175 ผลลัพธ์ สำหรับ *เป้าหมาย*
หรือค้นหา: เป้าหมาย, -เป้าหมาย-

Longdo Unapproved MED - TH
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
hangout[แฮ๊งเอ๊าท์] (n, vt) ใช้เวลาว่างกับเพื่อนๆโดยไม่ได้มีเป้าหมายอะไรพิเศษ

NECTEC Lexitron-2 Dictionary (TH-EN)
เป้าหมาย(n) aim, See also: purpose, goal, objective, target, Syn. จุดหมาย, จุดมุ่งหมาย, วัตถุประสงค์, Example: รัฐบาลไม่สามารถจัดเก็บรายได้ได้ตามเป้าหมาย
เป้าหมาย(n) target, See also: objective, bull's eye, Syn. เป้า, จุดเล็ง, จุดกำหนด, Example: เครื่องบินทิ้งระเบิดได้ตรงเป้าหมายตามจุดยุทธศาสตร์, Thai Definition: บุคคลหรือสิ่งที่ใช้เป็นเป้าแห่งการโจมตี หรือเป็นศูนย์กลางแห่งความใส่ใจหรือสังเกต
เป้าหมาย(n) target, See also: butt, Syn. เป้า, จุดเล็ง, จุดกำหนด, Example: เครื่องบินทิ้งระเบิดได้ตรงเป้าหมายตามจุดยุทธศาสตร์
เป้าหมาย(n) aim, See also: purpose, goal, objective, target, Syn. จุดหมาย, จุดมุ่งหมาย, วัตถุประสงค์, เป้า, เป้าประสงค์, Example: รัฐบาลไม่สามารถจัดเก็บรายได้ได้ตามเป้าหมาย, Thai Definition: ศูนย์กลางแห่งความใส่ใจหรือสังเกต
ตั้งเป้าหมาย(v) aim, See also: intend to, Syn. ตั้งเข็ม, ตั้งความหวัง, ตั้งความมุ่งหมาย, Example: เธอตั้งเป้าหมายไว้ว่าจะต้องสอบเข้าเรียนต่อปริญญาโทภายในปีนี้ให้ได้
กลุ่มเป้าหมาย(n) target group, Example: เจ้าของค่ายจะเน้นไปที่กลุ่มเป้าหมายที่เป็นวัยรุ่นมากกว่าคนในวัยทำงาน, Count Unit: กลุ่ม, Thai Definition: กลุ่มบุคคลซึ่งใช้เป็นศูนย์กลางให้ได้รับผลนั้น
บรรลุเป้าหมาย(v) achieve, See also: succeed, accomplish, attain, fulfill, Syn. สำเร็จ, Ant. ล้มเหลว, Example: ครูต้องการให้นักเรียนทั้งชั้นบรรลุเป้าหมายของวิชานั้นๆ, Thai Definition: สำเร็จตามที่กำหนดไว้
การบรรลุเป้าหมาย(n) achievement, See also: accomplishment, fulfillment, attainment, Syn. การประสบผลสำเร็จ, การประสบความสำเร็จ, การสำเร็จ, Example: การบรรลุเป้าหมายของงานเป็นสิ่งยืนยันถึงความพยายามของพวกเรา, Thai Definition: การสำเร็จดังเป้าหมายที่ตั้งไว้

พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔
ตั้งเข็ม, ตั้งเป้าหมายก. กำหนดจุดมุ่งหมาย เช่น ล้าต้าต้นหนก็มุ่งมอง ตั้งเข็มส่องกล้องสลัด (ม. ร่ายยาว กุมาร).
เป้าหมายน. บุคคลหรือสิ่งที่ใช้เป็นเป้าแห่งการโจมตี หรือเป็นศูนย์กลางแห่งความใส่ใจหรือสังเกต
เป้าหมายความมุ่งหมายเจาะจงให้ได้ตามเจตนา เช่น การขายข้าวในปีนี้มีเป้าหมายให้ได้เกินหกแสนตัน.
ขีปนาวุธ(ขีปะ-) น. อาวุธซึ่งถูกส่งออกไปจากผิวพิภพเพื่อใช้ประหัตประหารหรือทำลายในการสงคราม โดยมีการบังคับวิถีในตัวเองเพื่อนำไปสู่เป้าหมาย การบังคับวิถีนี้บังคับเฉพาะตอนขึ้นเท่านั้น มีหลายชนิด เช่น ขีปนาวุธข้ามทวีป.
ตรง, ตรง ๆถูกต้องตาม เช่น ตรงเป้าหมาย.
พุ่งหอกเข้ารกก. ทำพอให้เสร็จไปโดยไม่มีเป้าหมายหรือโดยไม่คำนึงว่าใครจะเดือดร้อน.
รณรงค์ก. ต่อสู้, โฆษณาชักชวนอย่างต่อเนื่องโดยมีเจตนาที่จะต่อสู้เพื่อให้บรรลุเป้าหมายตามที่ต้องการ เช่น รณรงค์หาเสียงในการเลือกตั้ง รณรงค์ให้คนไทยใช้ของไทย.
ล็อก ๒น. ความคาดหมายหรือเป้าหมายที่กำหนดไว้ เช่น เรื่องนี้เป็นไปตามล็อก.
ละเลาะละลองค่อยเป็นค่อยไปจนกว่าจะบรรลุถึงเป้าหมาย.
เล็งปืนก. ใช้สายตากำหนดเป้าหมายที่จะยิงเพื่อให้แม่น.
ส่งก. ทำให้สิ่งใดสิ่งหนึ่งเคลื่อนพ้นจากที่หนึ่งไปยังอีกที่หนึ่ง เพื่อให้ถึงผู้รับหรือเป้าหมายด้วยอาการต่าง ๆ กัน เช่น ส่งข้าม ส่งผ่าน ส่งต่อ
อุดมการณ์(อุดมมะ-, อุดม-) น. หลักการที่วางระเบียบไว้เป็นแนวปฏิบัติเพื่อให้บรรลุเป้าหมายที่กำหนดไว้.
อุดมคติ(อุดมมะ-, อุดม-) น. จินตนาการที่ถือว่าเป็นมาตรฐานแห่งความดี ความงาม และความจริง ทางใดทางหนึ่งที่มนุษย์ถือว่าเป็นเป้าหมายแห่งชีวิตของตน.

ศัพท์บัญญัติราชบัณฑิตยสถาน
target languageภาษาเป้าหมาย [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
target populationประชากรเป้าหมาย [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕]
target riskภัยเป้าหมาย [ประกันภัย ๒ มี.ค. ๒๕๔๕]

