่า “เครื่องที่แสดงภาพเพื่อความสนุกสนานรื่นเริง” คำนี้มักจะเขียนตามคำอ่าน ซึ่งพบว่ามีการใช้สระผิด เช่น เขียนว่า วิดีทัศน์ หรือ วีดิโอ คำที่ถูกต้องคือ วีดิทัศน์ (ว สระอี ด สระ อิ ..) และ วิดีโอ (ว สระอิ ด สระอี ...) [เทคโนโลยีการศึกษา]
Unsigned articleบทความไม่กำกับชื่อผู้เขียน [เทคโนโลยีการศึกษา]
Authorshipการเขียนหนังสือ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Magazineนิตยสาร, นิตยสาร เขียนทับศัพท์ว่า แมกาซีน, Example: นิตยสาร (Magazine) คือสิ่งพิมพ์รายคาบที่ออกเป็นระยะสำหรับผู้อ่านทั่วไป มุ่งทั้งให้ความรู้และความบันเทิง ความรู้มักเป็นไปในลักษณะที่ให้ความรอบรู้ มีการหารายได้จากการโฆษณาและวางขายทั่วไปผู้อ่านสามารถบอรับเป็นสมาชิกได้ <p>คำว่านิตยสาร มาจากรากศัพท์ คือ นิตย (สม่ำเสมอ) และสาร (เนื้อหา) คำว่านิตยสารโดยทั่วไปอาจมีความหมาย คาบเกี่ยวกับคำว่า วารสารซึ่งออกตามกำหนดเวลาที่แน่นอน แต่ในทางบรรณารักษ์ศาสตร์ปัจจุบันเมื่อมีการใช้อินเทอร์เน็ต ทำให้มี นิตยสารในอินเทอร์เน็ตซึ่งมิใช่สิ่งพิมพ์ แต่ยังเรียกกันว่า นิตยสาร <p>เป็นที่น่าสังเกตว่า นิตยสารบางชื่อ ไม่ได้ใช้คำว่า นิตยสาร แต่ก็น่าจะจัดเป็นนิตยสารได้ เช่น อนุสารอสท. ของการ ท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย ขณะที่สิ่งพิมพ์บางชนิดมีความก้ำกึ่ง ระหว่างหนังสือพิมพ์รายสัปดาห์และนิตยสารรายสัปดาห์ เช่น มติชนรายสัปดาห์ สยามรัฐรายสัปดาห์ เนชั่นรายสัปดาห์ ทั้งนี้ก็เพราะเนื้อหาในเล่มมีทั้งข่าว วิเคราห์ข่าว และบันเทิงในสัดส่วนที่ พอๆกัน โดยทั่วไปนิตยสารมักจะมีลักษณะผ่อนคลาย เล่าเรื่องไม่นิยมเขียนในลักษณะตำรา เว้นแต่ละแทรกอยู่เป็นบางส่วนของเล่ม นิตยสารสำหรับคนอ่านเฉพาะกลุ่มฉบับแรกของโลกตีพิมพ์ในกรุงลอนดอนเมื่อ พ.ศ. 2274 (สมัยพระเจ้าท้ายสระ) ชื่อนิตยสาร สุภาพบุรุษ (The Gentlemen's Magazine) เลิกกิจการไปเมื่อ พ.ศ.2450 นิตยสารสำหรับผู้บริโภคฉบับแรกของโลกคือ นิตยสารสกอต (The Scots Magazine) ตีพิมพ์ในสกอตแลนด์ เมื่อปี พ.ศ.2282 ซึ่งตรงกับสมัยพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ และยังคงตีพิมพ์จนถึงปัจจุบันการตีพิมพ์ <p>นิตยสาร เป็นสิ่งพิมพ์ที่จัดพิมพ์ออกเผยแพร่ตามกำหนดเวลา หรือคาบเวลาที่แน่นอน เช่น ออกทุกสัปดาห์ หรือออกทุกเดือน ลักษณะโดยทั่วไปเป็นสิ่งพิมพ์ เข้าเล่มแบบเดียวกับหนังสือ<p> <p>วารสารคือ วารสาร เป็นสิ่งพิมพ์ จัดพิมพ์ออกเผยแพร่เป็นคราวๆ หรือเป็นวาระ ซึ่งอาจมีกำหนดเวลาหรือไม่มีกำหนดเวลาแน่นอนก็ได้ วารสารและนิตยสาร จัดอยู่ในสิ่งพิมพ์ประเภทออกตามรายคาบ หรือออกต่อเนื่องตามลำดับ เนื่องจากสิ่งพิมพ์ประเภทนี้มีชื่อเรียกหลายชื่อ ทั้งใน ภาษา ไทยและภาษาอังกฤษ บางคำมีความหมายกว้างๆ ใช้แทนกันได้ แต่บางคำมีความหมายแคบ แสดงถึงลักษณะเฉพาะบางอย่าง จนไม่อาจใช้แทนคำอื่นได้ เพื่อให้เข้าใจตรงกัน ในที่นี้จึงขอใช้คำว่า "วารสาร" เป็นคำเรียก แทนสิ่งพิมพ์ประเภทนี้ทั้งหมด <p>ลักษณะของวารสาร จาก ความหมายดังกล่าว วารสาร จึงเป็นสิ่งพิมพ์ที่ออกต่อเนื่องตามกำหนดหรือ ออกตามวาระ สามารถนำมาพิจารณากำหนดเป็นลักษณะของวารสารได้ดังนี้<p> <p> 1. เป็นสิ่งพิมพ์ต่อเนื่อง (Periodical or Serial) มีกำหนดเวลาออก แน่นอนระยะเวลาที่นิยมกำหนดออก เช่น ( วราวุธ ผลานันต์ 2536 : 5-6)<p> -รายสัปดาห์ (Weekly) กำหนดออกสัปดาห์ละครั้ง ปีละ 52 ฉบับ<p> -รายปักษ์ (Fortnightly) กำหนดออกทุก 2 สัปดาห์ ปีละ 26 ฉบับ<p> -รายครึ่งเดือน (Semimonthly) กำหนดออกเดือนละ 2 ครั้ง ปีละ 24 ฉบับ<p> -รายเดือน (monthly) กำหนดออกเดือนละครั้ง ปีละ 12 ฉบับ<p> -รายหกเดือนหรือรายครึ่งปี (Semiannually) กำหนดออกทุก 6 เดือน<p> -รายปี (Annually) กำหนดออกปีละฉบับ<p> นอกจากนี้บางฉบับอาจมีการกำหนดระยะเวลาออกที่แตกต่างออกไปจากที่กล่าวมาแล้ว เช่น รายครึ่งสัปดาห์ (Semiweekly) กำหนดออกสัปดาห์ละ 2 ฉบับ ปีละ 104 ฉบับ รายทศกำหนดออกทุก 10 วัน ปีละ 36 ฉบับ และรายสะดวกมีกำหนดออกไม่แน่นอน ลักษณะความต่อเนื่องของวารสารไม่มีกำหนดว่าจะสิ้นสุดลงในฉบับใด<p> <p>2. มีเลขกำกับประจำฉบับ ได้แก่ เลขปีที่ (Volume) เลขฉบับที่ ( Issue Number) และวัน เดือน ปี (Date) การนับลำดับฉบับที่อาจนับเป็นปีๆ เช่น วารสารรายเดือน แต่ละปีจะมีตั้งแต่ฉบับที่ 1-12 หรืออาจนับต่อเนื่องไปเรื่อยๆ เช่นวารสารรายเดือน ฉบับแรกของปีที่ 2 ก็นับเป็นฉบับที่ 13 นอกจากเลขปีที่ ฉบับที่ และวันเดือนปี ซึ่งเป็นเลขที่ต้องต่อเนื่องเป็นลำดับกันไปแล้วยังมีเลขอีกชุดหนึ่งเป็นเลข เฉพาะที่แน่นอน ไม่มีการเปลี่ยนแปลงถือเป็นรหัสประจำวารสารแต่ละชื่อ เพื่อการควบคุมทางบรรณานุกรม ในระบบข้อมูลวารสารระหว่างชาติ เรียกว่า เลขสากลประจำวารสาร (International Standard Serial Number-ISSN) ซึ่งศูนย์ข้อมูลวารสารระหว่างชาติระดับสากล มอบให้ศูนย์ข้อมูลวารสารระหว่างชาติ ประจำประเทศสมาชิกแต่ละประเทศ เป็นผู้กำหนดให้แก่วารสารแต่ละชื่อในประเทศของตน สำหรับประเทศไทยมีหอสมุดแห่งชาติ เป็นศูนย์ข้อมูลวารสารระหว่างชาติแห่งประเทศไทย เป็นผู้กำหนดวารสารแต่ละชื่อให้ได้รับหมายเลขสากลประจำวารสาร และจะต้องพิมพ์ไว้ที่หน้าปกหรือหน้าปกใน หรือสันวารสารใกล้ ๆ กับชื่อวารสาร มีอักษร ISSN ตามด้วยเลข อารบิค 8 ตัว มีเครื่องหมายยติภังค์ (-) คั่นระหว่าง เลข 4 ตัวแรก กับเลข 4 ตัวหลัง เช่น วารสาร ซีเนแม็ก ISSN 0858-9305 <p>3. รูปเล่ม มักทำให้มีบางส่วนมีลักษณะเหมือนกันทุกฉบับ เพื่อให้ผู้อ่านสังเกตและจำได้ง่าย เช่น ขนาดความกว้าง ยาว รูปแบบและสีของตัวอักษร ชื่อวารสารที่หน้าปก และสัญลักษณ์ประจำวารสาร <p>4. เนื้อหา ประกอบด้วยบทความหลายบทความ จากผู้เขียนหลาย ๆ คน ถ้าเป็นวารสารมักจะเป็นวิชาการเฉพาะแขนงวิชา ถ้าเป็นนิตยสารมักจะมีบทความทั่ว ๆ ไป สารคดี หรือบันเทิง เช่น นวนิยาย เรื่องสั้น ลงติดต่อกันเป็นหลายๆ มีคอลัมน์บรรณาธิการ คอลัมน์ประจำ วารสารบางชื่อเนื้อหาอาจเป็นรูปภาพ เป็นบทวิจารณ์ สรุปข่าวและวิเคราะห์ เหตุการณ์บ้านเมือง ฯลฯ ทั้งนี้เป็นไปตามประเภทและวัตุประสงค์ของวารสาร แต่ละฉบับ <p>5. ผู้จัดพิมพ์ ผู้จัดพิมพ์วารสารอาจเป็นเอกชน หน่วยงานราชการ รัฐวิสาหกิจ สถาบัน องค์การ สมาคม ชมรม โดยมีวัตถุประสงค์บางอย่าง เช่น เพื่อเผยแพร่ความรู้ทางวิชาการ ประชา-สัมพันธ์หน่วยงาน ให้ความบันเทิง ความรู้ทั่วไป หรือเพื่อธุรกิจการค้า เป็นต้น <p>6. การเผยแพร่ มีทั้งการจำหน่ายและแจกฟรี การจำหน่ายอาจวางจำหน่ายตามร้านขายหนังสือ การให้ผู้อ่านบอกรับเป็นสมาชิกประจำ ชำระค่าวารสารล่วงหน้าแล้วผู้จัดพิมพ์เป็นผู้ส่งวารสารไปให้สมาชิก [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Manuscriptต้นฉบับตัวเขียน, Example: Manuscript หมายถึง (1) ต้นฉบับตัวเขียน คือ ทรัพยากรสารสนเทศที่จัดทำขึ้น โดยใช้ลายมือเขียน ได้แก่ หนังสือที่จัดทำในสมัยโบราณก่อนที่จะมีการพิมพ์ โดยการใช้จาร หรือสลักลงบนวัสดุต่าง ๆ เช่น แผ่นหิน แผ่นดินเหนียว แผ่นไม้ แผ่นโลหะ แผ่นหนัง ใบลาน กระดาษ เป็นต้น ตัวอย่างของต้นฉบับตัวเขียน ได้แก่ ศิลาจารึก สมุดข่อย ใบลาน แผ่นปาปิรัส (papyrus) ต้นฉบับตัวเขียนมีความสำคัญในการใช้เป็นหลักฐานทางวิชาการและเป็นแหล่งสารสนเทศทางประวัติศาสตร์ในการศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับการเมือง การปกครอง ความเป็นอยู่ ประเพณีวัฒนธรรม ของประเทศและชุมชนต่าง ๆ ในอดีต (2) ต้นฉบับของผู้แต่งหนังสือ ก่อนที่จะนำไปพิมพ์เผยแพร่ อาจอยู่ในรูปของต้นฉบับตัวเขียนที่เขียนด้วยลายมือของผู้แต่งเอง หรือเป็นต้นฉบับพิมพ์ดีดก็ได้ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Unsigned articleบทความไม่กำกับชื่อผู้เขียน [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Computer programmingการเขียนโปรแกรม (คอมพิวเตอร์) [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
