กร่อน | (กฺร่อน) ก. หมดไปสิ้นไปทีละน้อย, ร่อยหรอ, สึกหรอ. |
คำกร่อน | น. คำที่ลดเสียงสระและเสียงสะกด (ถ้ามี) ให้เป็นเสียง อะ โดยยังคงเสียงพยัญชนะต้นเสียงเดี่ยวหรือเสียงพยัญชนะต้นที่เป็นอักษรควบอักษรกล้ำไว้ มักจะเกิดในคำสองพยางค์ที่พยางค์แรกออกเสียงเบา เช่น หมากม่วง เป็น มะม่วง ต้นเคียน เป็น ตะเคียน อันหนึ่ง เป็น อนึ่ง แจ้นแจ้น เป็น จะแจ้น ขวักไขว่ เป็น ขวะไขว่ โครมโครม เป็น คระโครม, และมีปรากฏในคำพยางค์เดียวด้วย เช่น เสีย เป็น ซะ แล้ว เป็น ละ, แต่บางกรณีก็ลดเสียงสระและเสียงสะกด (ถ้ามี) ให้เป็นเสียง เออะ หรือ อึ เช่น เถิด เป็น เถอะ หรือ เป็น รึ. |
พักร้อน | ก. หยุดพักผ่อน. |
ร้อนใจ, ร้อนอกร้อนใจ | ก. เดือดร้อนใจ, กระวนกระวายใจ. |
กรด ๒ | (กฺรด) ว. คมมีลักษณะที่กัดกร่อนหรือตัดสิ่งของได้ เช่น นํ้ากรด = นํ้าที่คม ลมกรด = ลมที่คม. |
กรรหาย | (กัน-) ก. กระหาย, อยากเป็นกำลัง, หิวโหย, เช่น กามกรรหายยั่วข้าง (ลอ), ให้หยุดพลพักร้อน กรรหายผ่อนเอาทับ (นิ. พลเสพย์). |
กระษัยกล่อน | (-ไสกฺล่อน) น. ชื่อโรคตามตำราแพทย์แผนโบราณว่า ทำให้ร่างกายผอมแห้ง ซึ่งเกิดจากโรคกร่อน, เขียนเป็น กษัยกล่อน ก็มี. |
กฤดา, กฤดาการ | (กฺริดา, กฺริดากาน) น. บารมีอันยิ่งที่ทำไว้ (กร่อนมาจาก กฤดาธิการ) เช่น ทรงพระกฤดาเดชานุภาพยิ่งทวีขึ้น (พงศ. อยุธยา), ผู้ใดมีบุญญากฤดาการ (เสภาสุนทรภู่). |
กฤษฎา ๒ | (กฺริดสะ-) กร่อนมาจาก กฤษฎาภินิหาร เช่น เชิญชมชื่นกฤษฎา (ม. คำหลวง ฉกษัตริย์). |
กฤษฎาญ | (กฺริดสะดาน) กร่อนมาจาก กฤษฎาญชลี เช่น ถวายอภิวันทกฤษฎาญกฤษฎาการกราบเกล้า (ม. คำหลวง มัทรี; ฉกษัตริย์). |
กลาบาต ๑ | (กะลาบาด) น. เทหวัตถุแข็งจากอวกาศตกลงมาสู่ผิวโลก เมื่อเคลื่อนที่ผ่านบรรยากาศสู่ผิวโลก จะลุกไหม้ให้แสงสว่างจ้าเนื่องจากเสียดสีกับอากาศ ถือว่าเป็นลางบอกเหตุร้าย, ผีพุ่งไต้. (กร่อนมาจากคำว่า อุกลาบาต). |
กะ ๒ | สัน. เป็นคำกร่อนมาจาก กับ เช่น ยายกะตา หรือ แก่ เช่น มีกะใจ. |
กะหรี่ ๒ | น. โสเภณี (กร่อนมาจากคำว่า ช็อกการี ซึ่งเพี้ยนมาจากคำในภาษาฮินดี chokri ว่า เด็กผู้หญิง). |
กัด ๑ | ก. เอาฟันกดไว้โดยแรง เพื่อไม่ให้สิ่งที่กดไว้หลุดไป เช่น กัดสำลีไว้ให้แน่น หรือเพื่อให้เข้าไป ให้ทะลุ ให้ฉีกขาด เป็นต้น เช่น สุนัขกัดเข้าไปถึงกระดูก หนูกัดผ้าเป็นรู, โดยปริยายหมายความว่า ทำให้กร่อนสลายหรือจางไป เช่น สนิมกัดเหล็ก กัดสิวกัดฝ้าออกให้หมด, ทำให้เปื่อยเป็นแผล เช่น ปูนกัดปาก น้ำกัดเท้า |
กินตัว | ก. ผุหรือขาดกร่อนไปเองอย่างผ้าขนสัตว์ |