คลังศัพท์ไทย (สวทช.)
Equity-loan target ratioเป้าหมายอัตราส่วนของทุนต่อเงินกู้ [เศรษฐศาสตร์]
Radiotherapyรังสีรักษา, การบำบัดด้วยรังสี, การใช้รังสีชนิดก่อไอออนบำบัดรักษาโรค มี 4 วิธี คือ <br> 1. การฉายรังสีไปยังอวัยวะเป้าหมาย (Teletherapy) เช่น ต่อมน้ำเหลือง กล่องเสียง ปอด โดยใช้รังสีเอกซ์จากเครื่องเร่งอิเล็กตรอนเชิงเส้น หรือใช้รังสีแกมมาจากต้นกำเนิดรังสีโคบอลต์-60</br> <br> 2. การฝังสารกัมมันตรังสี ในเนื้อเยื่อหรือโพรงอวัยวะ (Brachy therapy) เช่น ปากมดลูก และช่องปาก โดยใช้ซีเซียม-137, อิริเดียม-192 หรือ ทอง-198</br> <br> 3. การให้สารกัมมันตรังสีทางปาก เช่น การรับประทานสารประกอบไอโอดีน-131 (Na<sup>131I</sup>) เพื่อรักษามะเร็งต่อมไทรอยด์</br> <br> 4. การฉีดสารกัมมันตรังสีทางเส้นเลือด เช่น สารประกอบไอโอดีน-131 (Lipiodol-<sup>131</sup>I) ใช้รักษามะเร็งตับ</br> [นิวเคลียร์]
Radiation therapyรังสีรักษา, การบำบัดด้วยรังสี, การใช้รังสีชนิดก่อไอออนบำบัดรักษาโรค มี 4 วิธี คือ <br> 1. การฉายรังสีไปยังอวัยวะเป้าหมาย (Teletherapy) เช่น ต่อมน้ำเหลือง กล่องเสียง ปอด โดยใช้รังสีเอกซ์จากเครื่องเร่งอิเล็กตรอนเชิงเส้น หรือใช้รังสีแกมมาจากต้นกำเนิดรังสีโคบอลต์-60</br> <br> 2. การฝังสารกัมมันตรังสี ในเนื้อเยื่อหรือโพรงอวัยวะ (Brachy therapy) เช่น ปากมดลูก และช่องปาก โดยใช้ซีเซียม-137, อิริเดียม-192 หรือ ทอง-198</br> <br> 3. การให้สารกัมมันตรังสีทางปาก เช่น การรับประทานสารประกอบไอโอดีน-131 (Na<sup>131I</sup>) เพื่อรักษามะเร็งต่อมไทรอยด์</br> <br> 4. การฉีดสารกัมมันตรังสีทางเส้นเลือด เช่น สารประกอบไอโอดีน-131 (Lipiodol-<sup>131</sup>I) ใช้รักษามะเร็งตับ</br> [นิวเคลียร์]
Remote sensingการสำรวจระยะทางไกล, การบันทึกหรือการได้มาซึ่งข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับวัตถุ พื้นที่เป้าหมายด้วยอุปกรณ์บันทึกข้อมูล (sensor) จากระยะไกล โดยทั่วไปมักจะหมายถึงดาวเทียมถ่ายภาพวัตถุบนพื้นโลกซึ่งจะสามารถวัดสี ความร้อน ความเคลื่อนไหวของสิ่งต่างๆ บนพื้นผิวโลกได้ [Assistive Technology]
Aims and objectivesเป้าหมายและวัตถุประสงค์ [TU Subject Heading]
Goal (Psychology)เป้าหมาย (จิตวิทยา) [TU Subject Heading]
Goal setting in personnel managementการตั้งเป้าหมายในการบริหารงานบุคคล [TU Subject Heading]
Target marketingการตลาดเป้าหมาย [TU Subject Heading]
Amnesty Internationalองค์การนิรโทษกรรมสากล องค์การนี้เริ่มต้นจากเป็นขบวนการเล็ก ๆ ก่อน เพื่อทำหน้าที่ประท้วง (Protest) แต่ภายในเวลาไม่นานนัก ได้ขยายตัวออกเป็นองค์การ เพื่อให้สมกับเป้าหมายและภารกิจที่ต้องปฏิบัติเพิ่มขึ้นมากมาย คติดั้งเดิมของการรณรงค์ระหว่างประเทศเพื่อสนับสนุนบรรดาบุคคลที่ต้องถูกคุม ขังอยู่ทั่วโลก ด้วยข้อหาเกี่ยวกับความเชื่อถือทางการเมืองและการศาสนานั้น ได้บังเกิดจากความคิดของบุคคลหนึ่งชื่อปีเตอร์ เบเนนสันปีเตอร์ เบเนนสัน ได้เขียนบทความลงในหนังสือพิมพ์ประจำวันอาทิตย์ของอังกฤษชื่อ Sunday Observer เมื่อเดือนพฤษภาคม ค.ศ. 1961 โดยให้หัวเรื่องบทความว่า ?นักโทษที่ถูกลืม? (The Forgotten Prisoners) บทความนี้ได้ประทับใจมติมหาชนทั่วโลกทันที และภายในปีเดียว องค์การได้รับเรื่องร้องเรียนในนามของนักโทษกว่า 200 รายองค์การนิรโทษกรรมสากลมีเป้าหมายนโยบายกว้างๆ อยู่ 3 ข้อ คือ ต้องการให้ปล่อยนักโทษผู้มีนโนธรรม (Prisoners of Conscience) ทั้งหมด ให้มีการยุติการทรมานนักโทษไม่ว่าด้วยวิธีใดๆ รวมทั้งการลงโทษประหารชีวิตและให้มีการพิจารณาพิพากษาคดีนักโทษการเมืองทั้ง หมดอย่างเป็นธรรมและไม่รอช้า องค์การนี้นอกจากจะมีชื่อเสียงว่าเป็นผู้ดำรงความเป็นกลางไม่เข้ากับฝ่ายใด และเป็นที่น่าเชื่อถือไว้วางใจได้อย่างแท้จริงแล้ว ยังเป็นเสมือนศูนย์ข้อมูลและข้อสนเทศที่สำคัญ ซึ่งบรรดาบุคคลสำคัญๆ ทางการเมืองทั่วโลกได้ใช้อ้างอิงอีกด้วยในปัจจุบัน องค์การนิรโทษกรรมมีสมาชิกและผู้สนับสนุนเป็นจำนวนกว่า 1 ล้านคน จากประเทศต่างๆ กว่า 150 ประเทศ องค์การอยู่ภายใต้การบริหารของคณะกรรมการบริหารจำนวน 9 คน รวมทั้งตัวเลขาธิการอีกผู้หนึ่ง ทำหน้าที่ปฏิบัติให้เป็นไปตามข้อมติเกี่ยวกับนโยบาย และเป็นหัวหน้าของสำนักเลขาธิการขององค์การด้วย มีสำนักงานใหญ่ตั้งอยู่ ณ กรุงลอนดอน ประเทศอังกฤษ องค์การมีผู้แทนของตนประจำอยู่กับองค์การสหประชาชาติ เมื่อปี ค.ศ. 1978 ได้รับรางวัลเกี่ยวกับสิทธิมนุษยชนของสหประชาชาติ และในปี ค.ศ. 1977 ก็ได้รับรางวัลสันติภาพโนเบลมาแล้ว [การทูต]
Asia Pacific Economic Cooperationความร่วมมือทางเศรษฐกิจในเอเชีย-แปซิฟิก " เป็นกระบวนการความร่วมมือทางเศรษฐกิจ ก่อตั้งเมื่อปี พ.ศ. 2532 มีเป้าหมายในการเปิดการค้าเสรีและการลงทุน ภายในปี พ.ศ. 2553 สำหรับสมาชิกพัฒนาแล้ว และปี พ.ศ. 2563 สำหรับสมาชิกกำลังพัฒนา ขณะนี้มีสมาชิกประกอบด้วย ออสเตรเลีย บรูไน ดารุสซาลาม แคนาดา ชิลี จีน ฮ่องกง อินโดนีเซีย ญี่ปุ่น สาธารณรัฐเกาหลี มาเลเซีย เม็กซิโก นิวซีแลนด์ ปาปัวนิวกีนี เปรู ฟิลิปปินส์ รัสเซีย สิงคโปร์ จีนไทเป ไทย สหรัฐอเมริกา และเวียดนาม โดยประเทศไทยเป็นสมาชิกก่อตั้ง " [การทูต]
ASEAN Charterกฎบัตรอาเซียน เป็นความตกลงระหว่างประเทศสมาชิกอาเซียน ที่จะให้สถานะทางกฎหมายหรือนิติฐานะแก่อาเซียน และวางกรอบโครงสร้างองค์กรใหม่เพื่อทำให้อาเซียนเป็นหน่วยงานที่ยึดมั่นมาก ยิ่งขึ้นต่อกติกาและกฏเกณฑ์ต่าง ๆ ที่ประเทศสมาชิกร่วมกันกำหนดขึ้น อันจะนำมาซึ่งการเป็นองค์กรที่มีประสิทธิภาพและประสิทธิผลมากยิ่งขึ้น นอกจากนี้ กฎบัตรอาเซียนยังมีเป้าหมายเพื่อเปลี่ยนให้อาเซียนเป็นองค์กรที่มีประชาชน เป็นศูนย์กลางของความร่วมมือมากยิ่งขึ้นด้วยการจัดตั้งองค์กรใหม่ๆ เพื่อปกป้องและส่งเสริมผลประโยชน์ของประชาชนอาเซียน เช่น องค์กรสิทธิมนุษยชนอาเซียน เป็นต้น ทั้งนี้ ผู้นำประเทศสมาชิกอาเซียนทั้ง 10 ประเทศ ได้ร่วมลงนามกฎบัตรฯ เมื่อวันที่ 20 พฤศจิกายน พ.ศ. 2550 และเริ่มมีผลบังคับใช้เมื่อวันที่ 15 ธันวาคม พ.ศ. 2551 [การทูต]
Convention on Prohibitions or Restrictions on the Use od Certain Conventional Weapons Which May Be Deemed to Be Excessively InjuConvention on Prohibitions or Restrictions on the Use od Certain Conventional Weapons Which May Be Deemed to Be Excessively Injurious or to Have Indiscriminate Effects = อนุสัญญาห้ามอาวุธตามแบบบางชนิดที่ก่อให้เกิดการบาด เจ็บร้ายแรงเกินความจำเป็นหรือก่อให้เกิดลโดยไม่จำกัดเป้าหมาย มีสาระสำคัญเกี่ยวกับการห้ามหรือหารจำกัดการใช้อาวุธตามแบบบางชนิดที่ก่อให้ เกิดผลกระทบร้ายแรงด้านมนุษยธรรม โดยสาระสำคัญของการ คอบคุมอาวุธตามแบบแต่ละชนิดจะถูกกำหนดไว้ในพิธีสารแต่ละฉบับต่างหาก ซึ่งในชั้นนี้ มีพิธีสาร 5 ฉบับ และรัฐต่างๆ สามารถเลือกยอมรับพิธีสารต่อท้ายอนุสัญญาฯ ฉบับใดก็ได้อย่างน้อยจำนวน 2 ฉบับ [การทูต]
Cluster munitionsระเบิดพวง เป็นลูกระเบิดชนิดที่ปล่อยจากเครื่องบินหรือลูกกระสุน ปืนใหญ่ที่ภายในบรรจุลูกระเบิดขนาดเล็ก (submunition) ไว้จำนวนมาก อาจมีจำนวนถึงหลายร้อยลูก ซึ่งจะระเบิดกลางอากาศและปล่อยลูกระเบิดขนาดเล็ก และสะเก็ดระเบิดกระจายเป็นวงกว้าง มีอัตราความคลาดเคลื่อนผิดพลาดจากเป้าหมายสูงและบางครั้งอาจไม่ระเบิดใน ทันที และตกค้างบนพื้นดิน ซึ่งมีผลทำลายล้างเหมือนกับทุ่นระเบิด [การทูต]
Convention on Cluster Munitionsอนุสัญญาว่าด้วยระเบิดพวง มีสาระสำคัญคือ การห้ามใช้ สะสม ผลิตและโอนรวมทั้งต้องทำลายระเบิดพวง โดยมีการยกเว้นระเบิดพวงบางประเภทที่มีความแม่นยำต่อเป้าหมายและมีอัตรา ความเสี่ยงต่ำ โดยเปิดให้ลงนามอนุสัญญาฯ เมื่อวันที่ 3 ธันวาคม พ.ศ. 2551 ณ กรุงออสโล ประเทศนอร์เวย์เป็นต้นไป และจะมีผลบังคับใช้วันแรก ของเดือนที่หกหลังจากที่ 30 ประเทศ ได้ให้สัตยาบัน [การทูต]
Drug-Free ASEANอาเซียนที่ปลอดจากยาเสพติด เป็นคำประกาศของอาเซียนในระหว่างการประชุมรัฐมนตรีต่างประเทศอาเซียน สมัยที่ 31 ที่กรุงมะนิลา เมื่อเดือนกรกฎาคม 2541 โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อที่จะร่วมกันแก้ไขปัญหายาเสพติดด้วยการตั้งเป้าหมาย ที่จะทำให้ภูมิภาคนี้ปลอดจากยาเสพติดในปี พ.ศ. 2563 และต่อมา ที่ประชุมรัฐมนตรีต่างประเทศอาเซียน สมัยที่ 33 ที่กรุงเทพฯ เมื่อเดือนกรกฎาคม 2543 ได้ประกาศร่นกำหนดเวลาดังกล่าวให้เร็วขึ้น 5 ปี จากเดิมในปี พ.ศ. 2563 เป็นปี พ.ศ. 2558 [การทูต]
European Unionสหภาพยุโรป สหภาพยุโรปได้มีวิวัฒนาการมาเป็นลำดับ นับแต่การก่อตั้งประชาคมถ่านหินและเหล็กกล้า (European Coal and Steal Community) ในปี พ.ศ. 2494 ต่อมาในปี พ.ศ. 2500 ได้มีการจัดทำสนธิสัญญากรุงโรม (Treaty of Rome) ได้มีการก่อตั้งประชาคมเศรษฐกิจยุโรป (European Economic Community : EEC) และประชาคมพลังงานปรมาณู (Euratom) ในช่วงเวลานั้นจึงเรียกชื่อกันว่าประชาคมเศรษฐกิจยุโรป (EEC) ต่อมาได้มีการรวม 3 ประชาคมเข้าด้วยกันและได้มีกฎหมายยุโรปตลาดเดียว (Single European Act) ซึ่งมีผลบังคับใช้ในปี พ.ศ. 2530 เพื่อให้ประชาคมเศรษฐกิจยุโรปเข้าสู่ขั้นตอนการเป็นตลาดร่วมและตลาดเดียวที่ สมบูรณ์ในปี พ.ศ. 2535 ดังนั้นในทางปฏิบัติจึงเปลี่ยนมาเรียกชื่อเป็นประชาคมยุโรป (European Communities : EC) ตั้งแต่ พ.ศ. 2530 ต่อมาเมื่อสนธิสัญญามาสทริชท์ (Maastricht Treaty) มีผลบังคับใช้เมื่อวันที่ 1 พฤศจิกายน 2536 ซึ่งได้กำหนดเป้าหมายและขั้นตอนให้ประชาคมยุโรปพัฒนาไปสู่การเป็นสหภาพยุโรป จึงได้เปลี่ยนมาเรียกชื่อในทางปฏิบัติว่า สหภาพยุโรป (European Union : EU) ตั้งแต่ พ.ศ. 2536 เป็นต้นมา ปัจจุบันมีสมาชิก 15 ประเทศ ได้แก่ สหราชอาณาจักร ฝรั่งเศส เยอรมนี อิตาลี สเปน โปรตุเกส เนเธอร์แลนด์ เบลเยี่ยม ลักเซมเบิร์ก เดนมาร์ก สวีเดน ไอร์แลนด์ กรีซ ฟินแลนด์ ออสเตรีย [การทูต]
Forum for East Asia - Latin America Cooperationเวทีความร่วมมือระหว่างเอเชียตะวันออกและลาตินอเม ริกา สมาชิก 32 ประเทศ จากภูมิภาคเอเชียและลาตินอเมริกา โดยมีสมาชิก จากฝ่ายเอเชีย 15 ประเทศ คือ กลุ่ม ASEAN (10 ประเทศ) จีน สาธารณรัฐเกาหลี ญี่ปุน ออสเตรเลีย และนิวซีแลนด์ และจากฝ่ายลาตินอเมริกา 17 ประเทศ ได้แก่ เม็กซิโก กัวเตมาลา เอลซัลวาดอร์ คอสตาริกา นิการากัว คิวบา ปานามา เปรู โคลอมเบีย เวเนซุเอลา บราซิล โบลิเวีย เอกวาดอร์ ปารากวัย อุรุกวัย อาร์เจนตินา และชิลี วัตถุประสงค์ จัดตั้งเมื่อปี พ.ศ. 2542 มีการประชุมระดับรัฐมนตรีต่าง -ประเทศทุก 2 ปี ระดับเจ้าหน้าที่อาวุโส ปีละ 2 ครั้ง และคณะทำงาน 3 คณะ ปีละ 2 ครั้ง (คณะทำงานด้านการเมือง วัฒนธรรม และการศึกษา / ด้านเศรษฐกิจและสังคม / และด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เป็นเวทีปรึกษาหารือและร่วมมือกันอย่างไม่เป็นทางการระหว่างประเทศเอเชียและ ลาตินอเมริกา โดยมีเป้าหมายไปที่การดำเนินโครงการความร่วมมือในทุกสาขาที่ประเทศสมาชิกมี ความสนใจร่วมกัน [การทูต]
food securityความมั่นคงทางด้านอาหาร หมายถึง การที่ประชากรโลกมีอาหารเพียงพอกับความต้องการ (availibility) มีเสถียรภาพ (stability) และสามารถเข้าถึงได้ (accessibility) แนวความคิดเรื่องความมั่นคงทางด้านอาหารนี้ เป็นผลสืบเนื่องมาจากการรับรองปฏิญญากรุงโรม ของที่ประชุมสุดยอด อาหารโลก เมื่อเดือนพฤศจิกายน 2539 ซึ่งมีวัตถุประสงค์ที่จะขจัดความหิวโหย และลดปัญหาทุโภชนาการของประชากรโลก โดยตั้งเป้าหมายที่จะลดจำนวนประชากรที่ขาดอาหารให้เหลือครึ่งหนึ่งจากที่มี อยู่ในปัจจุบัน ภายในปี พ.ศ. 2558 [การทูต]
Forward Engagementการทูตเชิงรุก ยุทธศาสตร์กรอบใหญ่ในนโยบายต่างประเทศของไทย ที่มีเป้าหมายที่จะขยายกรอบความร่วมมือให้ครอบคลุมทุกมิติความร่วมมือกับ ต่างประเทศ รวมทั้งการส่งเสริมและกระชับความสัมพันธ์กับทุกประเทศทั่วโลก เพื่อสันติภาพที่ยั่งยืนและความรุ่งเรืองทางเศรษฐกิจสำหรับประชาคมโลก [การทูต]
Free Trade Areaเขตการค้าเสรี การรวมกลุ่มเศรษฐกิจโดยมีเป้าหมายเพื่อลดภาษีศุลกากร ระหว่างกันภายในกลุ่มลงให้เหลือน้อยที่สุด หรือเป็น 0% และใช้อัตราภาษีปกติที่สูงกว่ากับประเทศนอกกลุ่ม [การทูต]
Free Trade Area of the Americasเขตการค้าเสรีแห่งทวีปอเมริกา " ประกอบด้วยประเทศสมาชิกทั้งหมดขององค์การรัฐอเมริกัน (Organization of American States หรือ OAS) ยกเว้นประเทศคิวบา มีเป้าหมายที่จะจัดตั้งให้สำเร็จในปี พ.ศ. 2548 (OAS มีสมาชิกทั้งหมด 35 ประเทศ ประกอบด้วย สหรัฐอเมริกา แคนาดา เม็กซิโก อาร์เจนตินา โบลิเวีย บราซิล ชิลี โคลัมเบีย คอสตาริกา คิวบา โดมินิกัน เอกวาดอร์ เอลซัลวาดอร์ กัวเตมาลา เฮติ ฮอนดูรัส นิการากัว ปานามา ปารากวัย อุรุกวัย เวเนซุเอลา แอนติกัวและบาร์บูดา เซนต์วินเซนต์และเกรนาดีนส์ จาเมกา บาร์เบโดส เกรนาดา สุรินาเม โดมินิกา เซนต์ลูเซีย บาฮามาส เซนต์คิดตส์และเนวิส เบลิซ กายอานา ตรินิแดดและโตบาโก) " [การทูต]