สดับปกรณ์เป็นทั้งคำกริยาและคำนามว่า สดับปกรณ์ (สะ-ดับ-ปะ-กอน) เป็นคำกริยา คือ บังสุกุล (ใช้แก่ศพเจ้านาย) ส่วนคำนามหมายถึง พิธีสวดมาติกาบังสุกุลเนื่องด้วยศพ ปัจจุับันใช้เฉพาะเจ้านาย คำในภาษาบาลีเขียน สตฺตปฺปกรณ ส่วนภาษาสันสกฤตเขียน สปฺตปฺรกรณ หมายถึงพระอภิธรรม ๗ คัมภีร์ [ศัพท์พระราชพิธี]
Computer programmingการเขียนโปรแกรม (คอมพิวเตอร์) [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]
Assembly languageภาษาแอสเซมบลี ภาษาระดับต่ำสำหรับใช้เขียนโปรแกรม, Example: แต่ละคำสั่งจะตรงกับคำสั่งภาษาเครื่องหนึ่งคำสั่ง ภาษาเครื่องนั้นปกติเป็นตัวเลขฐานสองหรือ 0 กับ 1 ซึ่งยากที่จะจำ ส่วนภาษาแอสเซมบลีนั้นเปลี่ยนเลข 0 กับ 1 ให้เป็นคำที่จำได้ง่าย เช่น A แทนคำว่า Add หรือบวก s แทน Subtract หรือลบ ทำให้เขียนโปรแกรมได้ง่ายกว่าการท่องจำเลข 0 กับ 1 ภาษาแอสเซมบลีนี้มักจะแตกต่างกันไปตามประเภทและรุ่นของตัวประมวลผล (processor) และใช้ร่วมกันไม่ได้ [คอมพิวเตอร์]
Cataloging of manuscriptการทำบัตรรายการต้นฉบับตัวเขียน [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Absorbed doseปริมาณ (รังสี) ดูดกลืน, Absorbed dose, D<sub>T, R</sub> ปริมาณพลังงานที่วัตถุดูดกลืนไว้เมื่อได้รับรังสี มีหน่วยเป็น เกรย์ ปกติจะระบุชนิดของวัตถุและชนิดของรังสี โดยเขียนเป็นสัญลักษณ์ดังนี้ D<sub>material, radiation</sub> เช่น D<sub>lung, alpha </sub>ยกเว้นรังสีแกมมาอาจไม่ต้องระบุชนิดของรังสี เช่น Dwater (ดู gray, Gy ประกอบ) [นิวเคลียร์]
Internetอินเทอร์เน็ต, เครือข่ายของเครือข่ายคอมพิวเตอร์ เครือข่ายที่มีแม่ข่ายคอมพิวเตอร์ทั่วโลกมาเชื่อมต่อกันเป็นจำนวนมาก คำๆ นี้มักจะเขียนผิดเป็น "อินเตอร์เน็ต" หรือ "อินเตอร์เน็ท" [คอมพิวเตอร์]
Microprogrammingการเขียนคำสั่งจุลภาค [คอมพิวเตอร์]
Optical Character Recognitionการรู้จำอักขระด้วยแสง, การรู้จำอักขระด้วยแสง เขียนทับศัพท์เป็น โอซีอาร์ [คอมพิวเตอร์]
Programmingการเขียนโปรแกรม [คอมพิวเตอร์]
Programmerนักเขียนโปรแกรม [คอมพิวเตอร์]
Wi-FiWireless Fidelity - ระบบแลนไร้สาย มักจะเขียนทับศัพท์เป็น ไว-ไฟ หรือ ไว-ไฟ้ [คอมพิวเตอร์]
Wireless Fidelityระบบแลนไร้สาย มักจะเขียนทับศัพท์เป็น ไว-ไฟ หรือ ไว-ไฟ้ [คอมพิวเตอร์]
hi-endคุณภาพระดับสูงสุด, เสียงที่ออกมาจากเครื่องเสียง เขียนว่า ไฮ เอ็นด์ [เทคโนโลยีการศึกษา]
Amplifierเครื่องขยายเสียง , เครื่องขยายเสียง มักเขียน แอมปลิไฟร์ [เทคโนโลยีการศึกษา]
structural programmingการเขียนโปรแกรมโครงสร้าง, การเขียนโปรแกรมโดยใช้เฉพาะโครงสร้างควบมากเกินไปคุมที่เหมาะสม เพื่อไม่ให้โปรแกรมซับซ้อนมากเกินไป วิธีนี้ช่วยช่วยให้ผู้อ่านเข้าใจโปรแกรมได้ง่ายขึ้น อันจะทำให้แก้ไขดัดแปลงโปรแกรมได้ง่ายขึ้นด้วย [คอมพิวเตอร์]
syntax errorผิดไวยากรณ์, ความผิดพลาดในโปรแกรมอันเกิดจากการสะกดคำสั่งผิดบ้าง หรือใช้รูปแบบคำสั่งผิดบ้าง โปรแกรมทีเขียนด้วยภาษาระดับสูงนั้นจะต้องนำไปแปลเป็นภาษาเครื่องก่อนจึงจะนำไปใช้สั่งงานคอมพิวเตอร์ได้ ในการแปลนั้นตัวแปลภาษาจะตรวจสอบการใช้ไวยากรณ์ในโปรแกรมนั้นไปด้วย ถ้าหากมีที่ผิดตัวแปลภาษาก็จะรายงานความผิดพลาดให้ทราบ เพื่อที่เราจะได้นำไปพิจารณาแก้ไข [คอมพิวเตอร์]
Downloadบรรจุลง, การส่งข้อมูลจากแม่ข่ายไปยังเครือข่าย <p>เขียนทับศัพท์เป็น ดาวน์โหลด [คอมพิวเตอร์]
Videoวีดิทัศน์, <p>คำนี้มักจะเขียนตามคำอ่าน ซึ่งพบว่ามีการใช้สระผิด เช่น เขียนว่า วิดีทัศน์ หรือ วีดิโอ คำที่ถูกต้องคือ วีดิทัศน์ (ว สระอี ด สระ อิ ..) และ วิดีโอ (ว สระอิ ด สระอี ...) <p>คำว่า วีดิทัศน์ เป็นศัพท์บัญญัติตรงกับคำภาษาอังกฤษว่า video (อ่านว่า วิ-ดี-โอ). ศาสตราจารย์ ดร. คุณบรรจบ พันธุเมธา เป็นผู้คิดคำนี้ขึ้น โดยเห็นว่า คำว่า “วีติ” ในภาษาสันสกฤต แปลว่า “ความสนุกสนานรื่นเริง” มีเสียงใกล้เคียงกับคำว่า video ในภาษาอังกฤษ เมื่อเติมคำว่า “ทัศน์” ลงไปข้างท้าย ก็อาจจะแปลได้ว่า “เครื่องที่แสดงภาพเพื่อความสนุกสนานรื่นเริง” [คำทับศัพท์ที่มักใช้ผิด]
หม่อมหลวงคำว่า หม่อมหลวง เมื่อเขียนเป็นตัวย่อ ให้เขียนเป็น ม.ล. [คำที่มักเขียนผิด]
integrationบูรณาการ, การรวมเข้าเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน, บูรณาการ มี ๒ ความหมาย <p>ความหมายที่ ๑ คือ ทำให้เป็นเนื้อเดียวกันโดยรวมหรือผสมผสานส่วนต่าง ๆ เข้าด้วยกัน เช่น การสอนภาษาแบบบูรณาการ หมายถึง การรวมทักษะการพูด ฟัง อ่าน เขียน ไว้ในวิชาเดียวกัน, หลักสูตรแบบบูรณาการสำหรับภิกษุสามเณร เป็นหลักสูตรที่รวมหลักสูตรธรรมศึกษา บาลีศึกษา และสามัญศึกษา ให้เป็นหลักสูตรเดียว <p>ความหมายที่ ๒ หมายถึงเชื่อมหรือประสานกับสิ่งอื่นหรือหน่วยงานอื่น เช่น โรงเรียนหลายแห่งบูรณาการภูมิปัญญาท้องถิ่นเข้ากับศาสตร์สมัยใหม่ เพื่อให้เกิดการพัฒนาองค์ความรู้ที่มีรากฐานจากความเป็นไทยและนำไปสู่การ พัฒนาประเทศที่ยั่งยืน [การจัดการความรู้]
Stickerสติกเกอร์, สติกเกอร์ มักเขียนเป็น สติ๊กเกอร์ [คำทับศัพท์ที่มักใช้ผิด]
Jackเต้ารับ, เต้ารับ เขียนทับศัพท์เป็น แจ็ก [คอมพิวเตอร์]
socketเต้ารับ, เต้ารับ [ มีความหมายเหมือนกับ jack ] สามารถเขียนทับศัพท์เป็น ซ็อกเก็ต [คอมพิวเตอร์]
uploadบรรจุขึ้น, บรรจุขึ้น คือการถ่ายโอนข้อมูลจากคอมพิวเตอร์เครื่องหนึ่งไปยังคอมพิวเตอร์อีกเครื่องหนึ่ง เครื่องที่ส่งข้อมูล เรียกว่า ตัวที่ทำการ "บรรจุขึ้น" หรือการส่งข้อมูลจากเครือข่ายไปยังแม่ข่าย <p>เขียนทับศัพท์เป็น อัปโหลด [คอมพิวเตอร์]
optical character readerเครื่องอ่านอักขระด้วยแสง, เครื่องอ่านอักขระด้วยแสง เขียนทับศัพท์เป็น โอซีอาร์ [คอมพิวเตอร์]
treatmentการบำบัด (โรค), การรักษา (โรค), การบำบัด (โรค), การรักษา (โรค) <p>เขียนทับศัพท์เป็น ทรีตเมนต์ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]
pasteurizationการฆ่าเชื้อวิธีปาสเตอร์, การฆ่าเชื้อวิธีปาสเตอร์ สามารถเขียนได้เป็น pasteurisation [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]
pasteurisationการฆ่าเชื้อวิธีปาสเตอร์, การฆ่าเชื้อวิธีปาสเตอร์ สามารถเขียนอีกคำได้เป็น pasteurization [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]
geostationary orbitวงโคจรค้างฟ้า, วงโคจรค้างฟ้า เขียนทับศัพท์เป็น จีอีโอ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]
reflectionการสะท้อน เขียนทับศัพท์เป็น รีเฟลกชัน [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]
Optical Character Recognition Programโปรแกรมแปลงข้อความบนกระดาษเป็นข้อความในคอมพิวเตอร์, ซอฟต์แวร์ที่ทำหน้าที่วิเคราะห์และรู้จำตัวพิมพ์หรือตัวเขียน โดยการสแกนตัวอักษรหรือข้อความ ด้วยแสง นำมาวิเคราะห์ภาพตัวอักษรหรือข้อความนั้น เพื่อแปลงมาเป็นรหัสตัวอักษรเพื่อใช้ในการประมวลผลต่อไป [Assistive Technology]
Slate and stylusอุปกรณ์สำหรับเขียนอักษรเบรลล์, แผ่นและเข็ม สำหรับเขียนอักษรเบรลล์ลงบนกระดาษ อุปกรณ์นี้ ประดิษฐ์ โดย Charles Barbier and Louis Braille&nbsp;ประกอบด้วย แผ่นรองเขียนอักษรเบรลล์ ทำด้วยพลาสติก เหล็ก หรือไม้ และเข็มดันกระดาษ ตัวแผ่นเจาะเป็นช่องอักษรเบรลล์สำหรับสร้างจุดเบรลล์ ๒ แถวๆ ละ ๓ จุด รวม ๒๘ ช่องต่อ ๑ บรรทัด&nbsp;แผ่นหลังเป็นที่วางกระดาษ&nbsp;มีบานพับปิดเปิดระหว่าง ๒ แผ่น [Assistive Technology]
ย่อมเยาคำที่มักเขียนผิด คือ ย่อมเยาว์, Example: มีราคาถูก มีราคาพอสมควร [คำที่มักเขียนผิด]
ชอล์ก1. ชื่อแร่ชนิดหนึ่ง ประกอบด้วยแคลเซียมคาร์บอเนต มีซิลิกาปนอยู่เล็กน้อย เกิดขึ้นตามธรรมชาติโดยการรวมตัวของหินปูนจากซากสัตว์ พืช และเปลือกหอยในทะเล 2. เครื่องเขียนกระดานดำชนิดหนึ่งที่เป็นสีขาวทำจากแคลเซียมซัลเฟต ซึ่งได้จากเกลือจืดหรือยิปซัมผสมน้ำ, Example: คำที่มักเขียนผิด คือ ชอคล์ [คำที่มักเขียนผิด]
สังเกตคำที่มักเขียนผิด คือ สังเกตุ, Example: กำหนดไว้ หมายไว้ ตั้งใจดู จับตาดู [คำที่มักเขียนผิด]