คระ ๑ | (คฺระ) คำกร่อนของคำหน้าซึ่งซ้ำกับคำหลังในคำที่มี คร- เป็นพยัญชนะต้นในบทกลอน มีคำแปลอย่างเดียวกับคำเดิมนั้น และมีความหมายในทางย้ำคำหรือเป็นพหูพจน์ เช่น คระคราง (หมายความว่า ครางคราง) คระครึ้ม (หมายความว่า ครึ้มครึ้ม) คระโครม (หมายความว่า โครมโครม). |
คราก | สึกกร่อน เช่น รูกลอนคราก รูรอดคราก |
คะ ๑ | คำกร่อนของคำหน้าซึ่งซ้ำกับคำหลังในคำที่มี ค เป็นพยัญชนะต้นในบทกลอน เช่น ครื้นครื้น กร่อนเป็น คะครื้น โครมโครม กร่อนเป็น คะโครม มีคำแปลอย่างเดียวกับคำเดิมนั้น และมีความหมายในทางย้ำเน้นคำ. |
งะ | คำกร่อนของคำหน้าซึ่งซ้ำกับคำหลังในคำที่มี ง เป็นพยัญชนะต้น มีคำแปลอย่างเดียวกับคำเดิมนั้น เช่น งะงก งะงัน งะโง้ง. |
จะ ๑ | คำกร่อนของคำหน้าซึ่งซ้ำกับคำหลังในคำที่มี จ เป็นพยัญชนะต้นในบทกลอน เช่น แจ้งแจ้ง กร่อนเป็น จะแจ้ง แจ่มแจ่ม กร่อนเป็น จะแจ่ม มีคำแปลอย่างเดียวกับคำเดิมนั้น และมีความหมายในทางย้ำหรือเน้น. |
ฉะ ๒ | คำกร่อนของคำหน้าซึ่งซ้ำกับคำหลังในคำที่มี ฉ เป็นพยัญชนะต้นในบทกลอน เช่น ฉาดฉาด กร่อนเป็น ฉะฉาด ฉ่ำฉ่ำ กร่อนเป็น ฉะฉ่ำ มีคำแปลอย่างเดียวกับคำเดิมนั้น และมีความหมายในทางย้ำหรือเน้นคำ. |
เซาะ | ก. ทำให้กร่อนหรือร่อยหรอเข้าไปทีละน้อย เช่น นํ้าเซาะตลิ่ง เซาะรูให้กว้าง. |
ตอ | น. โคนของต้นไม้ที่ลำต้นถูกตัดหรือหักลงแล้ว, สิ่งบางอย่างเช่นเสาหรือหลักที่ปักไว้หรือที่ยังเหลืออยู่แต่โคนเมื่อบางส่วนถูกตัด หัก หรือกร่อนไป. |
แถ ๑ | ก. อาการที่นกเป็นต้นเอียงปีกร่อนลง, อาการที่ของแบน ๆ เช่นกระเบื้องหรือโปสต์การ์ด แฉลบหรือร่อนไปเฉียง ๆ, โดยปริยายเรียกอาการที่คล้ายคลึงเช่นนั้น เช่น วัน ๆ ไม่เห็นทำการทำงาน ได้แต่แถไปโน่นไปนี่. |
ทองจังโก | น. ทองเหลืองที่ตีแผ่เป็นแผ่นบาง ลงรักแล้วปิดทองคำเปลว นิยมใช้หุ้มองค์พระเจดีย์ ป้องกันการผุกร่อน, ทองสักโก ก็ว่า. |
ทู่ | ว. ไม่แหลม (ใช้แก่ของที่มีลักษณะยาวแหลม แต่ขาดความแหลมไปเพราะความสึกกร่อนด้วยการใช้เป็นต้น) เช่น ดินสอทู่ เข็มทู่. |
ไนโอเบียม | น. ธาตุลำดับที่ ๔๑ สัญลักษณ์ Nb เป็นโลหะหายาก ลักษณะเป็นของแข็งสีเทา หลอมละลายที่ ๒๔๖๘ °ซ. ใช้ประโยชน์นำไปเจือเหล็กกล้าไม่เป็นสนิม เพื่อทำให้มีสมบัติคงทนต่อการผุกร่อน และทนต่ออุณหภูมิสูง ๆ ได้ดี. |
เบริลเลียม | น. ธาตุลำดับที่ ๔ สัญลักษณ์ Be เป็นโลหะ ลักษณะเป็นของแข็งสีขาว หลอมละลายที่ ๑๒๗๗ °ซ. ใช้ประโยชน์นำไปผสมกับโลหะอื่นให้เป็นโลหะเจือ ซึ่งทนทานต่อการผุกร่อน. |
เป่าคอ | อาการที่แก๊สในท้องพุ่งขึ้นมาทางลำคอเนื่องจากร้อนใน เรียกว่า ลมเป่าคอ. |