Gorbachev doctrineนโยบายหลักของกอร์บาชอฟ เป็นศัพท์ที่สื่อมวลชนของประเทศฝ่ายตะวันตกบัญญัติขึ้น ในตอนที่กำลังมีการริเริ่มใหม่ๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง เกี่ยวกับนโยบายต่างประเทศของโซเวียตในด้านความร่วมมือระหว่างประเทศอภิมหา อำนาจตั้งแต่ ค.ศ. 1985 เป็นต้นมา ภายใต้การนำของ นายมิคาอิล กอร์บาชอฟ ในระยะนั้น โซเวียตเริ่มเปลี่ยนทิศทางของสังคมภายในประเทศใหม่ โดยยึดหลักกลาสนอสต์ (Glasnost) ซึ่งหมายความว่า การเปิดกว้าง รวมทั้งหลักเปเรสตรอยก้า (Perestroika) อันหมายถึงการปรับเปลี่ยนโครงสร้างใหม่ในช่วงปี ค.ศ. 1985 ถึง 1986 บุคคลสำคัญชั้นนำของโซเวียตผู้มีอำนาจในการตัดสินใจนี้ ได้เล็งเห็นและสรุปว่าการที่ประเทศพยายามจะรักษาสถานภาพประเทศอภิมหาอำนาจ และครองความเป็นใหญ่ในแง่อุดมคติทางการเมืองของตนนั้นจำต้องแบกภาระทาง เศรษฐกิจอย่างหนักหน่วง แต่ประโยชน์ที่จะได้จริง ๆ นั้นกลับมีเพียงเล็กน้อย เขาเห็นว่า แม้ในสมัยเบรสเนฟ ซึ่งได้เห็นความพยายามอันล้มเหลงโดยสิ้นเชิงของสหรัฐฯ ในสงครามเวียดนาม การปฏิวัติทางสังคมนิยมที่เกิดขึ้นในแองโกล่า โมซัมบิค และในประเทศเอธิโอเปีย รวมทั้งกระแสการปฏิวัติทวีความรุนแรงยิ่งขึ้นในแถบประเทศละตินอเมริกา ก็มิได้ทำให้สหภาพโซเวียตได้รับประโยชน์ หรือได้เปรียบอย่างเห็นทันตาแต่ประการใด แต่กลับกลายเป็นภาระหนักอย่างยิ่งเสียอีก แองโกล่ากับโมแซมบิคกลายสภาพเป็นลูกหนี้อย่างรวดเร็ว เอธิโอเปียต้องประสบกับภาวะขาดแคลนอาหารอย่างสาหัส และการที่โซเวียตใช้กำลังทหารเข้ารุกรานประเทศอัฟกานิสถานเมื่อปี ค.ศ. 1979 ทำให้ระบบการทหารและเศรษฐกิจของโซเวียตต้องเครียดหนักยิ่งขึ้น และการเกิดวิกฤตด้านพลังงาน (Energy) ในยุโรปภาคตะวันออกระหว่างปี ค.ศ. 1984-1985 กลับเป็นการสะสมปัญหาที่ยุ่งยากมากขึ้นไปอีก ขณะเดียวกันโซเวียตตกอยู่ในฐานะต้องพึ่งพาอาศัยประเทศภาคตะวันตกมากขึ้นทุก ขณะ ทั้งในด้านวิชาการทางเทคโนโลยี และในทางโภคภัณฑ์ธัญญาหารที่จำเป็นแก่การดำรงชีวิตของพลเมืองของตน ยิ่งไปกว่านั้น การที่เกิดการแข่งขันกันใหม่ด้านอาวุธยุทโธปกรณ์กับสหรัฐอเมริกา โดยเฉพาะแผนยุทธการของสหรัฐฯ ที่เรียกว่า SDI (U.S. Strategic Defense Initiative) ทำให้ต้องแบกภาระอันหนักอึ้งทางการเงินด้วยเหตุนี้โซเวียตจึงต้องทำการ ประเมินเป้าหมายและทิศทางการป้องกันประเทศใหม่ นโยบายหลักของกอร์บาซอฟนี่เองทำให้โซเวียตต้องหันมาญาติดี รวมถึงทำความตกลงกับสหรัฐฯ ในรูปสนธิสัญญาว่าด้วยกำลังนิวเคลียร์ในรัศมีปานกลาง (Intermediate Range Force หรือ INF) ซึ่งได้ลงนามกันในกรุงวอชิงตันเมื่อปี ค.ศ. 1987เหตุการณ์นี้ถือกันว่าเป็นมาตรการที่มีความสำคัญที่สุดในด้านการควบคุม ยุทโธปกรณ์ตั้งแต่เริ่มสงครามเย็น (Cold War) ในปี ค.ศ. 1946 เป็นต้นมา และเริ่มมีผลกระทบต่อทิศทางในการที่โซเวียตเข้าไปพัวพันกับประเทศ อัฟกานิสถาน แอฟริกาภาคใต้ ภาคตะวันออกกลาง และอาณาเขตอ่าวเปอร์เซีย กอร์บาชอฟถึงกับประกาศยอมรับว่า การรุกรานประเทศอัฟกานิสถานเป็นการกระทำที่ผิดพลาด พร้อมทั้งถอนกองกำลังของตนออกไปจากอัฟกานิสถานเมื่อปี ค.ศ. 1989 อนึ่ง เชื่อกันว่าการที่ต้องถอนทหารคิวบาออกไปจากแองโกล่า ก็เป็นเพราะผลกระทบจากนโยบายหลักของกอร์บาชอฟ ซึ่งได้เปลี่ยนท่าทีและบทบาทใหม่ของโซเวียตในภูมิภาคตอนใต้ของแอฟริกานั้น เอง ส่วนในภูมิภาคตะวันออกกลาง นโยบายหลักของกอร์บาชอฟได้เป็นผลให้ นายเอ็ดวาร์ด ชวาดนาเซ่ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ซึ่งเป็นผู้ที่ได้รับการแต่งตั้งจากนายกอร์บาชอฟ เริ่มแสดงสันติภาพใหม่ๆ เช่น ทำให้โซเวียตกลับไปรื้อฟื้นสัมพันธภาพทางการทูตกับประเทศอิสราเอล ทำนองเดียวกันในเขตอ่าวเปอร์เซีย โซเวียตก็พยายามคืนดีด้านการทูตกับประเทศอิหร่าน เป็นต้นการเปลี่ยนทิศทางใหม่ทั้งหลายนี้ ถือกันว่ายังผลให้มีการเปลี่ยนแปลงนโยบายภายในประเทศทั้งด้านเศรษฐกิจและ ด้านสังคมของโซเวียต อันสืบเนื่องมาจากนโยบาย Glasnost and Perestroika ที่กล่าวมาข้างต้นนั่นเองในที่สุด เหตุการณ์ทั้งหลายเหล่านี้ก็ได้นำไปสู่การล่มสลายอย่างกะทันหันของสหภาพ โซเวียตเมื่อปี ค.ศ. 1991 พร้อมกันนี้ โซเวียตเริ่มพยายามปรับปรุงเปลี่ยนแปลง รวมทั้งปรับโครงสร้างทางเศรษฐกิจการเมืองของประเทศให้ทันสมัยอย่างขนานใหญ่ นำเอาทรัพยากรที่ใช้ในด้านการทหารกลับไปใช้ในด้านพลเรือน พฤติกรรมเหล่านี้ทำให้เกิดจิตใจ (Spirit) ของการเป็นมิตรไมตรีต่อกัน (Détente) ขึ้นใหม่ในวงการการเมืองโลก เห็นได้จากสงครามอ่าวเปอร์เซีย ซึ่งโซเวียตไม่เล่นด้วยกับอิรัก และหันมาสนับสนุนอย่างไม่ออกหน้ากับนโยบายของประเทศฝ่ายสัมพันธมิตรนัก วิเคราะห์เหตุการณ์ต่างประเทศหลายคนเห็นพ้องต้องกันว่า การที่เกิดการผ่อนคลาย และแสวงความเป็นอิสระในยุโรปภาคตะวันออกอย่างกะทันหันนั้น เป็นผลจากนโยบายหลักของกอร์บาชอฟโดยตรง คือเลิกใช้นโยบายของเบรสเนฟที่ต้องการให้สหภาพโซเวียตเข้าแทรกแซงอย่างจริง จังในกิจการภายในของกลุ่มประเทศยุโรปตะวันออก กระนั้นก็ยังมีความรู้สึกห่วงใยกันไม่น้อยว่า อนาคตทางการเมืองของกอร์บาชอฟจะไปได้ไกลสักแค่ไหน รวมทั้งความผูกพันเป็นลูกโซ่ภายในสหภาพโซเวียตเอง ซึ่งยังมีพวกคอมมิวนิสต์หัวรุนแรงหลงเหลืออยู่ภายในประเทศอีกไม่น้อย เพราะแต่เดิม คณะพรรคคอมมิวนิสต์ในสหภาพโซเวียตนั้น เป็นเสมือนจุดรวมที่ทำให้คนสัญชาติต่าง ๆ กว่า 100 สัญชาติภายในสหภาพ ได้รวมกันติดภายในประเทศที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในโลก คือมีพื้นที่ประมาณ 1 ใน 6 ส่วนของพื้นที่โลก และมีพลเมืองทั้งสิ้นประมาณ 280 ล้านคนจึงสังเกตได้ไม่ยากว่า หลังจากสหภาพโซเวียตล่มสลายไปแล้ว พวกหัวเก่าและพวกที่มีความรู้สึกชาตินิยมแรง รวมทั้งพลเมืองเผ่าพันธุ์ต่างๆ เกิดความรู้สึกไม่สงบ เพราะมีการแก่งแย่งแข่งกัน บังเกิดความไม่พอใจกับภาวะเศรษฐกิจที่ตนเองต้องเผชิญอยู่ จึงเป็นสาเหตุที่ทำให้จักรวรรดิของโซเวียตต้องแตกออกเป็นส่วน ๆ เช่น มีสาธารณรัฐที่มีอำนาจ ?อัตตาธิปไตย? (Autonomous) หลายแห่ง ต้องการมีความสัมพันธ์ในรูปแบบใหม่กับรัสเซีย เช่น สาธารณรัฐยูเกรน ไบโลรัสเซีย มอลดาเวีย อาร์เมเนีย และอุสเบคิสถาน เป็นต้น แต่ก็เป็นการรวมกันอย่างหลวม ๆ มากกว่า และอธิปไตยที่เป็นอยู่ขณะนี้ดูจะเป็นอธิปไตยที่มีขอบเขตจำกัดมากกว่าเช่นกัน โดยเฉพาะสาธารณรัฐมุสลิมในสหภาพโซเวียตเดิม ซึ่งมีพลเมืองรวมกันเกือบ 50 ล้านคน ก็กำลังเป็นปัญหาต่อเชื้อชาติสลาฟ และการที่พวกมุสลิมที่เคร่งครัดต่อหลักการเดิม (Fundamentalism) ได้เปิดประตูไปมีความสัมพันธ์อันดีกับประะเทศอิหร่านและตุรกีจึงทำให้มีข้อ สงสัยและครุ่นคิดกันว่า เมื่อสหภาพโซเวียตแตกสลายออกเป็นเสี่ยง ๆ ดังนี้แล้ว นโยบายหลักของกอร์บาชอฟจะมีทางอยู่รอดต่อไปหรือไม่ ซึ่งเป็นเรื่องที่ถกเถียงและอภิปรายกันอยู่พักใหญ่และแล้ว เมื่อวันที่ 19 สิงหาคม ค.ศ. 1991 ก็ได้เกิดความพยายามที่จะถอยหลังเข้าคลอง คือกลับนโยบายผ่อนเสรีของ Glasnost และ Perestroika ทั้งภายในประเทศและภายนอกประเทศโดยมีผุ้ที่ไม่พอใจได้พยายามจะก่อรัฐประหาร ขึ้นต่อรัฐบาลของนายกอร์บาชอฟ แม้การก่อรัฐประหารซึ่งกินเวลาอยู่เพียงไม่กี่วันจะไม่ประสบผลสำเร็จ แต่เหตุการณ์นี้ก่อให้เกิดผลสะท้อนลึกซึ้งมาก คือเป็นการแสดงว่า อำนาจของรัฐบาลกลางย้ายจากศูนย์กลางไปอยู่ตามเขตรอบนอกของประเทศ คือสาธารณรัฐต่างๆ ซึ่งก็ต้องประสบกับปัญหานานัปการ จากการที่ประเทศเป็นภาคีอยู่กับสนธิสัญญาระหว่างประเทศต่างๆ โดยเฉพาะความตกลงเกี่ยวกับการควบคุมอาวุธยุทโธปกรณ์ ซึ่งสหภาพโซเวียตเดิมได้ลงนามไว้หลายฉบับผู้นำของสาธารณรัฐที่ใหญ่ที่สุดคือ นายบอริส เยลท์ซินได้ประกาศว่า สหพันธ์รัฐรัสเซียยังถือว่า พรมแดนที่เป็นอยู่ขณะนี้ย่อมเปลี่ยนแปลงแก้ไขได้ ไม่ใช่เป็นสิ่งที่จะแก้ไขเสียมิได้และในสภาพการณ์ด้านต่างประทเศที่เป็นอยู่ ในขณะนี้ การที่โซเวียตหมดสภาพเป็นประเทศอภิมหาอำนาจ ทำให้โลกกลับต้องประสบปัญหายากลำบากหลายอย่าง โดยเฉพาะอย่างยิ่งปัญหาเศรษฐกิจระหว่างสาธารณรัฐต่างๆ ที่เคยสังกัดอยู่ในสหภาพโซเวียตเดิม จึงเห็นได้ชัดว่า สหภาพโซเวียตเดิมได้ถูกแทนที่โดยการรวมตัวกันระหว่างสาธารณรัฐต่างๆ อย่างหลวมๆ ในขณะนี้ คล้ายกับการรวมตัวกันระหว่างสาธารณรัฐภายในรูปเครือจักรภพหรือภายในรูป สมาพันธรัฐมากกว่า และนโยบายหลักของกอร์บาชอฟก็ได้ทำให้สหภาพโซเวียตหมดสภาพความเป็นตัวตนใน เชิงภูมิรัฐศาสตร์ (Geopolitics) [การทูต]
India-Brazil-South Africaเวทีเจรจาสามฝ่าย ระหว่างอินเดีย บราซิล และแอฟริกาใต้ มีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสิมความร่วมมือในกรอบใต้-ใต้ใน วงกว้าง เป้าหมายหลัก IBSA คือการส่งเสริมและขยายโอกาส ด้านการค้า การลงทุน การพัฒนาสังคม และการเลแกเปลี่ยนวัฒนธรรมระหว่างกัน [การทูต]
United Nations International Research and Training Institute for the Advancement of Womenสถาบันวิจัยและฝึกอบรมระหว่างประเทศเพื่อความก้าวหน้าของสตรีแห่งสหประชา ชาติ เป็นสถาบันที่ได้รับการสนับสนุนจากเงินบริจาคโดยสมัครใจจากประเทศสมาชิก มีเป้าหมายที่จะเร่งรัดและช่วยเหลือให้สตรีสามารถมีบทบาทอย่างแข็งขันและ อย่างเท่าเทียมกันในกระบวนการพัฒนา [การทูต]
Leaque of Arab States หรือ Arab Leaqueก่อตั้งเมื่อวันที่ 22 มีนาคม พ.ศ.2488 มีเป้าหมายทางการเมืองเป็นเป้าหมายหลัก คือ สร้างเอกภาพ รักษาและส่งเสริมผลประโยชน์อาหรับ รวมทั้งเป็นกลไก [การทูต]
Look West Policyนโยบายมองตะวันตก (ของไทย) เป็นแนวความคิดที่จะช่วยให้ประเทศไทยสามารถเผชิญกับการเปลี่ยนแปลงในทางการ เมืองและเศรษฐกิจระหว่างประเทศอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล โดยสอดคล้องกับความเป็นจริงของยุคหลังสงครามเย็น ประเทศเป้าหมาย ได้แก่ ประเทศต่าง ๆ ในเอเชียใต้ ตะวันออกกลาง และแอฟริกา [การทูต]
Madagascar Action Planแผนปฏิบัติการมาดากัสการ์ เป็นแผนพัฒนาประเทศมาดากัสการ์ที่เป็นรูปธรรมฉบับแรก นับตั้งแต่มาดากัสการ์ได้รับเอกราชจากฝรั่งเศส เมื่อวันที่ 26 มิถุนายน พ.ศ.2503 รัฐบาลมาดากัสการ์ ได้รับงบประมาณที่ใช้ดำเนินการ (ประมาณ 9 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ) มาจากแหล่งเงินทุนจากต่างประเทศและองค์การระหว่างประเทศ เป้าหมายหลักของ MAP ได้แก่ การพัฒนาระบบคมนาคม การพัฒนาชนบท การปรับปรุงระบบสาธารณสุข และการส่งเสริมบทบาทของภาคเอกชนในการพัฒนาเศรษฐกิจ [การทูต]
Millennium Development Goalsเป้าหมายการพัฒนาแห่งสหัสวรรษ [การทูต]
New Zealand's International Aid & Development Agenciesหน่วยงานความช่วยเหลือด้านการพัฒนาของนิวซีแลนด์ เป็นหน่วยงานที่จัดตั้งขึ้นใหม่แทน NZODA (New Zealand?s Official Development Assistance Program) เมื่อวันที่ 1 กรกฎาคม 2545 โดยเป็นหน่วยงานด้านนโนยายและปฏิบัติการให้ความช่วยเหลือด้าน การพัฒนา ลักษณะการดำเนินงานเป็นอิสระ แต่ยังขึ้นตรงต่อกระทรวงการต่างประเทศและการค้า นิวซีแลนด์ มีวัตถุประสงค์ในการให้ความช่วยเหลือแก่ประเทศกำลังพัฒนาและด้อยพัฒนา โดยมีเป้าหมายหลัก เพื่อขจัดความยากจน การพัฒนาการศึกษาขั้นมูลฐาน และเน้นการให้ความช่วยเหลือแก่ประเทศในภูมิภาคแปซิฟิกเป็นลำดับแรก [การทูต]
Team Thailandทีมประเทศไทย หมายถึง รูปแบบของการทำงานที่เป็นเอกภาพของหน่วยราชการไทยในการปกป้อง รักษา และส่งเสริมผลประโยชน์ของไทยในต่างประเทศ ตลอดจนเพื่อช่วยประหยัดงบประมาณ ขจัดความซ้ำซ้อน ลดการทำงานที่ไม่จำเป็นให้หมดไป และช่วยให้มีการประสานงานระหว่างหน่วยงานมากยิ่งขึ้น อันจะช่วยส่งเสริมประสิทธิภาพ และเพิ่มประสิทธิผลของการทำงาน แนวคิดเรื่องทีมประเทศไทยเป็นการสร้างวัฒนธรรมใหม่ในการทำงานของหน่วยงานไทย ในต่างประเทศ โดยเน้นให้ส่วนราชการและรัฐวิสาหกิจที่มีภารกิจในต่างประเทศทำงานร่วมกัน อย่างมีเอกภาพ ไม่ซ้ำซ้อน มีทิศทางเดียวกันเพื่อบรรลุวัตถุประสงค์และเป้าหมายร่วมกันบนพื้นฐานของแผน งานรวมที่เป็นเอกภาพ (unified work plan) มีสำนักงานที่เป็นเอกภาพ (unified structure) และมีกรอบการประสานงานที่เป็นเอกภาพ (unified command) โดยมีกระทรวงการต่างประเทศซึ่งรับผิดชอบภาพรวมของการดำเนินความสัมพันธ์กับ ต่างประเทศทำหน้าที่เป็นหัวหน้าทีมในการประสานงาน ทั้งนี้ เป็นไปตามนโยบายการปฏิรูประบบราชการในต่างประเทศ ซึ่งคณะรัฐมนตรีได้มีมติเห็นชอบเมื่อวันที่ 29 กันยายน 2541 [การทูต]
weapons of mass destructionอาวุธที่มีอานุภาพทำลายล้างสูง เป็นอาวุธที่มีอานุภาพทำลายมวลชน สัตว์ พืชและสิ่งของ โดยไม่อาจจำกัดหรือควบคุมเป้าหมายและความเสียหายที่จะเกิดขึ้นได้แน่ชัด ประกอบด้วยอาวุธเคมี อาวุธชีวะ และอาวุธนิวเคลียร์ [การทูต]
Millennium Development Goalsเป้าหมายการพัฒนาแห่งสหัสวรรษ [เศรษฐศาสตร์]
Activities, Purposefulกิจกรรมที่มีเป้าหมาย [การแพทย์]
Aimsเป้าหมาย [การแพทย์]
Cells, Targetเซลล์รูปเหมือนเป้ายิงธนู, เซลล์เป้าหมาย [การแพทย์]
Delivery Systemระบบการให้บริการให้ถึงกลุ่มเป้าหมาย [การแพทย์]
Designation Valueค่าเป้าหมาย [การแพทย์]
Endocrine Glands, Targetต่อมไร้ท่อเป้าหมาย [การแพทย์]
บริหารงานสุขภาพจิตบริหารงานสุขภาพจิต, มุมมองการดำเนินงานในแง่การบริหารงานสุขภาพจิตของบุคลากรสาธารณสุข และเครือข่ายที่กระทำต่อกลุ่มเป้าหมายต่าง ๆ โดยอาจสอดแทรกในการส่งเสริมสุขภาพจิต การป้องกันปัญหาสุขภาพจิต การบำบัดรักษาปัญหาสุขภาพจิตและจิตเวช และการฟื้นฟูสมรรถภาพสุขภาพจิต เพื่อให้บรรลุวัถุประ [สุขภาพจิต]
มิติงานสุขภาพจิตมิติงานสุขภาพจิต, มุมมองการดำเนินงานสุขภาพจิตของบุคลากรสาธารณสุขที่กระทำต่อกลุ่มเป้าหมาย ที่มีความเสี่ยงของปัญหาสุขภาพจิตและจิตเวช ประกอบด้วย การส่งเสริมสุขภาพจิต การป้องกันปัญหาสุขภาพจิต การบำบัดรักษาปัญหาสุขภาพจิตและจิตเวช และการฟื้นฟูสมรรถภาพสุขภาพจิต ซึ่งอาจแตกต่างจากม [สุขภาพจิต]
ความคับข้องใจความคับข้องใจ, สภาพทางจิตใจหรือความรู้สึกที่เป็นผลสืบเนื่องอันได้แก่ ความหงุดหงิด กระวนกระวายใจ กลุ้มใจ สิ่งเหล่านี้มาจากความปรารถนาที่บุคคลมุ่งหวัง แต่ถูกขัดขวาง ทำให้ลดแรงจูงใจ บั่นทอนอิทธิพลความพยายาม ไม่สามารถบรรลุเป้าหมาย ไม่ตอบสนองความต้องการของตนเองได้ ด้วยอุปสรร [สุขภาพจิต]
phamacogenomicsphamacogenomics, เป้าหมายของศาสตร์นี้คือการใช้ข้อมูลด้านพันธุกรรมเพื่อการวินิจฉัยโรค ช่วยในการทำนายความเสี่ยงการเกิดโรคในแต่ละบุคคล และทำให้แพทย์สามารถให้การรักษาผู้ป่วยแต่ละรายได้อย่างเหมาะสม เช่น การกำหนดชนิดและปริมาณยา ตามลักษณะทางพันธุกรรมของผู้ป่วย [ชีวจริยธรรม]
social networking Web sitesเว็บไซต์เครือข่ายทางสังคม, เว็บไซต์ที่สมาชิกมีปฏิสัมพันธ์ระหว่างกัน โดยมีเป้าหมายในการเป็นจุดเชื่อมโยงระหว่างผู้ใช้ โดยอาจเชื่อมโยงผ่านกิจกรรมอย่างใดอย่างหนึ่งที่ผู้ใช้มีความสนใจร่วมกัน เช่น การแบ่งปันวีดิทัศน์ การเล่าสู่กันฟังถึงประสบการณ์ที่ได้รับ การแสดงความรู้สึกหรือความคิดเห็น [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.]
Generalizabilityความสามารถในการแปรผลสู่ประชากรเป้าหมาย [การแพทย์]
Group Approachการเข้าถึงกลุ่มเป้าหมายแบบเป็นกลุ่ม, [การแพทย์]
Groups, Targetกลุ่มเป้าหมาย, [การแพทย์]
Individual Approachการให้สุขศึกษาแบบรายบุคคล, ให้เป็นรายบุคคล, การเข้าถึงกลุ่มเป้าหมายเป็นรายบุคคล [การแพทย์]
Loss of Generalizabilityเสียความสามารถในการแปลผลสู่ประชากรเป้าหมาย [การแพทย์]
Mass Media Approachการเข้าถึงกลุ่มเป้าหมายโดยทางสื่อมวลชน [การแพทย์]