Youths' writings, Americanงานเขียนของเยาวชนอเมริกัน [TU Subject Heading]
Writingการเขียน [TU Subject Heading]
Writing, Arabicการเขียนแบบอาหรับ [TU Subject Heading]
Written communicationภาษาเขียน [TU Subject Heading]
Working drawingsการเขียนแบบงาน [TU Subject Heading]
Women sportswritersผู้เขียนข่าวกีฬาสตรี [TU Subject Heading]
Academic writingการเขียนทางวิชาการ [TU Subject Heading]
Architectural drawingการเขียนแบบสถาปัตยกรรม [TU Subject Heading]

Volubilis Dictionary (TH-EN-FR)
อ่านออกเขียนได้[ān øk khīen dāi] (v, exp) EN: be literate  FR: savoir lire et écrire
บอกให้เขียน[bøk hai khīen] (v, exp) EN: dictate  FR: dicter
ช่างเขียน[chang khīen] (n) EN: artist ; painter  FR: artiste peintre [ m ]
ช่างเขียนแบบ[chang khīenbaēp] (n, exp) EN: draughtsman ; draftsman  FR: dessinateur industriel [ m ] ; dessinateur technique [ m ]
ช่างเขียนรูปสัตว์[chang khīen rūp sat] (n, exp) FR: animalier [ m ] ; animalière [ f ] ; peintre animalier [ m ]
การเขียน[kān khīen] (n) EN: writing  FR: écriture [ f ] ; rédaction [ f ]
การเขียนบันเทิงคดี[kān khīen banthoēngkhadī] (n, exp) EN: fiction writing
การเขียนจดหมาย[kān khīen jotmāi] (n, exp) EN: correspondence  FR: correspondance [ f ] ; rédaction d'une lettre [ f ]
การเขียนจดหมายธุรกิจ[kān khīen jotmāi thurakit] (n, exp) EN: business letter writing  FR: correspondance commerciale [ f ]
การเขียนโปรแกรม[kān khīen prōkraēm] (n, exp) EN: computing programming  FR: programmation (informatique) [ f ]
การเขียนสารคดี[kān khīen sārakhadī] (n, exp) EN: non-fiction writing
เขียน[khīen] (v) EN: write ; compose  FR: écrire ; rédiger
เขียน[khīen] (v) EN: draw ; sketch ; paint  FR: dessiner ; esquisser ; tracer ; peindre
เขียนแบบ[khīenbaēp] (v) EN: draw ; sketch  FR: dessiner ; faire un croquis ; faire une esquisse
เขียนบันทึกความจำ[khīen bantheuk khwāmjam] (v, exp) FR: écrire ses mémoires
เขียนบทละคร[khīen bot lakhøn] (v, exp) EN: write a play  FR: écrire une pièce (de théâtre)
เขียนเช็ค[khīen chek] (v, exp) EN: write a cheque ; write a check (Am.)  FR: rédiger un chèque
เขียนได้[khīen dai] (v, exp) FR: savoir écrire
เขียนจดหมาย[khīen jotmāi] (v, exp) EN: write a letter  FR: écrire une lettre ; rédiger une lettre
เขียนโคลง[khīen khlōng] (v, exp) EN: write a poem ; compose a poem  FR: écrire un poème ; composer un poème
เขียนกลอน[khīen kløn] (v, exp) EN: write poetry  FR: faire un poème ; composer un poème
เขียนลงในสมุด[khīen long nai samut] (v, exp) FR: noter dans un cahier ; prendre des notes
เขียนหนังสือ[khīen nangseū] (n, exp) EN: write ; compose ; author (form.) ; scribe  FR: écrire ; rédiger ; s'adonner à l'écriture
เขียนภาพด้วยดินสอ[khīen phāp dūay dinsø] (v, exp) EN: draw with a pencil  FR: dessiner au crayon ; crayonner
เขียนพู่กันจีน[khīen phūkan jīn] (n) EN: calligraphy  FR: calligraphie [ f ]
เขียนรูป[khīen rūp] (v, exp) EN: draw ; draw a picture ; paint a picture  FR: dessiner ; esquisser ; crayonner
เขียนตามคำบอก[khīen tām kham bøk] (n, exp) FR: dictée [ f ]
เขียนแทน[khīen thaēn] (v, exp) FR: représenter
เขียนไทย[khīen Thai] (n, exp) EN: Thai dictation  FR: dictée en thaï [ f ]
เขียนเติมให้[khīen toēm hai] (v, exp) FR: compléter
เขียนตัวบรรจง[khīen tūa banjong] (v, exp) EN: write in block letters  FR: écrire en lettres capitales ; écrire en lettres majuscules
เขียนหวัด[khīenwat] (v) FR: griffonner
เขียนวิทยานิพนธ์[khīen witthayāniphon] (v, exp) EN: write a thesis  FR: écrire une thèse
เขียนวงกลม[khīen wongklom] (v, exp) EN: draw a circle  FR: tracer un cercle
เขียนวงกลมล้อมรอบ[khīen wongklom lømrøp] (v, exp) FR: entourer d'un cercle
เขียนอย่างไร[khīen yāngrai] (v, exp) FR: comment doit-on écrire ?
ข้อเขียน[khøkhīen] (n) EN: written test ; written examination  FR: épreuve écrite [ f ] ; examen écrit [ m ] ; test écrit [ m ]
เครื่องเขียน[khreūangkhīen] (n) EN: stationery ; writing materials  FR: article de papeterie [ m ]
เกี่ยวกับผู้เขียน[kīokap phūkhīen] (xp) FR: à propos de l'auteur ; au sujet de l'auteur
กระดาษเขียนจดหมาย[kradāt khīen jotmāi] (n, exp) EN: writing paper ; writung pad ; stationary  FR: papier à lettres [ m ]
กระดาษวาดเขียน[kradāt wātkhīen] (n, exp) EN: drawing paper  FR: papier à dessin [ m ]
นักเขียน[nakkhīen] (n) EN: novelist ; author ; writer ; fiction writer ; prose writer ; fictionist  FR: écrivain [ m ] ; auteur [ m ] ; rédacteur [ m ]
นักเขียนการ์ตูน[nakkhīen kātūn] (n, exp) EN: cartoonist  FR: dessinateur de bande dessinée [ m ]
นักเขียนรูป[nakkhīen rūp] (n, exp) FR: dessinateur [ m ]
งานเขียน[ngān khīen] (n, exp) EN: writing ; composition ; work  FR: écrit [ m ] ; travail d'écriture [ m ]
ภาษาการเขียนโปรแกรม[phāsā kān khīen prōkraēm] (n, exp) EN: programming language  FR: langage de programmation [ m ]
ภาษาเขียน[phāsā khīen] (n, exp) EN: written language ; literary writing  FR: langue écrite [ f ] ; langue littéraire [ f ]
ผู้เขียน[phūkhīen] (n) EN: author ; writer  FR: auteur [ m ] ; écrivain [ m ]
ระบบการเขียน[rabop kān khīen] (n, exp) EN: writing system  FR: système d'écriture [ m ]
เรียนเขียนอ่าน[rīen khīen ān] (v, exp) FR: apprendre à lire et à écrire

Longdo Approved EN-TH
flash memory(n) หน่วยความจำประเภทสารกึ่งตัวนำชนิดหนึ่ง ที่สามารถลบข้อมูลแล้วเขียนใหม่ได้ และสามารถคงข้อมูลไว้ได้แม้ไม่มีกระแสไฟฟ้าเลี้ยง
MFC(name) ย่อมาจากคำว่า Microsoft Foundation Classes เป็นชื่อของชุดโปรแกรมพื้นฐานชุดหนึ่ง ประกอบด้วย class ของการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ สำหรับใช้เพื่อพัฒนาโปรแกรมประยุกต์บนระบบปฏิบัติการ Windows, See also: ATL WTL
Tablet PC(name) เครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล ชนิดที่มีระบบรับข้อมูลการขีดเขียนด้วยปากกาบนจอภาพ
Perl(n, jargon, name) ชื่อภาษาคอมพิวเตอร์ระดับสูงภาษาหนึ่ง เขียนโดยคุณ Larry Wall ในช่วงทศวรรษ 1980 เริ่มเป็นที่นิยมใช้ ในการประมวลผลข้อความ (Text) และใช้เขียน CGI program, หลังจากนั้นได้พัฒนาความสามารถในหลายๆ ด้าน จนสามารถใช้ในงานคอมพิวเตอร์ต่างๆ ได้อย่างหลากหลาย
exegete(n) อรรถกถาจารย์ - ผู้เขียนหนังสืออธิบายข้อพระคัมภีร์ของศาสนาต่างๆ เช่นหนังสืออธิบายข้อพระคริสต์ธรรมคัมภีร์ หรือหนังสืออธิบายข้อพระธรรมเบญจบรรณ หรือหนังสืออธิบายพระไตรปิฏก หรือหนังสืออธิบายคัมภีร์พระเวท หรือหนังสืออธิบายคัมภีร์อัลกุรอ่านก็ได้ทั้งนั้น, Syn. commentator
glory lilyดองดึง หรือบางที่เรียกว่า ดอกก้ามปูนา มีชื่อวิยาศาสตร์ว่า Gloriosa superba (ชื่อวิทยาศาตร์ต้องเขียนด้วยตัวเอียงหรือขีดเส้นใต้เท่านั้น)
Image:
framer[เฟรม-เมอ] (n) บุคคลผู้ซึ่งเขียนกฎหมายใหม่ หรือ แผนงานต่างๆ ยกตัวอย่างเช่น "the framers of the Constitution" (บุคคลที่เขียนกฎหมายรัฐธรรมนูญ), See also: Constitution, law

NECTEC Lexitron Dictionary EN-TH
address(vt) เขียนชื่อที่อยู่, See also: จ่าถึง