ผ่าว | ว. อาการที่รู้สึกร้อนแรงเมื่อมีไอร้อนมากระทบ เช่น ตัวร้อนผ่าว, โดยปริยายหมายถึง อาการที่รู้สึกคล้ายคลึงเช่นนั้น เช่น อกร้อนผ่าว หน้าร้อนผ่าว. |
ผุ | ก. กร่อนอย่างฟันผุ, ร่วนหรือยุ่ย เช่น กระดูกผุ ไม้ผุ. |
พัก | ก. หยุดชั่วคราว เช่น พักร้อน พักเครื่อง, อยู่ชั่วคราว, อาศัยชั่วคราว, เช่น บ้านพัก |
ฟันหลอ | น. ฟันที่มีช่องว่างระหว่างฟันซึ่งเกิดจากฟันหลุด กร่อน หรือหักจนถึงโคนฟัน เป็นต้น. |
มะ ๑ | คำนำหน้าต้นไม้หรือผลไม้บางอย่าง กร่อนมาจากคำ “หมาก” โบราณแปลว่า ลูกไม้, ผลไม้. |
มีแก่ใจ | ก. เอาใจเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่, มีนํ้าใจ, มักกร่อนเป็น มีกะใจ. |
ร่อน | กางปีกแผ่ถาไปมาหรือถาลง เช่น นกร่อน เครื่องบินร่อนลง |
ร่อย | ก. ค่อยหมดไป, กร่อนไป, เช่น คมมีดร่อย. |
ราปีก | ก. หยุดขยับปีกร่อนไป (ใช้แก่นก). |
รู้สึก | ก. รู้ตัว เช่น ย่องไปข้างหลังอย่าให้เขารู้สึก หลับเป็นตายปลุกเท่าไรก็ไม่รู้สึก, รู้ด้วยการสัมผัส เช่น รู้สึกร้อน รู้สึกหนาว, รู้สำนึก เช่น เขารู้สึกตัวว่าทำผิด, เกิดอาการที่รู้ว่าเป็นสุขหรือทุกข์ เช่น รู้สึกสนุก รู้สึกซาบซึ้ง รู้สึกมึนศีรษะ, เกิดสังหรณ์ขึ้นในใจ เช่น รู้สึกว่าจะมีใครมาหา, มีแนวโน้มให้สันนิษฐานหรือคาดคะเนว่าจะมีอะไรเกิดขึ้น เช่น รู้สึกว่าสินค้าเกษตรจะมีราคาตกต่ำในปีนี้ ในที่สุดต้องยกเลิกเรื่องบางเรื่องเพราะรู้สึกว่าจะไปไม่รอด. |
ฤทัย | (รึไท) น. ใจ, ความรู้สึก. (กร่อนมาจาก หฤทัย). |
วะ ๒ | คำกร่อนของคำหน้าซึ่งซ้ำกับคำหลังในคำที่มี ว เป็นพยัญชนะต้นในบทกลอน เช่น ว่อนว่อน กร่อนเป็น วะว่อน วาบวาบ กร่อนเป็น วะวาบ มีคำแปลอย่างเดียวกับคำเดิมนั้น และมีความหมายในทางย้ำหรือเน้นคำ. |
วาบ | ว. อาการที่รู้สึกร้อน เย็น กลัว ตกใจ เสียวใจ เป็นต้น ขึ้นทันทีแล้วหายไปดับไป เช่น เย็นวาบ ใจหายวาบ เสียววาบ |
วูบ | ก. อาการที่หายไป จางไป อย่างรวดเร็ว เช่น ตะเกียงดับวูบ ลมพัดวูบ หลบวูบ, อาการที่ความรู้สึกร้อน เย็น กลัว ตกใจ เสียวใจ เป็นต้น แล้วหายไปจางไปอย่างรวดเร็ว เช่น ร้อนวูบ เย็นวูบ เสียววูบ |
ศาลา | น. อาคารทรงไทย ปล่อยโถง ไม่กั้นฝา ใช้เป็นที่พักหรือเพื่อประโยชน์การงานอย่างใดอย่างหนึ่ง เช่น ศาลาวัด ศาลาที่พัก ศาลาท่านํ้า, โดยปริยายหมายถึงอาคารหรือสถานที่บางแห่ง ใช้เพื่อประโยชน์การงานอย่างใดอย่างหนึ่ง เช่น ศาลาพักร้อน ศาลาสวดศพ. |
สนิม ๑ | (สะหฺนิม) น. ส่วนของผิวโลหะที่แปรสภาพไปจากเดิมเนื่องด้วยปฏิกิริยาเคมีเป็นสาเหตุให้เกิดการผุกร่อน เช่น มีดขึ้นสนิม |
สมญา | (สมยา) น. ชื่อที่ตั้งให้ กร่อนมาจากคำว่า สมัญญา. |