Volubilis Dictionary (TH-EN-FR)
บรรลุเป้าหมาย[banlu paomāi] (v, exp) EN: achieve ; succeed ; accomplish ; attain ; fulfill  FR: réussir ; atteindre un objectif
การบรรลุเป้าหมาย[kān banlu paomāi] (n, exp) EN: achievement
การบรรลุเป้าหมายสูงสุดของตนเอง[kān banlu paomāi sūngsut khøng ton-ēng] (n, exp) EN: self-actualization
กลุ่มเป้าหมาย[klum paomāi] (n, exp) EN: target group
กลุ่มเป้าหมายในการโฆษณา[klum paomāi nai kān khōtsanā] (n, exp) EN: target population
เป้าหมาย[paomāi] (n) EN: aim ; purpose ; goal ; objective ; target  FR: but [ m ] ; objectif [ m ] ; cible [ f ]
เป้าหมายด้านการตลาด[paomāi dān kāntalāt] (n, exp) EN: marketing goals
เป้าหมายการผลิต[paomāi kān phalit] (n, exp) EN: production target  FR: objectif de production [ m ]
เป้าหมายของชีวิต[paomāi khøng chīwit] (n, exp) EN: purpose of life  FR: but de l'existence [ m ]
เป้าหมายกลยุทธ์[paomāi konlayut] (n, exp) EN: strategic goal  FR: objectif stratégique [ m ]
เป็นเป้าหมาย[pen paomāi] (v, exp) EN: setting their sights on ; having as a goal  FR: avoir pour but
ภาษาเป้าหมาย[phāsā paomāi] (n, exp) EN: target language
พลาดเป้าหมาย[phlāt paomāi] (n, exp) EN: miss the target  FR: rater la cible
ตลาดเป้าหมาย[talāt paomāi] (n, exp) EN: target market  FR: marché cible [ m ]
ตั้งเป้าหมาย[tangpao māi] (v, exp) EN: aim ; intend to