Americana(n) หนังสือหรืองานเขียนที่เกี่ยวกับชนชาติอเมริกัน, Syn. American history, American materials
amplify(vi) พูดหรือเขียนโดยละเอียด, Syn. expatiate
ante meridiem(adv) ก่อนเที่ยง (เขียนย่อว่า A.M., a.m., AM หรือ am), Syn. A.M., AM, a.m.: am
anthology(n) การรวบรวมบทประพันธ์ของหลายนักเขียน
anti-ballistic missile(n) ขีปนาวุธสำหรับยิงขีปนาวุธ (เขียนย่อว่า ABM)
aphorise(vi) เขียนหรือพูดเป็นคติพจน์, Syn. aphorize
aphorist(n) ผู้ที่เขียนหรือพูดเป็นคติพจน์หรือคำพังเพย
aphorize(vi) เขียนหรือพูดเป็นคติพจน์, Syn. aphorise
artist(n) ศิลปิน, See also: ช่างเขียน, จิตรกร, Syn. creator, performing artist
ascribe(vt) จัดว่าเขียนโดย, See also: ถือว่าประพันธ์โดย
author(vt) ประพันธ์, See also: เขียนหนังสือ, แต่งหนังสือ, เขียน, Syn. compose, produce, pen
author(n) ผู้เขียน, See also: นักประพันธ์, นักเขียน, ผู้แต่ง, Syn. writer
autobiography(n) อัตชีวประวัติ, See also: การเขียนชีวประวัติของตนเอง, Syn. personal history, life, self-portrayal
address to(phrv) จ่าหน้าซองถึง, See also: เขียนถึง, Syn. direct to
address to(phrv) ส่ง (คำพูด, ข้อเขียน, ข้อความ) ไปยัง, Syn. direct to
arrange for(phrv) เรียบเรียงใหม่ (ดนตรี), See also: เขียนใหม่
ascribe to(phrv) พิจารณาว่าเขียนโดย, See also: น่าจะมาจาก, คิดว่าเขียนโดย, คิดว่าเป็นของ, Syn. arbitrate to
attribute to(phrv) พิจารณาว่าเขียนโดย, See also: น่าจะมาจาก, คิดว่าเขียนโดย, คิดว่าเป็นของ, Syn. ascribe to
back(vt) เขียนสลักหลัง, See also: สลักหลัง เช็ค, เขียนบันทึกกำกับ
backhand(n) การเขียนคัดลายมือที่เอนไปทางซ้าย, See also: การคัดลายมือที่หันไปทางซ้าย
balderdash(n) การเขียนหรือพูดโง่ๆ (คำล้าสมัย), See also: การเขียนหรือพูดไร้สาระ, Syn. bombast, gibberish
bilingual(adj) สามารถพูดหรือเขียนได้สองภาษา
bilingual(n) คนที่สามารถพูดหรือเขียนได้สองภาษา
biographer(n) ผู้เขียนชีวประวัติของผู้อื่น
body(n) ใจความสำคัญของงานเขียน, See also: เนื้อเรื่อง
boohoo(int) คำแทนเสียงร้องในภาษาเขียน
book(vt) บันทึกข้อหา, See also: เขียนใบสั่ง, Syn. charge, record
bumf(n) ข้อมเขียน, Syn. bumph
bumph(n) ข้อเขียน, Syn. bumf
bunkum(n) การพูดหรือเขียนไร้สาระ
byline(n) บรรทัดแรกหรือสุดท้ายในหนังสือพิมพ์/นิตยสารที่ลงชื่อผู้เขียน
be down(phrv) จดบันทึก, See also: เขียนบันทึก, จด, Syn. write down
bring out(phrv) แสดงออกด้วย (คำพูดหรือเขียน)
cartoonist(n) นักเขียนการ์ตูน, Syn. illustrator
chalk(vt) เขียนด้วยชอล์ก
chamber music(n) บทเพลงที่เขียนขึ้นสำหรับวงที่มีเครื่องดนตรีน้อยชิ้น
chapter(n) บท (ของหนังสือหรืองานเขียน), See also: เรื่อง, ตอน, ส่วนย่อย, Syn. section, episode
cheque(n) เช็ค, See also: เอกสารที่ผู้สั่งจ่ายเขียนเพื่อให้ธนาคารจ่ายเงินแก่ผู้ถือ, Syn. bank check, check
claptrap(n) การพูดหรือเขียนเพื่อยกยอ, Syn. empty talk, bombast
clef(n) สัญลักษณ์ที่ใช้เริ่มในการเขียนโน้ต เพื่อบอกระดับเสียง (เช่น กุญแจซอล)
coauthor(vt) เขียนร่วมกัน
coauthor(n) ผู้เขียนร่วม, Syn. collaborator
code(vt) เขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์
codex(n) หนังสือโบราณที่เขียนด้วยลายมือ
columnist(n) ผู้เขียนในหนังสือพิมพ์หรือนิตยสาร, See also: คอลัมน์นิสต์
copywriter(n) ผู้เขียนคำโฆษณา
corpus(n) คลังข้อมูล, See also: การรวบรวมงานเขียนหรือข้อมูลคำ
crayon(vt) เขียนด้วยดินสอสี
crisscross(adj) ซึ่งเขียนเครื่องหมายกากบาท

Hope Dictionary
^<คำแปล> hat หมายถึง สัญลักษณ์ที่มีลักษณะคล้ายหมวก (^) ในภาษาไทยเราก็เรียกเครื่องหมายนี้ว่า "หมวก" ใช้แทน แป้นควบคุม (Control Key) เช่น กดแป้นควบคุมและแป้น K จะใช้ย่อ ๆ ว่า กด ^K ในภาษาเบสิกใช้หมายถึงการยกกำลัง เช่น 5^3 มีความหมายว่า 5 ยกกำลัง 3 ดู caret ประกอบ^ (สัญลักษณ์) <เครื่องหมาย>caretหมายถึง สัญลักษณ์ที่เกิดขึ้นเมื่อกดแป้น Shift+6 (^) สัญลักษณ์นี้ใช้ในการเขียนโปรแกรมของบางภาษา โดยจะแทนคำสั่งเฉพาะบางคำสั่ง มีความหมายแตกต่างกันไป เช่น ^ ในภาษาปาสกาล (Pascal) ใช้แทนตัวชี้ (pointer) , ^ ใน ภาษาซี (C) ใช้แทนตัวดำเนินการ exclusive OR, ^ ใน ภาษาเบสิก (BASIC) ใช้แทนการยกกำลัง เป็นต้น
a:A: Drive A ไดรฟ์เอ หมายถึง ชื่อหน่วยบันทึกหน่วยแรกของเครื่องคอมพิวเตอร์ตระกูลไอบีเอ็ม หรือเครื่องเลียนแบบ (compatibles) เมื่อเปิดเครื่องคอมพิวเตอร์ เครื่องจะเข้าไปดูในหน่วยนี้ก่อน หากไม่พบสิ่งใด ๆ จึงจะย้ายไปดูหน่วยบันทึกอื่นต่อไป หน่วยที่สองจะนิยมเรียกกันว่า B: และหน่วยจานบันทึกแข็งหรือฮาร์ดดิสก์ มักจะถูกกำหนดให้เป็น C: (เวลาเขียน ต้องมีเครื่องหมาย : ตามหลังเสมอ จึงจะหมายถึงหน่วยบันทึก)
abbreviate(อะบรี'วิเอท) vt. ย่อ, เขียนย่อ, คำย่อ, การย่อ -abbreviator n., -abbreviation n. ตัวอย่าง: *The word "inch" is abbreviated "in" คำว่า "inch" ถูกย่อเป็น "in"* (แบบ 1, 18)
access methodวิธีเข้าถึงโปรแกรมสำหรับเข้าถึงหมายถึง ระเบียบวิธีการเขียนโปรแกรมหรือชุดคำสั่งสำหรับการเก็บและเรียกใช้ข้อมูลมี 2 วิธี คือ วิธีการเข้าถึงโดยตรง (direct) หรือโดยสุ่ม (random) และวิธีการเข้าถึงโดยอ้อม (indirect) หรือโดยลำดับ (sequential) ดู direct และ indirect access ประกอบ
ada(เอดา) เป็นชื่อของภาษาคอมพิวเตอร์ระดับสูงภาษาหนึ่ง ใช้เป็นภาษามาตรฐานสำหรับงานเขียนโปรแกรมของกิจการทหารของสหรัฐมาก่อน ผู้คิดภาษานี้ตั้งชื่อว่า Ada เพื่อเป็นเกียรติแก่ Lady Ada Augusta Lovelace ซึ่งเป็นชื่อสตรีผู้คิดทำโปรแกรมคอมพิวเตอร์เป็นคนแรกในโลก ในช่วงคริสศตวรรษ 1800
add-on programโปรแกรมเสริมหมายถึง โปรแกรมที่เขียนเพิ่มขึ้น เพื่อให้โปรแกรมเดิมเพิ่มประสิทธิภาพสูงยิ่งขึ้น โปรแกรมสำเร็จทุกโปรแกรมที่ออกสู่ตลาดแล้ว จะต้องมีการพัฒนาตัวเองอยู่ตลอดเวลา และจะมีโปรแกรมเสริมออกมาเสนอให้ลูกค้าอยู่เสมอ ๆ (add-on อาจหมายถึงอุปกรณ์ที่เสริมเข้าไปภายหลังเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของเครื่อง เช่น แผ่นวงจรโมเด็ม เป็นต้น)
adscript(แอด' สคริพท) adj., n. เขียนตามหลัง, อักษรที่เขียนตามหลัง
aerography(แอรอก' กระฟี) n การเขียนบรรยากาศเกี่ยวกับอากาศหรือบรรยากาศ. -aerographer n., -aerographic adj.
aesop(อี' ซอพ) นักเขียนนวนิยายของกรีก. -Aesopian, Aesopic adj.
algol(แอล' กอล) n. Algo (rithmic) L (anguge) เป็นภาษาหนึ่งในการทำ programming ของระบบคอมพิวเตอร์ ย่อมาจากคำว่า ALGOrithmic Language เป็นภาษาที่ใช้ ในการเขียนโปรแกรม ปัจจุบันนี้ ภาษานี้เกือบจะไม่มีใช้แล้ว เพราะเป็นภาษาที่ค่อนข้างสลับซับซ้อน แต่ก็ถือกันว่าเป็นต้นตระกูลของ ภาษาปาสกาล (Pascal)
algorithm(แอล' กะริธธึม) n. ระบบกฏเกณฑ์ในการแก้ปัญหาของจำนวนที่แน่นอนทางคณิตศาสตร์เช่นในการหาค่าของตัวหารร่วมที่สุด., Syn. algorism, -algorithmic adj. ขั้นตอนวิธีอัลกอริทึมหมายถึง การวิเคราะห์แยกแยะวิธีการทำงานให้เป็นขั้นเป็นตอนโดยกำหนดให้เรียงกันไปตามลำดับ การเขียนโปรแกรมในยุคแรก ๆ นั้น ผู้เขียนโปรแกรมจะต้องมองเห็นขั้นตอนในการแก้ปัญหาอย่างแจ่มชัดเสียก่อน จึงจะเขียนโปรแกรมได้
all-purpose computerคอมพิวเตอร์เอนกประสงค์หมายถึง คอมพิวเตอร์ที่ออกแบบขึ้นใช้เพื่อให้ทำงานสนองความต้องการได้หลายวัตถุประสงค์ เป็นคอมพิวเตอร์ที่อาจใช้วิธีการเขียนโปรแกรมหรือชุดคำสั่งเพื่อสั่งให้ทำงานได้ด้วยภาษาต่าง ๆ หลายภาษา (คอมพิวเตอร์ที่พูดถึงโดยทั่วไปในปัจจุบันนี้ ส่วนมากจะเป็นคอมพิวเตอร์เอนกประสงค์ทั้งสิ้นดู special purpose computer เปรียบเทียบ
allograph(แอล' โลกราฟ) n. การเขียนหรือการเซ็นชื่อดดยคนหนึ่งเพื่ออีกคนหนึ่ง
allonym(แอล' โลนิม) n. ชื่อของอีกบุคคลหนึ่งที่ ผู้เขียนใช้เป็นนามปากกาของตน. -allonymous adj.