สาธุ | ไหว้ (เป็นคำบอกให้เด็กแสดงความเคารพตามธรรมเนียม กร่อนเสียง เป็น ธุ ก็มี). |
สึก ๑ | ก. กร่อนไป, ร่อยหรอไป, เช่น รองเท้าสึก บันไดสึก. |
สึกหรอ | ก. กร่อนไป เช่น เครื่องจักรสึกหรอ, โดยปริยายหมายถึงอาการที่คล้ายคลึงเช่นนั้น เช่น การด่าว่าไม่ทำให้สึกหรออะไร. |
โสดาปัตติผล | (-ปัดติผน) น. ธรรมที่พระโสดาบันได้บรรลุ, บางทีก็กร่อนเป็น โสดา เช่น บรรลุโสดา. |
Corrosion | การกัดกร่อน [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
ทรงคม | ทรงไหว้. (กร่อนมาจาก บังคม) [ศัพท์พระราชพิธี] |
Soil erosion | การกร่อนของดิน [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Stress corrosion | การกัดกร่อนด้วยผลของความเค้น [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Corrosion and anti-corrosives | การกัดกร่อนและการป้องกันการกัดกร่อน [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
cyber | ไซเบอร์, ไซเบอร์ คำที่กร่อนมาจากคำว่าไซเบอร์เนติกส์ และมีความหมายว่าเกี่ยวข้องกับระบบเครือข่ายและสังคมเครือข่ายสากลทั่วโลก เช่น ระบบอินเทอร์เน็ต (Internet) และยังมีการให้ความหมาย "สารสนเทศเสมือนจริงที่ถูกสร้างขึ้นหรือเกิดขึ้นเอง" <p>คำเหล่านี้มีใช้มากขึ้นทุกที อาทิ <p>cyberspace</p> <p>cyberporn</p> <p>cybersex</p> [คอมพิวเตอร์] |
Cladding | เปลือกหุ้มเชื้อเพลิง, โลหะที่ใช้ห่อหุ้มแท่งเชื้อเพลิงนิวเคลียร์ เพื่อป้องกันการกัดกร่อนเนื้อเชื้อเพลิงจากตัวทำให้เย็น และป้องกันผลผลิตการแบ่งแยกนิวเคลียสไม่ให้ออกมาปนในตัวทำให้เย็น วัสดุที่ใช้ เช่น อะลูมิเนียม โลหะผสมของอะลูมิเนียม เหล็กกล้าไร้สนิม และโลหะผสมของเซอร์โคเนียม [นิวเคลียร์] |
กร่อน | สึกหรอ, Example: คำที่มักเขียนผิด คือ กล่อน [คำที่มักเขียนผิด] |
Degradation | การกร่อนสลาย, Example: กระบวนการที่ทำให้ส่วนต่างๆของพื้นผิวโลกผุกร่อนและถูกพัดพาไป ทำให้ระดับทั่วๆไปลดต่ำลง กระบวนการนี้เกิดจากการกระทำของน้ำและลม [สิ่งแวดล้อม] |
Beach erosion | การกร่อนของหาด [TU Subject Heading] |
Soil erosion | การกร่อนของดิน [TU Subject Heading] |
Tooth erosion | การสึกกร่อนของฟัน [TU Subject Heading] |