NECTEC Lexitron Dictionary EN-TH
accomplishment(n) การบรรลุเป้าหมาย, See also: ความสำเร็จ, ผลสัมฤทธิ์, ผลสำเร็จ, Syn. completion
aim(n) ความตั้งใจ, See also: จุดหมาย, จุดประสงค์, วัตถุประสงค์, เป้าหมาย, จุดมุ่งหมาย, Syn. object, plan, purpose
aim(vi) ตั้งเป้า, See also: เล็งเป้าหมาย, มุ่งเป้า
aim(n) เป้า, See also: เป้าหมาย, ที่หมาย, Syn. target, point
aimlessly(adv) อย่างไม่มีจุดหมาย, See also: อย่างไม่มีเป้าหมาย, อย่างเลื่อนลอย
ambition(n) จุดมุ่งหมาย, See also: เป้าหมาย, Syn. gold, end
attain(vt) บรรลุเป้าหมาย, See also: สำเร็จ, Syn. reach, achieve
campaign(n) การรณรงค์, See also: การกระทำการหรือวางแผนเพื่อให้บรรลุตามเป้าหมาย
connect(vi) บรรลุเป้าหมาย
drift along(phrv) ไร้เป้าหมาย (ในการดำเนินชีวิต), See also: ล่องลอย
design(n) จุดประสงค์, See also: ความตั้งใจ, ความมุ่งมั่น, เป้าหมาย, Syn. object, intention
destination(n) จุดหมายปลายทาง, See also: หลักชัย, จุดหมาย, เป้าหมาย, ที่หมาย, Syn. final intention, end objective, goal, end, target, mission
end(n) เป้าหมาย, See also: วัตถุประสงค์, Syn. aim, object, purpose
fair(adv) ตรงเป้าหมาย
fulfillment(n) การบรรลุเป้าหมาย, See also: ความสมหวัง, ความสมประสงค์, Syn. contentment, gratification, satisfaction
on target(idm) ตามเป้าหมาย, See also: ตามที่คาดไว้
raise one's sights(idm) ตั้งเป้าหมายไว้สูง
reach for the sky(idm) พยายามไปให้ถึงสิ่งที่มุ่งหวัง, See also: ตั้งเป้าหมายไว้สูง
intend(vt) ตั้งใจ, See also: มุ่งหมาย, มีเป้าหมายที่จะทำ, Syn. aim, plan, purpose
intend(vi) ตั้งใจ, See also: มุ่งหมาย, มีเป้าหมายที่จะ, Syn. aim, plan, purpose
labor(vi) พยายามต่อสู้เพื่อจุดมุ่งหมาย, See also: ต่อสู้เพื่อเป้าหมาย, Syn. strive
labour(vi) พยายามต่อสู้เพื่อจุดมุ่งหมาย, See also: ต่อสู้เพื่อเป้าหมาย, Syn. strive
make(vt) บรรลุเป้าหมาย, Syn. reach, get to
mark(n) เป้าหมาย, See also: จุดประสงค์, วัตถุประสงค์, Syn. butt, target
market(n) กลุ่มผู้ซื้อ, See also: กลุ่มเป้าหมาย, ตลาดเป้าหมาย, ผู้เกี่ยวข้องกับการซื้อขาย
meaning(n) จุดประสงค์, See also: เป้าหมาย, สิ่งที่ตั้งใจจะพูดหรือบอก, Syn. purpose, aim, design, goal
motive(n) จุดมุ่งหมาย, See also: เป้าหมาย, วัตถุประสงค์, Syn. aim, goal, purpose
object(n) วัตถุประสงค์, See also: เป้าหมาย, จุดมุ่งหมาย, จุดประสงค์, Syn. aim, goal, purpose, Ant. aimlessness
objective(n) เป้าหมาย, See also: วัตถุประสงค์, Syn. object, purpose, intention, Ant. aimlessness
orientation(n) การกำหนดเป้าหมาย, See also: ทิศทาง, การกำหนดตำแหน่ง, Syn. position, direction
overshoot(vt) ยิงเลยเป้าหมาย, See also: ยิงข้ามเป้าหมาย, พลาดเป้า, Syn. overreach, overact, overdo
purpose(n) จุดประสงค์, See also: เป้าหมาย, วัตถุประสงค์
purpose(vt) ตั้งใจ, See also: ตั้งเป้าหมาย
sake(n) วัตถุประสงค์, See also: เป้าหมาย, จุดมุ่งหมาย, Syn. cause, motive, reason
spotter(n) ผู้ระบุเป้าหมายการยิงให้ทหารปืนใหญ่, See also: ผู้ระบุตำแหน่งของข้าศึก
surface-to-underwater(adj) ซึ่งเดินทางจากผิวโลกสู่เป้าหมายใต้น้ำ
strike home(phrv) ชกถึงเป้าหมาย, See also: ชกโดนเป้าหมาย, เข้าเป้า
target(n) จุดมุ่งหมาย, See also: เป้า, จุดหมาย, เป้าหมาย, วัตถุประสงค์, Syn. aim
target(n) เป้าหมายการนินทา, See also: เป้าหมายการวิพากย์วิจารณ์
target(vt) ตั้งเป้าหมาย, See also: เล็ง, Syn. aim, direct, point
target language(n) ภาษาเป้าหมายในการแปล, Ant. source language