alpha testการทดสอบรอบแรกหมายถึง การนำเอาโปรแกรมสำเร็จที่เขียนเสร็จใหม่ ๆ ไปให้ "กลุ่มลูกค้าประจำ" ทดลองใช้ดูก่อน หรือพูดง่าย ๆ ว่า ให้ช่วยเป็นผู้ตรวจสอบเบื้องต้นให้ เพื่อจะดูว่าโปรแกรมที่เขียนขึ้นนั้นใช้ได้ดีหรือไม่ ยังขาดตกบกพร่องอะไรบ้าง หรือมีปัญหาในเรื่องใด โดยปกติแล้ว การทดลองนำไปใช้ครั้งแรกนี้ จะยังมีเรื่องที่ต้องแก้ไขอีกมาก โปรแกรมดังกล่าวจะมีข้อความบ่งบอกไว้ว่า เป็น alpha version หมายความว่า รุ่นทดสอบรอบแรก ดู beta version ประกอบ
alpha versionรุ่นทดสอบรอบแรกหมายถึง การนำเอาโปรแกรมสำเร็จที่เขียนเสร็จใหม่ ๆ ไปให้ "กลุ่มลูกค้าประจำ" ทดลองใช้ดูก่อน หรือพูดง่าย ๆ ว่า ให้ช่วยเป็นผู้ตรวจสอบเบื้องต้นให้ เพื่อจะดูว่าโปรแกรมที่เขียนขึ้นนั้นใช้ได้ดีหรือไม่ ยังขาดตกบกพร่องอะไรบ้าง หรือมีปัญหาในเรื่องใด โดยปกติแล้ว การทดลองนำไปใช้ครั้งแรกนี้ จะยังมีเรื่องที่ต้องแก้ไขอีกมาก โปรแกรมดังกล่าวจะต้องมีข้อความบ่งบอกไว้ว่าเป็นรุ่นทดสอบรอบแรก มีความหมายเหมือน alpha testดู beta version ประกอบ
amarna(อะมาร์' นะ) adj. เกี่ยวกับสมัยอียิปต์โบราณที่เขียนไว้บนแผ่นรูปลิ่ม
amorist(แอม' มะริส) n. คนรัก, คนที่ชอบรัก, ผู้ที่เขียนเรื่องราวเกี่ยวกับความรัก
anamorphosis(แอนนะมอร์ไฟ' ซิส) n. การเขียนภาพที่ผิดจากธรรมชาติ (เช่นจากภาพที่ส่องด้วยกระจก)
anaphora(อะแนฟ' เฟอระ) n. การเขียนซ้ำคำในตอนแรกเริ่มของโคลงหรืออนุประโยคหรือประโยค
anonym(แอน' โนนิม) n. ชื่อแฝง, ชื่อปลอม, คนที่ไม่แจ้งชื่อ, ผู้เขียนที่แฝงนาม, สิ่งตีพิมพ์ที่ไม่ระบุชื่อผู้เขียน, Syn. pseudonym
ansi c(แอนซี ซี) หมายถึงข้อกำหนดมาตรฐานสำหรับการเขียนโปรแกรมด้วยภาษาซี (C language) ที่สถาบันแอนซี (ANSI) เป็นผู้กำหนดไว้ บริษัทที่ผลิตตัวแปลภาษาซี (C compiler) ก็ พยายามที่จะทำทุกอย่างตามมาตรฐานนี้ แต่ก็ได้เพิ่มคุณสมบัติต่าง ๆ เข้าไป เพื่อให้มีประสิทธิภาพสูงขึ้นไปอีก จนบางครั้งเหมือนกับลืมจุดประสงค์ดั้งเดิมไปเลยดู ANSI ประกอบ
ante meridiem(แอนทีมะริด' เดียม) (Latin) ก่อนเที่ยง, เขียนย่อว่า A.M., หรือ a.m.
anthologise(แอนธอล' ละไจซ) vi., vt. รวบรวมบทเขียนต่า'
anthology(แอนธอล' โลจี่) n. บทเขียนรวมของหลายนักเขียน, บทเขียนรวมของนักเขียนคนเดียว -anthological adj., -anthologist n. (collection of writings)
antinovel(แอน' ทีนอฟเวิล) n. นวนิยายหรือเรื่องเริงรมย์ที่ผู้เขียนไมใช้หลักการทั่วไปที่ยืดถือกัน. -antinovelist n.
aphorise(แอฟ'ฟะไรซ) vi. เขียนหรือพูดเป็นคติพจน์คำพังเพย. -aphoris (z) re n. (to utter aphorisms)
aphorist(แอฟ'ฟะริสทฺ) n. ผู้ที่เขียนหรือพูดเป็นคติพจน์หรือคำพังเพย
aquatint(แอค'วะทินทฺ) n.ศิลปการกัดและลายเว้าด้วยกรด ทำให้เป็นภาพเหมือนเขียนด้วยหมึกหรือสีน้ำ. -aquatinter n. (tinted water)
assemble(อะเซม'เบิล) vt. รวบรวม, ประชุม, รวมเข้า. -assembler n., Syn. combine, collect, Ant. disperse, separate แปล ภาษาแอสเซมบลี หมายถึงแปลโปรแกรมที่เขียนด้วยภาษาแอสเซมบลีให้เป็นภาษาเครื่อง machine language เพื่อให้คอมพิวเตอร์เข้าใจและปฏิบัติตามคำสั่งนั้น ๆ ได้
assembly languageภาษาแอสเซมบลีหมายถึง ภาษาที่ใช้ในการเขียนโปรแกรมภาษาหนึ่งซึ่งจะตรงเข้าไปจัดการกับตัวไมโครโพรเซสเซอร์ หรือ "ตัวประมวลผล" ของเครื่องคอมพิวเตอร์ และจะทำการประมวลผลโดยตรงได้เลย โดยปกติ ภาษานี้จะเรียนยากและต้องเขียนยาวกว่าภาษา C หรือภาษา BASIC แต่จะทำให้ได้ผลลัพธ์ (result) เร็วกว่า และใช้เนื้อที่เก็บน้อยกว่าโปรแกรมภาษาอื่นมาก นิยมใช้ภาษานี้เมื่อต้องการประหยัดเวลาทำงานของเครื่องคอมพิวเตอร์ และเพิ่มประสิทธิภาพของโปรแกรม โดยไม่ต้องพะวงถึงความชัดเจนมากนัก และที่สำคัญก็คือ โปรแกรมภาษานี้จะเขียนขึ้นมาเพื่อใช้เฉพาะกับเครื่องใดเครื่องหนึ่ง หากจะนำไปใช้กับเครื่องคนละรุ่น ก็จะต้องมีการปรับแก้ก่อน (ขึ้นกับหน่วยประมวลผลหรือ CPU)
auctorial(ออคโท'เรียล) adj. เกี่ยวกับผู้เขียนหรือผู้ประพันธ์ audacious (ออเด'เชิส) adj. กล้ามาก, ไม่กลัว, สร้างสรรค์มาก, กล้าได้กล้าเสีย (bold, fearless)
author(ออ'เธอร์) n. ผู้ประพันธ์, นักเขียน, ผลงานประพันธ์, ผู้สร้างสรรค์. -vt. ประพันธ์.
authoring systemระบบการเขียนโปรแกรมหมายถึง ระบบการเขียนโปรแกรมโดยที่ผู้เขียนไม่จำเป็นต้องมีความรู้ทางด้านโปรแกรมเลย ผู้เขียนเพียงแต่ใช้ภาษาง่าย ๆ ในรูปแบบเชิงโต้ตอบระหว่างผู้ใช้กับคอมพิวเตอร์เท่านั้น
authorship(ออ'เธอชิพ) n. อาชีพการเขียนหนังสือหรือบทความ, แหล่งที่มาของผลงาน
autoexec.batชื่อแฟ้มคำสั่งรวม <คำแปล>เป็นชื่อของแฟ้มเก็บคำสั่งรวม (batch file) แฟ้มหนึ่ง ถือเป็นแฟ้มพิเศษ เพราะคอมพิวเตอร์จะทำตามคำสั่งในแฟ้มที่ชื่อนี้ทันทีที่เปิดเครื่อง โดยมาก จะเขียนขึ้นเพื่อให้ผู้ใช้คอมพิวเตอร์เรียกโปรแกรมต่าง ๆ มาใช้ได้เลย โดยไม่ต้องเสียเวลาหาว่า โปรแกรมที่ต้องการอยู่ในสารบบ (directory) ใด ใช้คำสั่งเข้าไปในสารบบนั้น แล้วจึงตามด้วยชื่อแฟ้มที่เป็นโปรแกรม แต่ผู้ใช้สามารถพิมพ์ชื่อโปรแกรมได้เลย ตัวอย่างแฟ้ม autoexec.bat ที่นำเข้าสู่ โปรแกรม FoxPro โดยผ่านโปรแกรม VTHAI อาจมีข้อความดังนี้ echo off cls cd FOXPRO25 VTHAI/U CD\ AUX : axis :
autograph(ออ'โทกราฟ) n. ลายเซ็นของตัวเอง (เพื่อเก็บไว้เป็นอนุสรณ์) , สิ่งที่เขียนด้วยมือตัวเอง, ต้นฉบับ. -adj. เขียนด้วยมือตัวเอง. -vt. เซ็นชื่อตัวเองบน, เขียนด้วยมือของตัวเอง. -autographic (al) adj. -autography n.
babbage, charles(ชาร์ลส์ แบบเบจ) เป็นชื่อนักวิทยาศาสตร์คนหนึ่ง มีชีวิตอยู่ตั้งแต่ ค.ศ 1791-1871 เป็นคนแรกที่ประดิษฐ์เครื่องคำนวณที่มีชื่อว่า Analytic Engine ซึ่งมีลักษณะความคิดที่เป็นต้นเค้าของเครื่องคอมพิวเตอร์ ดิจิตอล ในปัจจุบัน กล่าวคือเป็นเครื่องจักรที่ทำงานไปตามโปรแกรมซึ่งเขียนเก็บไว้ในหน่วยความจำ
backhand(แบค'แฮนดฺ) n. การตีลูกบอลทางด้านตรงข้ามกับมือที่ถือไม้ตี, การเขียนไปทางซ้าย, See also: backhandness n. ดูbackhand
barrack(บาร์'แรค) n. ค่ายทหาร, โรงทหาร (มักเขียนเป็นbarracks, อาคารง่าย ๆ ที่มีคนอยู่จำนวนมาก)
bas(บีเอเอส) ใช้เป็นนามสกุลของแฟ้มข้อมูลที่เขียนด้วยภาษาเบสิก
base numberเลขฐานหมายถึง จำนวนสัญลักษณ์ที่ ใช้บอกว่าเลขในระบบนั้น ๆ ว่ามีสัญลักษณ์โดด ๆ กี่ตัว เช่น ระบบฐานสิบมีสัญลักษณ์ 10 ตัว ระบบฐานสิบหกมีสัญลักษณ์ 16 ตัว เป็นต้น ในการเขียน มักจะต้องบอกฐานกำกับไว้ด้วยเสมอ
basic(เบ'ซิค) 1. adj. เกี่ยวกับฐาน, เกี่ยวกับด่าง 2. เป็นภาษาระดับสูง (high level language) ภาษาหนึ่งใช้ในการเขียนโปรแกรม ภาษาเบสิกนี้เขียนง่าย ๆ เหมาะกับผู้เริ่มต้นเรียน คำว่า BASIC นั้นย่อมาจาก Beginner's All-purpose Symbolic Instruction Code แปลได้ว่า รหัสคำสั่งที่เป็นสัญลักษณ์เอนกประสงค์สำหรับผู้เริ่มต้นใช้คอมพิวเตอร์ เมื่อเริ่มนำออกใช้ใหม่ ๆ ภาษานี้มีข้อจำกัดมาก ในปัจจุบันแม้จะมีการพัฒนาภาษานี้ไปไกลแล้ว แต่นักทำโปรแกรมทั่วไปมักจะดูถูกว่า เป็นภาษาสำหรับผู้เริ่มต้น และไม่นิยมนำมาใช้ในการเขียนโปรแกรมใหญ่ ๆ ข้อดีของภาษานี้ก็คือ จะทราบที่ผิดและแก้ไขได้ทันที
bawdy(บอ'ดี) adj. หยาบคาย, ลามก n. คำพูดหยาบคาย, คำเขียนที่หยาบคาย, Syn. indecent
bcd(บีซีดี) ย่อมาจาก binary coded decimal ถ้าแปลตรง ๆ ก็คือ เลขฐานสิบเข้ารหัสฐานสอง เป็นเทคนิคที่ใช้ใน การเขียนโปรแกรมเพื่อประกันความแม่นตรงของการคำนวณ โปรแกรมประเภท ตารางจัดการ (spreadsheet) มักใช้เทคนิคนี้
beta testทดสอบรอบสองหมายถึง โปรแกรมที่ทำออกมาให้ลูกค้าทำการทดสอบเป็นครั้งที่สอง (ครั้งแรกเรียกว่า alpha test) เพื่อจะดูว่า โปรแกรมดังกล่าวปฏิบัติงานตามที่ต้องการได้เรียบร้อยครบถ้วนดีแล้วหรือยัง ก่อนที่จะนำออกขายในตลาด โปรแกรมที่นำออกมาทดสอบเหล่านี้มักจะมีเขียนบอกไว้ด้วย เพื่อให้ผู้ใช้รู้ว่า ยังเป็นโปรแกรมที่อยู่ในขั้นทดลองใช้ เช่น Alpha 1, Beta 5 ซึ่งหมายถึง รุ่น 1.0 หรือ 5.0 นั่นเองดู alpha test ประกอบ
bilingual(ไบลิง'กวล) adj. พูดเป็นสองภาษา, เขียนเป็นสองภาษา, See also: bilinguality, bilingualism n.