Hope Dictionary
aamabbr. air-to-air missile (ขีปนาวุธจากฐานบนอากาศไปสู่เป้าหมายบนอากาศ)
ambition(แอมบิช' เชิน) n. ความทะเยอทะยาน, ความมักใหญ่ใฝ่สูง, ความปรารถนาอันแรงกล้า, เป้าหมายของความปรารถนาดังกล่าว . -vt. ปรารถนา อย่างแรงกล้า. -ambitionless adj., Syn. longing, goal, Ant. aimlessness
bourn(เบิร์น) n. ลำธารสายเล็ก, ขอบเขต, เป้าหมาย
bourne(เบิร์น) n. ลำธารสายเล็ก, ขอบเขต, เป้าหมาย
butt(บัท) { butted, butting, butts } n. ปลาย, ส่วนปลาย, ส่วนก้น, ตะโพก, บุหรี่, ตอไม้ , คนที่ถูกดูถูก, เป้ายิง, สนามยิงปืน, เป้าหมาย, การเอาหัวชน, ถังขนาด ใหญ่ -v. ประชิดใกล้กับ, พุ่งออกชน, ขวิด -Id. (butt in เสือก, ยุ่ง), Syn. end
goal(โกล) n. เป้าหมาย, ประตูฟุตบอล, Syn. aim, end
intention(อินเทน'เชิน) n. เจตนา, ความตั้งใจ, เป้าหมาย, See also: intentional adj. ซึ่งมีเจตนาเกี่ยวกับความตั้งใจ ความมุ่งหมาย, เป้าหมาย
mark(มาร์ค) n. คะแนน, เครื่องหมาย, หมาย, แกงได, รอย, จุด, แต้ม, เป้า, เป้าหมาย, สัญลักษณ์, มาตรฐาน, ความสำคัญ, ชื่อเสียง, เส้นเริ่มออกวิ่ง, พรมแดน, หน่วยเงินตราของเยอรมน vt. ทำเครื่องหมาย, ทำรอย, ทำให้เป็นแผลเป็น, เป็นมลทิน, ทำให้เป็นจุด, ชัด, กะ, แสดงให้ปรากฎชัด, เพ่งเล็ง, มุ่งหมาย, บันทึก, ระวัง, สังเกต
mission(มิช'เชิน) n. คณะผู้แทน, ภาระหน้าที่ของคณะผู้แทน, คณะทูต, สถานทูต, งานปฏิบัติงานทางทหาร (มักได้รับมอบหมายจากสำนักงานใหญ่) , การเคลื่อนที่หรือการวิ่งสู่เป้าหมายของจรวดขีปนาวุธ, โบสถ์ที่ไม่มีพระอยู่ประจำ, งานมอบหมาย
name of the gamen. เป้าหมาย, จุดปรสงค์
object(ออบ'เจคทฺ) { objected, objecting, objects } n. สิ่งของ, วัตถุ, สิ่งที่เข้าใจได้, เรื่อง, เรื่องราว, จดหมาย, เป้าหมาย, วัตถุประสงค์, กรรมของกริยาหรือบุพบท, ภาวะวิสัย. vi. (ออบเจคทฺ') คัดค้าน, ไม่เห็นด้วย, รังเกียจ, ไม่ยอม. vt. คัดค้าน., See also: objector n.
objective(อับเจค'ทิฟว) n. เป้าหมาย, วัตถุประสงค์, เป้า, จุดประสงค์ ูadj. เกี่ยวกับรูปธรรม, เกี่ยวกับวัตถุ, เกี่ยวกับสิ่งของ, เป็นจริง, ไม่ลำเอียง, ไม่มีอคติ, เกี่ยวกับภาวะวิสัย, เกี่ยวกับกรรมการ, เกี่ยวกับเป้าหมาย, See also: objectiveness n.
operation researchn. การวิจัยปฏิบัติการโดยใช้วิธีการทางคณิตศาสตร์ เพื่อหาเป้าหมายและให้ได้ประสิทธิภาพที่มากที่สุด
purpose(เพอ'เพิส) n. วัตถุประสงค์, ความมุ่งประสงค์, เป้าหมาย, ความมุ่งหมาย, ผล, ผลประ-โยชน์, เจตนา, vt. มุ่งประสงค์, ประสงค์, ตั้งเป้าหมาย, มีเจตนา, ตั้งใจเด็ดเดี่ยว. vi. มุ่งประสงค์., See also: purposeful adj. purposely adj., Syn. inte
recipe(เรส'ซะพี) n. ตำรับ, ตำรับยา, ใบสั่งแพทย์, วิธีปรุงอาหารหรือปรุงยา, วิธีการบรรลุเป้าหมาย, เคล็ดลับ, วิธีการ
target(ทาร์'กิท) n. เป้า, เป้าหมาย, จุดมุ่งหมาย, โล่กลม, เป้าการเยาะเย้ย. vt. ตั้งเป้าหมาย, Syn. mark, bull's-eye, victim
target languageภาษาเป้าหมายหมายถึง ภาษาเครื่อง (machine language) หรือภาษาที่คอมพิวเตอร์เข้าใจ และปฏิบัติตามได้ทันที โดยปกติในการเขียนโปรแกรมหรือชุดคำสั่ง เรามักจะเขียนคำสั่งให้เครื่องปฏิบัติตามเป็นภาษาต้นฉบับ (source language) หรือภาษาระดับสูง (high level language) ซึ่งคอมพิวเตอร์ไม่เข้าใจ และจะต้องนำไปแปลให้เป็นภาษาเครื่องก่อนคอมพิวเตอร์จึงจะทำงานตามคำสั่งที่ต้องการได้ ภาษาเป้าหมายก็คือภาษาเครื่องนั่นเองมีความหมายเหมือน object language หรือ machine languageดู source language เปรียบเทียบ
thing(ธิง) n. สิ่งของ, ของ, สรรพสิ่ง, กรณี, สิ่งสำคัญ, เรื่องราว, การกระทำ, เหตุการณ์, รายละเอียด, จุดประสงค์, เป้าหมาย, วิธีการ things เสื้อผ้าอาภรณ์, การงาน, สิ่งมีชีวิต, ความคิด, ข้อความ, สิ่งที่เป็นทรัพย์สินได้, Syn. object, entity