binary coded decimalเลขฐานสิบเข้ารหัสฐานของ <คำแปล>ใช้ตัวย่อว่า BCD หมายถึงรหัสที่ใช้แทนเลขฐาน ซึ่งกำหนดให้เลขฐานสิบแต่ละตัวแทนด้วยเลขฐานสอง 4 บิต ตัวอย่าง เช่น เลข 17 ในฐานสิบ เขียนเป็นเลขฐานสองว่า 0001 0111 โดยที่เลขหลักของบิตจากซ้ายไปขวา เป็นลำดับเพิ่มตามสูตร 8-4-2-1 เลข 17 ที่เป็นฐานสิบ เมื่อแสดงในรูปเลขฐานสองธรรมดาจะเป็น 10001
biographer(ไบออก'กระเฟอะ) n. ผู้เขียนชีวประวัติ'
black-and-whiteadj. มีเพียงสีดำและขาวเท่านั้น, เกี่ยวกับระบบที่มีเพียง2ค่า, ไม่มีสี, ไม่ระบายสี', เขียนหรือพิมพ์, Syn. writing or print

Nontri Dictionary
artist(n) ศิลปิน, จิตรกร, ช่างฝีมือ, ช่างเขียน, ผู้ชำนาญ
author(n) ผู้แต่ง, ผู้เขียน
autobiographer(n) ผู้เขียนอัตชีวประวัติ
biographer(n) คนเขียนชีวประวัติ
BLACK AND black and white(n) ข้อเขียน, สิ่งพิมพ์, ตัวหนังสือ
bureau(n) ที่ทำการ, โต๊ะทำงาน, โต๊ะเขียนหนังสือ
capitalize(vt) ใช้ให้เกิดประโยชน์, ใช้เป็นทุน, เขียนตัวโต
caricature(vi) เขียนภาพล้อ, เขียนการ์ตูนล้อ
cipher(vt) คิดเลข, ทำเป็นรหัส, เขียนเป็นรหัส
circumscribe(vt) จำกัดวง, โอบล้อม, ล้อมรอบ, เขียนเส้นรอบวง
columnist(n) คนเขียนบทความ, คอลัมนิสต์
copywriter(n) คนเขียนต้นฉบับ, คนคิดคำโฆษณา
cypher(vt) คิดเลข, คำนวณ, เขียนรหัส
dictation(n) คำสั่ง, การบงการ, การเขียนตามคำบอก
diction(n) วิธีพูดและเขียน, การออกเสียง, คำศัพท์
dissertation(n) การสนทนา, การถกปัญหา, การบรรยาย, การเขียนตำรา, วิทยานิพนธ์
dramatist(n) ผู้เขียนบทละคร, นักแต่งบทละคร
draw(vi, vt) วาดภาพ, เขียนภาพ, ลาก, ดึง, ล่อใจ, ชักจูง, ดึงดูด, เคลื่อนตัว
essayist(n) ผู้เขียนเรียงความ, ผู้ทดสอบ
evangelist(n) ผู้เผยแพร่ศาสนา, ผู้สอนศาสนา, ผู้เขียนคัมภีร์คริสต์ศาสนา
fresco(n) การเขียนภาพบนผนังปูน
graph(vi) เขียนกราฟ
graphic(adj) โดยกราฟ, เกี่ยวกับภาพวาด, เกี่ยวกับการขีดเขียน
hack(n) เครื่องสับ, การตัด, รถรับจ้าง, รถเช่า, นักเขียนรับจ้าง
handwriting(n) ลายมือ, สิ่งที่เขียนด้วยมือ
hyperbole(n) การขยายความ, การพูดเกินจริง, การเขียนเกินเลย
indite(vt) เขียน, แต่ง, ประพันธ์
ink(vt) ลงหมึก, ทาหมึก, เขียนด้วยหมึก
interpreter(n) คนอธิบาย, นักเขียน, นักดนตรี, ตัวละคร, ผู้แปล, ล่าม
jot(vi) จดลง, บันทึก, เขียนย่อๆ
journalism(n) การหนังสือพิมพ์, วารสารศาสตร์, การเขียนข่าว
lampoon(vt) เขียนด่า, ถากถาง, เหยียดหยาม, เหน็บแนม
letter(vt) เขียนหนังสือ, ร่างหนังสือ
letterhead(n) หัวกระดาษเขียนจดหมาย
lexicographer(n) ผู้เขียนพจนานุกรม, ผู้รวบรวมพจนานุกรม
longhand(n) ลายมือเขียน, ตัวหนังสือ
outline(vt) ร่าง, เขียนโครงร่าง, สรุปความ, สังเขปความ
paint(vt, vi) เขียนรูป, ทาสี, เขียนภาพ, ระบายสี, วาดภาพ, แต่งหน้า
painter(n) จิตรกร, ช่างเขียน, ช่างทาสี
painting(n) ภาพเขียน, การเขียนภาพ, การทาสี, การระบายสี
pamphleteer(n) คนเขียนหนังสือเล่มเล็กๆ
parchment(n) แผ่นหนังสำหรับเขียนหนังสือ
parody(n) เรื่องล้อ, การเขียนล้อ, ของเก๊, ของกำมะลอ
parody(vt) ล้อเลียน, เขียนล้อ, เลียนแบบ
pastel(n) ดินสอสี, ดินสอเทียน, ภาพเขียนด้วยดินสอสี
pen(vt) เขียน, กั้นรั้ว, ล้อมคอก
penman(n) คนคัดหนังสือ, นักเขียน
penmanship(n) การคัดลายมือ, การคัดหนังสือ, การเขียนหนังสือ
perspective(adj) เขียนให้เห็นเป็นทางไกล
playwright(n) นักเขียนบทละคร

Longdo Unapproved EN-TH
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
altarpiece[อัลตาร์พีส] (n) ฉากแท่นบูชาที่อาจจะเป็นบานภาพพับ, ภาพเขียน, งานแกะสลักไม้ หรืองานสถาปัตยกรรมที่ตั้งเป็นฉากหลังแท่นบูชาในวัดคริสต์ศาสนา (Wikipedia.org)
be grudgeกรุณาเอาคำนี้ออกจากเพจเพราะมันเขียนผิดครับ ในภาษาอังกฤษมี to bear/hold a grudge และ to begrudge ด้วย แต่ไม่มีคำว่า to be grudge หรอกครับ
compute(vt) compute vt. คึ่มพิ้วท์ (พบบ่อย) 1. คำนวณ nc. ค็อมพิ้วเตอร์ (บังคับ) 1. (comp.) คอมพิวเตอร์อุปกรณ์ประมวลผลที่มีความจำ ตามชุดคำสั่ง และสามารถบันทึกผลการประมวลได้ 2. (comp.) พนักงานคำนวณ ในแง่ที่ทำกันเป็นร้อยคน ในสมัยโบราณ ในงานดาราศาสตร์ (ความหมายโบราณ) nc. 1. (comp.) ศิลปะโดยคอมพิวเตอร์ คือ ศิลปที่สร้างหรือทำขึ้นโดยคอมพิวเตอร์ เช่น ใช้คอมพิวเตอร์วาดภาพ หรือระบายสี เป็นต้น nc. 1. (comp.) คอมพิวเตอร์ศูนย์กลาง คือ ได้แก่เครื่องคอมพิวเตอร์ชนิดเมนเฟรม หรือมินิคอมพิวเตอร์ ซึ่งเป็นศูนย์กลางเครือข่ายทำหน้าที่บริการด้านประมวลผลข้อมูลแก่ผู้ใช้บริการในเครือข่าย nc. 1. (comp.) สกุลของคอมพิวเตอร์ที่อยู่ในกลุ่มที่สร้างขึ้นจาก microprocessor ชนิดเดียวกัน หรือ คล้ายกัน ตัวอย่างสกุลของคอมพิวเตอร์ เช่น คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลของบริษัทไอบีเอ็ม และแบบ PS /2 nc. 1. (comp.) เกมคอมพิวเตอร์ คือ การเล่นเกมโดยใช้คอมพิวเตอร์เป็นเครื่องมือ การเล่นเกมในคอมพิวเตอร์ มักควบคุมการเล่นโดยคันโยก (joystick)หรือ แป้นพิมพ์ (keyboard) ก็ได้ nc. 1. (comp.) ชุดคำสั่งที่เขียนด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ภาษาใดภาษาหนึ่งเพื่อจะนำไปใช้สั่งให้คอมพิวเตอร์ปฏิบัติงานตามคำสั่งนั้น ๆ nc. 1. (comp.) ระบบคอมพิวเตอร์ คือ ระบบคอมพิวเตอร์ ประกอบไปด้วยชุดฮาร์ดแวร์ และเครื่องอุปกรณ์ประกอบต่าง ๆ ที่ทำหน้าที่ร่วมกันของระบบ เช่น ระบบไมโครคอมพิวเตอร์ประกอบด้วยตัวเครื่อง ดิสก์ไดร้ว์ จอภาพ คีย์บอร์ด เครื่องพิมพ์ และเมาส์ nc. 1. (comp.) ยุคพัฒนาการคอมพิวเตอร์ ในช่วงระหว่างกลางปี พ.ศ. 2503 - 2513 เป็นยุคที่คอมพิวเตอร์เปลี่ยนมาใช้ IC หรือวงจรรวม ชื่อเต็มว่า integrated circuit หรือ IC n. (ศัพท์คอม) 1. (comp.) ความสามารถที่ใช้งานคอมพิวเตอร์ให้เป็นประโยชน์ nc. 1. (comp.) การใช้คอมพิวเตอร์เข้ามาช่วยในการสอน มีความหมาย เช่นเดียวกับ computer-assisted instruction สามารถดูคำอธิบายใน CAI n. (ไม่ต้องท่อง) 1. (comp.) ศัพท์ที่เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ v. (ไม่ต้องท่อง) 1. (comp.) ใช้คอมพิวเตอร์ช่วยทำงาน
Creative Common(n) สัญญาอนุญาตให้ผู้อื่นนำสำเนาผลงานของผู้เขียน ผู้ประพันธ์ หรือผู้สร้างไปเผยแพร่ผลงานต่อ ซึ่งมีอยู่หลายแบบ โดยผู้สร้างสามารถเลือกได้ว่าจะให้อนุญาตแบบไหน ซึ่งได้แก่ "ยอมรับสิทธิของผู้สร้าง" (Attribution) "ไม่ใช้เพื่อการค้า" (Noncommercial) "ไม่แก้ไขต้นฉบับ" (No Derivative Works) และ "ใช้สัญญาอนุญาตแบบเดียวกัน" (Share Alike), Syn. copyleft
diptychงานศิลปะแบบหนึ่งที่ประกอบด้วยแผ่นแกะสลักสองแผ่นซึ่งสามารถพับได้, กระดานเขียนโบราณ มีสองแผ่น สามารถพับได้, สมุดที่หน้าหนึ่งจารึกชื่อคนตาย อีกหน้าคือนักบวชและผู้มีพระคุณในโบสถ์ที่ล่วงลับไปแล้ว
fools capหมวกชนิดหนึ่งมีลูกพรวน ซึ่งตลกหลวงในสมัยก่อนสวมใส่, กระดาษเขียนหนังสือมีบรรทัด พับสองทบได้
French curve1. แผ่นแบบเจาะลายโค้งหลายขนาดใช้เขียนเส้นโค้ง (คำศัพท์วิศวกรรม) 2. ไม้โค้งเขียนแบบ [ คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗ ]
Giornata[จอร์นาตา] (n) งานเขียนบนปูนเปียกที่เขียนเสร็จในแต่ละวัน (เกี่ยวกับวิธีเขียนจิตรกรรมฝาผนัง), See also: Buon fresco
hackathonกิจกรรมสร้างสรรค์และพัฒนา มากจากกลุ่มนักเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์มาร่วมชุมนุมกันในการเจาะทดสอบระบบคอมพิวเตอร์ว่ามีจุดอ่อนหรือควรแก้ไขอย่างไรบ้าง