Nontri Dictionary
bourn(n) ลำธารเล็กๆ, ขอบข่ายงาน, วัตถุประสงค์, จุดหมาย, เป้าหมาย
bourne(n) ลำธารเล็กๆ, ขอบข่ายงาน, วัตถุประสงค์, จุดหมาย, เป้าหมาย
destination(n) จุดหมายปลายทาง, จุดมุ่งหมาย, เป้าหมาย
destine(vt) วางจุดหมาย, กำหนดเป้าหมาย, เป็นเคราะห์กรรม
goal(n) จุดหมายปลายทาง, หลักชัย, ประตูฟุตบอล, เป้าหมาย
meaning(n) ความหมาย, นัย, คำแปล, เป้าหมาย, ความสำคัญ
motive(n) สาเหตุ, ใจความสำคัญ, เหตุผล, แรงดลใจ, เป้าหมาย, เจตนา
object(n) วัตถุ, สิ่งของ, กรรม, วัตถุประสงค์, เป้าหมาย
objective(n) วัตถุประสงค์, จุดมุ่งหมาย, เป้าหมาย, ที่หมาย
purpose(n) จุดประสงค์, ความประสงค์, เจตนา, ผลประโยชน์, เป้าหมาย
purposely(adv) โดยเจตนา, โดยมีจุดมุ่งหมาย, โดยมีเป้าหมาย
quarry(n) เหมืองหิน, เป้าหมาย, เหยื่อ
sake(n) ประโยชน์, เหตุ, เป้าหมาย, ความเห็นแก่สิ่งใดสิ่งหนึ่ง