history painting[ฮิส-ตรี-เพ้น-ทิง] (n) จิตรกรรมประวัติศาสตร์ เป็นประเภทของจิตรกรรม (genre) ที่เป็นจิตรกรรมเป็นภาพเขียนของเนื้อหาจากประวัติศาสตร์กรีกและโรมัน, ประวัติศาสตร์คริสต์ศาสนา และตำนานเทพ/ปรัมปราวิทยา และรวมทั้งเหตุการณ์ในประวัติศาสตร์ที่เกิดขึ้นเมื่อไม่นานก่อนที่งานจะเขียน (Source: wikipedia.org)
panegyric(n) บทสดุดี คือสุนทรพจน์อย่างเป็นทางการหรือต่อมาเป็นบทเขียนที่ใช้ในการสรรเสริญบุคคลหรือสิ่งของ เป็นคำที่มาจากภาษากรีกที่หมายถึงสุนทรพจน์ที่เหมาะแก่ที่ประชุม (panegyris) ในเอเธนส์การกล่าวบทสดุดีจะทำกันในเทศกาลระดับชาติหรือในการแข่งขันกีฬาโดยมีจุดประสงค์ในการเร้าใจผู้ที่มาร่วมเพื่อให้ปฏิบัติตนเช่นตัวอย่างอันดีของบรรพบุรุษ (Source:wikipedia.org), See also: eulogy
panel painting[แพเนล เพ้นทิง] (n) จิตรกรรมแผง เป็นจิตรกรรมที่เขียนบนแผงที่ทำด้วยไม้ที่อาจจะเป็นแผ่นเดียวหรือหลายแผ่นเชื่อมต่อกัน เป็นอุปกรณ์ที่ใช้ในการเขียนภาพมาจนถึงราวคริสต์ศตวรรษที่ 16 ก่อนที่การเขียนบนผ้าใบจะกลายมาเป็นที่นิยมกัน (Wikipedia.org)
Patmose[พัท มอส] (n) Patmos เป็นชื่อเกาะขนาดเล็กใน(เป็นภาษากริก) Aegean ทะเลและสามารถพบได้ระหว่างเกาะ Leros และ Ikaria. ... ประมงประวัติของพิพิธภัณฑ์เป็นนักท่องเที่ยว Philoproodos กล่าวกันว่านักบุญจอห์นอีแวนเจลลิสเป็นคนคนเดียวกับ “นักบุญอัครสาวก” ... (ดูเพิ่ม นักบุญจอห์นเพรสไบเตอร์ (John the Presbyter) และ นักบุญจอห์นแห่งพัทโมส (John of Patmos) ...ได้เห็นนิมิตที่พระเจ้าททรงประทานให้พ่านทูตสวรรค์ และยอห์นเขียนขึ้นมาเป็นเล่มเรียกชื่อว่า "พระธรรมวิวรณ์"
Perl(n, jargon, name) ชื่อภาษาคอมพิวเตอร์ระดับสูงภาษาหนึ่ง เขียนโดยคุณ Larry Wall ในช่วงทศวรรษ 1980 เริ่มเป็นที่นิยมใช้ ในการประมวลผลข้อความ (Text) และใช้เขียน CGI program, หลังจากนั้นได้พัฒนาความสามารถในหลายๆ ด้าน จนสามารถใช้ในงานคอมพิวเตอร์ต่างๆ ได้อย่างหลากหลาย
Perl(n, jargon, name) ชื่อภาษาคอมพิวเตอร์ระดับสูงภาษาหนึ่ง เขียนโดยคุณ Larry Wall ในช่วงทศวรรษ 1980 เริ่มเป็นที่นิยมใช้ ในการประมวลผลข้อความ (Text) และใช้เขียน CGI program, หลังจากนั้นได้พัฒนาความสามารถในหลายๆ ด้าน จนสามารถใช้ในงานคอมพิวเตอร์ต่างๆ ได้อย่างหลากหลาย
portolan chart[พอร์โทลาน ชาร์ท] (n) แผนที่การเดินเรือโบราณก่อนที่จะมีการใช้เส้นรุ้งและเส้นแวง แผนที่สื่อสารโดยการบรรยายลักษณะที่เป็นที่น่าสังเกตของอ่าวและฝั่งทะเลอย่างละเอียดบนแผนที่ เป็นแผนที่่ที่เขียนขึ้นเป็นครั้งแรกในคริสต์ทศวรรษ 1300 ในอิตาลีและสเปน การใช้อ่าวและฝั่งทะเลเป็นหลักทำให้ใช้ได้เฉพาะในการเดินเรือเลียบฝั่งทะเลเท่านั้น (แปลจาก wikipedia.org)
scarlet letter(n) หนังสือหรือจดหมายที่ผู้แต่งเขียนไว้สำหรับขอโทษในความผิดพลาดของตัวเอง, จดหมายลา
School kits[สคูล คิด] (n) ชุดเครื่องเขียน
scribble(vi, vt) 1. เขียนแบบเร็วๆ 2. เขียนเล่น
scriptwriter(n) นักเขียนบทภาพยนตร์
sign-writingการเขียนป้าย
specialization[สเปเชียล ไล้เซชั่น] (n) จุดประสงค์เฉพาะ (ถ้าเขียนแบบอังกฤษจะเขียนเป็น Specialisation)
SPOT(slang) (เขียนตัวใหญ่ทั้งหมด) ให้ยืมเงิน
Unless otherwise endorsed(phrase, colloq, passport) นอกจากจะเขียนบันทึกไว้เป็นอย่างอื่น (ปรากฎในหน้าหนังสือเดินทาง)
writing(n) เขียน
XCode[เอ็ก-โค้ด] (คำย่อ) กลุ่มของเครื่องมือที่ใช้ในการเขียนโปรแกรมในระบบปฎิบัติการ Mac OS X หรือ iOS
กระดาษทด[gra-dad-tode] (n) กระดาษที่ไม่ใช้แล้ว และยังเหลือพื้นที่ขีดเขียนว่างพอที่จะเขียน หรือบันทึกอะไรลงไปได้
กุศล(n, adj) กุศล ควรจะหมายถึง การกระทำที่เกี่ยวข้องกับการยกระดับจิตใจให้ดีขึ้น ปรับปรุงจิตใจให้ดีขึ้น มากกว่าทำความดีเฉย ๆ การกระทำใด ๆ หากทำแล้วมีผลต่อสภาวะจิตใจของตนเปลี่ยนไปในทางที่สูงขึ้น จึงเรียกว่ากุศล หากการกระทำดีนั้น ๆ ไม่ได้มีผลเปลี่ยนแปลงจิตใจตนเองเลย ไม่เรียกว่ากุศล แต่เรียกว่า กรรมดี โดยทั่วไป มักจะใช้คู่กันกับคำว่า บุญกุศล แต่คำว่า บุญ กับ กุศล ความหมายต่างกัน (เขียนก็ไม่เหมือนกันแล้วจะให้ความหมายเหมือนกันได้อย่างไร) ตัวอย่าง 1. นาย กอ เป็นคนรวย ชอบที่จะให้ทาน เพราะเขาหวังว่า การให้ทานของเขาจะส่งผลทำให้เขารวย ยิ่ง ๆ ขึ้นไป และอาจจะได้ไปสวรรค์ หลังจากที่เขาตายไป - อันนี้นาย กอ ทำกรรมดี หรือทำบุญ แต่ไม่ได้เกิดกุศลในจิต หรือเกิดขึ้นน้อยมาก เพราะเขาทำทานก็จริง แต่ไม่มีผลทำให้จิตใจของเขาวางลงจากความโลภ หรืออยากเลย 2. นาย ขอ เป็นคนชั้นกลาง เขาเห็นเด็กกำพร้ามากมายเกิดขึ้น เขาจึงรู้สึกอยากที่จะช่วยเหลือเด็กเหล่านั้น จึงประหยัดค่าใช้จ่ายของตัวเองมากขึ้น เพื่อที่จะให้ตัวเองมีเงินเหลือมากขึ้น เพื่อที่จะแบ่งไปบริจาคเด็กเหล่านั้น เพื่อที่เด็กเหล่านั้นจะได้โตขึ้นเป็นผู้ใหญ่ที่ดีต่อไป - อันนี้ นาย ขอ ทำทั้งกุศล และบุญ เพราะมีผลที่ทำให้เขาต้องประหยัด อดออมมากขึ้น และการประหยัดอดออมนี้เอง จะทำได้ก็คือต้องปล่อยวางความอยากของตนเอง และทำเพราะในใจเกิดจิตเมตตากรุณา
ซากอ้อย(n, slang) เศษซากของประโยชน์ ไม่ได้มีห่าอะไรเล้ย...ซากอ้อยว่ะ เดิมทีปรากฎอยู่ในเนื้อเพลงของวง so cool มีคนมาพูดผ่านๆ หูนายวิชัย นายวิชัยนำไปเขียนลงบล็อก จากบล็อกลงหนังสือ... ว่าแต่จะบอกที่มาทำซากอ้อยอะไรวะ
แผนที่การเดินเรือพอร์โทลาน(Portolan chart) แผนที่การเดินเรือโบราณก่อนที่จะมีการใช้เส้นรุ้งและเส้นแวง แผนที่สื่อสารโดยการบรรยายลักษณะที่เป็นที่น่าสังเกตของอ่าวและฝั่งทะเลอย่างละเอียดบนแผนที่ เป็นแผนที่่ที่เขียนขึ้นเป็นครั้งแรกในคริสต์ทศวรรษ 1300 ในอิตาลีและสเปน การใช้อ่าวและฝั่งทะเลเป็นหลักทำให้ใช้ได้เฉพาะในการเดินเรือเลียบฝั่งทะเลเท่านั้น (แปลจาก wikipedia.org)
表記[ひょうき] (n) การเขียนแสดงเสียงด้วยตัวอักษรหรือสัญลักษณ์, การถอดเสียง

Longdo Approved JP-TH
〜歳[〜さい, ~ sai] (n) ลักษณนามของอายุ เช่น 14歳 14ปีี บางครั้งอาจจะเขียนโดยใช้ตัว 才 แทน
作家[さっか, sakka] (n) นักประพันธ์, นักเขียน, ผู้แต่ง
和文[わぶん, wabun] (n) เขียนเป็นภาษาญี่ปุ่น
弊社[へいしゃ, heisha] (n) บริษัทของผู้พูด เป็นคำสุภาพแบบถ่อมตัว เมื่อพูดถึงบริษัทของตนเอง มักใช้เป็นภาษาเขียนในจดหมาย, Ant. 御社
文具[ぶんぐ, bungu] (n) เครื่องเขียน
文学[ぶんがく, bungaku] การประพันธ์, การเขียนหนังสือ, การแต่งหนังสือ
砒素[ひそ, hiso] (n) สารหนู [ ヒ素 ] ก็นิยมเขียน
[え, e] (n) รูปภาพ, รูปเขียน
英文[えいぶん, eibun] (n) เขียนเป็นภาษาอังกฤษ

Longdo Unapproved JP-TH
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
プリ[ぷり (puri)] (n) มาจากคำว่า Prince, Princess ใช้ตัวคาตาคานะเขียน แปลว่าเจ้าชาย(หรือเจ้าหญิงก็ได้ตามโอกาส)
上記[じょうき, jouki] การเขียนมาแล้วข้างต้น
蜻蛉日記[かげろうにっき, kagerounikki] (n) วรรณกรรมประเภทบันทึกสมัยเฮอัน ที่ได้รับการบันทึกโดยสตรีเล่มแรกของญี่ปุ่น เขียนโดย 道綱の母(みちつなのはは)เนื้อหาพรรณาเกี่ยวกับความเศร้าจากชีวิตแต่งงานของผู้เขียน
分かち書き[わかちがき, wakachigaki] การเขียนโดยมีการเว้นวรรคเพื่อให้ผู้อ่านตัดคำได้ถูกต้อง ลดความกำกวม. ตัวอย่าง ตากลม: (1) ตา กลม, (2) ตาก ลม
走り書き[はしりがき, hashirigaki] (n) เขียนหวัด
図面[ずめん, zumen] (n) แบบร่างที่เขียนขึ้นโดยมากใช้เพื่อเป็นแนวทางในการผลิตหรือก่อสร้าง
図面を引く[ずめんをひく, zumenwohiku] (vi) เขียนแบบ
筆無精[ふでぶしょう, fudebushou] (n, adj) คนที่ไม่ชอบเขียน
さん[さん, san] (n) คุณ นาย นาง น.ส. (เขียนต่อท้ายชื่อคน แสดงความสุภาพ)
ちゃん[ちゃん, chan] (n) หนู (เขียนต่อท้ายชื่อเด็กหญิง ชาย แทนการใช้ さん)
くん[くん, kun] (n) หนู (เขียนต่อท้ายชื่อเเด็กชาย)