Longdo Unapproved EN-TH
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
subject(n) เป้าหมาย

Longdo Approved JP-TH
対象[たいしょう, taishou] (n) หัวข้อ, เป้าหมาย
方針[ほうしん, houshin] (n) นโยบาย, เป้าหมาย, Syn. 指針
目標[もくひょう, mokuhyou] (n) เป้าหมาย

Longdo Unapproved JP-TH
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
目安[めやく, meyaku] (n) เป้าหมาย, จุดมุ่งหมาย
進行方向[しんこうほうこう, shinkouhoukou] เป้าหมายที่จะก้าวไป จุดหมายที่เราจะก้าวไป ทิศทางที่จะต้องเดินหน้าไป
[you, you] เป้าหมาย

Saikam JP-TH-EN Dictionary
旅先[たびさき, tabisaki] TH: เป้าหมายหรือแหล่งที่ตั้งใจจะไปท่องเที่ยว  EN: destination
対象[たいしょう, taishou] TH: กลุ่มเป้าหมาย  EN: target

Longdo Approved DE-TH
Ziel(n) |das, pl. Ziele| เป้าหมาย
Aufwand(n) |der, nur Sg.| ทุกอย่างที่ถูกนำมาใช้ เพื่อให้บรรลุเป้าหมายหรือแผนงาน, See also: aufwenden
erzielen(vt) |erzielte, hat erzielt, etw.(A)| บรรลุเป้าหมาย, ประสบผลสำเร็จ, ไปถึง เช่น Mit dieser Methode erzielen Sie Fortschritte rasch. ด้วยวิธีนี้ คุณจะก้าวหน้าอย่างรวดเร็ว, See also: erreichen, Syn. erfüllen
zu(prep) |+ D| ไปสู่, ยังที่, ไปยัง (ใช้บอกเป้าหมายของการเดินทางหรือการเคลื่อนที่) เช่น zur Post gehen, zur Arbeit fahren, zu einem Konzert

Longdo Approved FR-TH
fin, -s(n) la, = ตอนจบ, ตอนสุดท้าย , (but)จุดมุ่งหมาย, ความตั้งใจ, เป้าหมาย เช่น à la fin mai = ช่วงปลายเดือนพฤษภาคม , sans fin = ไม่มีที่สิ้นสุด, ไม่จบสิ้น, Ant. début, commencement

Time: 0.881 secondsLongdo Dict -- https://dict.longdo.com/