[じん, jin] (n) ชาว คน (เขียนต่อท้ายชื่อประเทศ มีความหมายว่าสัญชาติ)
さん[さん, san] (n) คุณ, นาย, นาง, น.ส. (เขียนต่อท้ายชื่อคน แสดงความสุภาพ)
ちゃん[ちゃん, chan] (n) หนู (เขียนต่อท้ายชื่อเด็กหญิง, ชาย แทนการใช้ さん)
[じん, jin] (n) ชาว, คน (เขียนต่อท้ายชื่อประเทศ มีความหมายว่าสัญชาติ)
さん[さん, san, san , san] (n) คุณ, นาย, นาง, น.ส. (เขียนต่อท้ายชื่อคน แสดงความสุภาพ)
ちゃん[ちゃん, chan, chan , chan] (n) หนู (เขียนต่อท้ายชื่อของเด็กหญิง, ชาย แทนการใช้ さん)
[じん, jin, jin , jin] (n) ชาว, คน (เขียนต่อท้ายชื่อประเทศ มีความหมายว่า "สัญชาติ")
[さい, sai, sai , sai] (n) อายุ (เขียนต่อท้ายตัวเลข เพื่อแสดงอายุ)
番号[ばんごう, bangou] (n) หมายเลข (หมายเลขโทรศัพท์, หมายเลขเขียนต่อท้ายคำหรือประโยค)
書きます[かきます, kakimasu, kakimasu , kakimasu] (vt) เขียน, วาด (รูปภาพ)
論文[ろんぶん, ronbun] (n) วิทยานิพนธ์ สารานิพนธ์ งานเขียน

Saikam JP-TH-EN Dictionary
書き方[かきかた, kakikata] TH: วิธีเขียน ลายมือเขียนหนังสือ  EN: way of writing
書き直す[かきなおす, kakinaosu] TH: เขียนใหม่  EN: to write out
書き直す[かきなおす, kakinaosu] TH: เขียนแก้ไขใหม่  EN: to make a fair copy
分かち書き[わかちがき, wakachigaki] TH: การเขียนเว้นวรรคระหว่างคำโดยมากเขียนเป็นอักษรฮิรางานะ
行く[ゆく, yuku] TH: ใช้เขียนเป็นฮิรางานะเท่านั้น
書く[かく, kaku] TH: เขียน  EN: to write
文語[ぶんご, bungo] TH: ภาษาเขียน  EN: written language
書き換える[かきかえる, kakikaeru] TH: เขียนแก้ใหม่  EN: to rewrite

Longdo Approved DE-TH
einstครั้งหนึ่งในอดีต หรือ เมื่อก่อนนี้ (โดยมากใช้ในภาษาเขียน) เช่น Stavenger ist, wo wir einst waren. สตาเวนเจอร์คือเมืองหนึ่งที่เราเคยไป, Syn. früher
erneut(adv) ครั้งใหม่, อีกครั้ง (ภาษาเขียน) เช่น erneut sagen พูดซ้ำอีกครั้ง, Syn. wieder
jedoch(konj) แต่ (เป็นคำที่ไพเราะกว่า aber มักใช้ในภาษาเขียน ใช้บ่งสิ่งที่ขัดแย้งกัน) เช่น Er wollte seine Eltern besuchen, tat jedoch nicht. เขาอยากไปเยี่ยมพ่อแม่ แต่ก็ไม่ได้ทำ, See also: doch, Syn. aber
schreiben(vi) |schrieb, hat geschrieben| เขียน
aufschreiben(vi) |schrieb auf, hat aufgeschrieben| เขียนลงบนกระดาษ สลัก จารึก
abschreiben(vi) |schrieb ab, hat abgeschrieben| เขียนลอก ลอก
einschreiben(vi) |schrieb ein, hat eingeschrieben| เขียนลง (ในสมุด), See also: eintragen
Schreibtisch(n) |der, pl. Schreibtische| โต๊ะเขียนหนังสือ, โต๊ะทำงาน
ersparen(vt) |ersparte, hat erspart| ประหยัดเวลาหรือหลีกเลี่ยงเหตุการณ์ที่ไม่พึงประสงค์ Wenn du ihn nicht zurückschreibst, kannst du dir die Aufregung ersparen. ถ้าเธอไม่เขียนตอบเขากลับไป เธอก็สามารถลดการรบกวนหรือไม่ต้องมาหงุดหงิดอีก
Tip(n) |der, pl. Tips| คำแนะนำ, เคล็ดลับ (เป็นการเขียนที่ล้าสมัย ในปัจจุบันมักใช้ der Tipp แทน), See also: der Hinweis, Syn. der Tipp
Bauzeichnung(n) |die, pl. Bauzeichungen| วิชาเขียนแบบโยธาฯ, งานเขียนแบบโยธาฯ
schriftliche Prüfung(n) |die| ข้อสอบข้อเขียน, See also: A. die mündliche Prüfung
schriftlich(adj, adv) ที่เกี่ยวกับการเขียน, (การสอบ)โดยการเขียนตอบ, See also: A. mündlich
Prüfung(n) |die, pl. Prüfungen| การสอบซึ่งอาจเป็นได้ทั้งข้อเขียนและปากเปล่า (ต่างจาก Klausur ตรงที่ Klausur หมายถึงการสอบข้อเขียนเท่านั้น)
Kontemplation, -en(n) การคิดอย่างมีสติ, การพิจารณาอย่างรอบคอบ, การไตร่ตรองอย่างแน่วแน่ (เป็นภาษาเขียน), See also: kontemplativ
Sie(pron) คุณ (คำสรรพนามบุรุษที่ 2 รูปประธาน ใช้แสดงความสุภาพ เขียนขึ้นต้นด้วยตัวใหญ่เสมอไม่ว่าจะอยู่ส่วนใดของประโยค)เช่น Sie sind groß.
Sie(pron) พวกคุณ (คำสรรพนามบุรุษที่ 2 รูปประธานพหูพจน์ ใช้แสดงความสุภาพ เขียนขึ้นต้นด้วยตัวใหญ่เสมอไม่ว่าจะอยู่ส่วนใดของประโยค) เช่น Sie sind groß.
Sie(pron) คุณ (คำสรรพนามบุรุษที่ 2 รูปกรรมตรง Akk. ใช้แสดงความสุภาพ เขียนขึ้นต้นด้วยตัวใหญ่เสมอไม่ว่าจะอยู่ส่วนใดของประโยค) เช่น Wer liebt Sie?
Sie(pron) พวกคุณ (คำสรรพนามบุรุษที่ 2 รูปกรรมตรง Akk. พหูพจน์ ใช้แสดงความสุภาพ เขียนขึ้นต้นด้วยตัวใหญ่เสมอไม่ว่าจะอยู่ส่วนใดของประโยค) เช่น Wer liebt Sie?
Ihnen(pron) คุณ (คำสรรพนามบุรุษที่ 2 รูปกรรมรอง Dat. ใช้แสดงความสุภาพ เขียนขึ้นต้นด้วยตัวใหญ่เสมอไม่ว่าจะอยู่ส่วนใดของประโยค) เช่น Die Farbe gefällt Ihnen.
Ihnen(pron) พวกคุณ (คำสรรพนามบุรุษที่ 2 รูปกรรมรอง Dat. พหูพจน์ ใช้แสดงความสุภาพ เขียนขึ้นต้นด้วยตัวใหญ่เสมอไม่ว่าจะอยู่ส่วนใดของประโยค) เช่น Die Farbe gefällt Ihnen.
Stil(n) |der, pl. Stile| สไตล์หรือลักษณะวิธีการพูดหรือเขียนเฉพาะบุคคล เช่น Sie hat einen lebendigen Stil beim Sprechen. เธอคนนี้มีวิธีการพูดที่มีชีวิตชีวา
stehen(vi) |stand, hat gestanden, + in/auf/an + D| มีเขียนไว้, ถูกเขียนไว้ เช่น In der Zeitung steht eine interessante Nachricht. ในหนังสือพิมพ์มีข่าวที่น่าสนใจอันหนึ่ง
Untertitel(n) |der, pl. Untertitel| คำบรรยายใต้ภาพ, คำแปลที่เขียนไว้ข้างล่างในภาพยนตร์
wachen(vi) |wachte, hat gewacht, über + A| ไม่นอน, นอนไม่หลับ, คอยเฝ้าระวัง เช่น Er wachte die ganze Nacht am Schreibtisch. เขาอยู่ที่โต๊ะเขียนหนังสือไม่ยอมนอนทั้งคืน
karikieren(v) |karikierte, hat karikiert| เขียนภาพล้อ, เขียนการ์ตูนล้อ
verfassen(vt) |verfasste, hat verfasst| ประพันธ์ เขียนแต่งเรื่อง เช่น Der Admin konnte nicht wissen, wer den Artikel verfasst hat, aber macht das einen Unterschied wer ihn verfasst hat?, Syn. abfassen

Longdo Unapproved DE-TH
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
geprüft(เก-พรูฟ-เทอะ) vt. ทบทวน, ตรวจสอบอีก, พิจารณาใหม่, วิจารณ์, ตรวจพล, สังเกตการณ์ vi. เขียนบทวิจารณ์, เขียนบทปฏิทัศน์

Longdo Approved FR-TH
madameเป็นคำนำหน้าชื่อของผู้หญิงที่สุภาพ ไม่จำเป็นต้องแต่งงานแล้ว คล้ายกับ นางและนางสาว ที่ฝรั่งเศสใช้ทั้งในภาษาเขียนและพูด โดยเฉพาะตามร้านค้าและสถานที่ราชการ และส่วนใหญ่ตามด้วยนามสกุล เช่น Madame Chantel ในภาษาเขียน ย่อเป็น Mme. Chantel, See also: mademoiselle, Ant. monsieur, Related: mademoiselle
mademoiselleเป็นคำนำหน้าชื่อที่สุภาพของหญิงสาวรุ่นที่มีอายุน้อย คล้ายกับ นางสาว ที่ฝรั่งเศสใช้ทั้งในภาษาเขียนและพูด โดยเฉพาะตามร้านค้าและสถานที่ราชการ และส่วนใหญ่ตามด้วยนามสกุล เช่น Mademoiselle Chantel ในภาษาเขียน ย่อเป็น Mlle. Chantel (สังเกตว่า เมื่อใดก็ตาม mademoiselle ที่นำหน้าชื่อคน จะต้องเขียนขึ้นต้นด้วยตัวใหญ่), See also: madame, Ant. monsieur, Related: madame
monsieurเป็นคำนำหน้าชื่อที่สุภาพของผู้ชาย คล้ายกับ นาย ที่ฝรั่งเศสใช้ทั้งในภาษาเขียนและพูด โดยเฉพาะตามร้านค้าและสถานที่ราชการ และส่วนใหญ่ตามด้วยนามสกุล เช่น Monsieur Allongue ในภาษาเขียน ย่อเป็น M. Allongue (สังเกตว่า เมื่อใดก็ตาม monsieur ที่นำหน้าชื่อคน จะต้องเขียนขึ้นต้นด้วยตัวใหญ่), Ant. madame, mademoiselle
écrire|j'écris, tu écris, il écrit, nous écrivons, vous écrivez, ils écrivent| เขียน
Image:
Dieuพระเจ้า (เขียนเริ่มด้วยตัวใหญ่เสมอ)
lettre de licenciement(n) |f| จดหมายขอยกเลิกสัญญา, การเขียนขอยกเลิกสัญญา
feuille(n) |f| แผ่นกระดาษ, แผ่น เช่น feuille de papier à lettres แผ่นกระดาษเขียนจดหมาย

Time: 0.9413 secondsLongdo Dict -- https://dict.longdo.com/