Erosion | การกร่อน, Example: หมวดทรัพยากรที่ดินและการใช้ที่ดิน หมายถึง กระบวนการหนึ่งหรือหลายกระบวนการที่ทำให้ สารเปลือกโลกหลุดไป ละลายไป หรือกร่อนไปโดยตัวการธรรมชาติ ซึ่งได้แก่ ลมฟ้าอากาศ สารละลาย การครูดถู การนำพา ทั้งนี้ไม่รวมการพังทลายเป็นกลุ่มก้อน เช่น แผ่นดินถล่ม หรือภูเขาไฟระเบิด ความรุนแรงการกร่อน (erosion classes) แบ่งได้ดังนี้ - ไม่มีการกร่อน (none eroded) - กร่อนเล็กน้อย (slight serere eroded) - กร่อนปานกลาง (moderately serere eroded) - กร่อนรุนแรง (serere eroded) - กร่อนรุนแรงมาก (very serere eroded) <br>หมวดสารพิษและกากของเสีย หมายถึง การสูญเสียของผิวหน้าดินเนื่องจากการไหลเซาะ ของน้ำหรือจากลมฟ้าอากาศ </br> [สิ่งแวดล้อม] |
Sheet Erosion | การกร่อนแบบผิวแผ่น, Example: การกร่อนผุพังของผิวโลกที่เกิดในฤดูฝน เพราะน้ำฝนไหลหลากลงสู่ร่องห้วยธารต่าง ๆ ไม่ทัน ก็ไหลแผ่ซ่านไปตามพื้นดินที่ต่ำกว่า ทำให้เกิดการกร่อนเป็นบริเวณกว้าง [สิ่งแวดล้อม] |
Gully Erosion | การกร่อนแบบร่องธาร, Example: การกร่อนซึ่งเกิดจากมีฝนตกหนัก ทำให้เกิดเป็นร่องลึกหรือ อาจเกิดจากน้ำไหล ตามแนวลาดเทที่มีความชันสูง และระยะความลาดเทยาว การไหลกัดเซาะของน้ำมีมาก จึงพัดพาดินไปได้เป็นจำนวนมาก โดยทั่วไปร่องมีความลึกระหว่าง 0.5 - 30 เมตร [สิ่งแวดล้อม] |
Soil Erosion | การกร่อนของดิน, Example: การที่ดินถูกฝนและแม่น้ำลำธารกัดชะไป หรือถูกลมพัดพาไปจนกร่อนบางลงหรือหมดไปในที่สุด [สิ่งแวดล้อม] |
Corrision | การกัดกร่อน, Example: การกัดกร่อนหรือเสื่อมสภาพของวัสดุ เนื่องจากปฎิกิริยาเคมี ซึ่งมักจะเกิดจากกระบวนการทางไฟฟ้าเคมี เริ่มตั้งแต่พื้นผิวภายนอกแล้วค่อย ๆ กร่อนไปถึงภายใน [สิ่งแวดล้อม] |
Corrosive | การกัดกร่อน [สิ่งแวดล้อม] |
Truncation | การกัดกร่อน [สิ่งแวดล้อม] |
Geologic Erosion | การกัดกร่อนโดยธรรมชาติ [สิ่งแวดล้อม] |
Stream Erosion | การกัดกร่อนโดยธารน้ำ [สิ่งแวดล้อม] |
Abrasion | การสึกกร่อน, Example: การกร่อนของผิววัสดุอันเกิดจากการเสียดสี เช่น ผนังหรือพื้นเตาเผาที่สึกกร่อนเนื่องจากการเคลื่อนย้ายขยะ ดู Erosion และ Corrosion [สิ่งแวดล้อม] |
Erosion Index | ดัชนีการกร่อน, Example: ค่าแสดงศักยภาพของฝนที่ทำให้ผิวหน้าดินกร่อนไป คำนวณได้จากพลังงานการตกกระทบ ของเม็ดฝนกับปริมาณฝนแต่ละครั้ง [สิ่งแวดล้อม] |
Plastic Degradation | พลาสติกที่มีการกร่อนสลาย, Example: พลาสติกชนิดที่มีความทนทาน แต่สามารถถูกย่อยสลายได้โดยทางแสงอาทิตย์หรือโดยชีวภาพ [สิ่งแวดล้อม] |
Erosion Surface ; Erosional Surface | พื้นผิวเหลือจากการกร่อน, Example: พื้นผิวดินที่เหลือจากการกร่อนอันเกิดจาก ตัวการทำลายต่าง ๆ ที่สำคัญได้แก่ น้ำ ลม และน้ำแข็ง [สิ่งแวดล้อม] |
Erosivity | ศักยภาพการกร่อน, Example: ศักยภาพของตัวการ เช่น น้ำ ลม และแรงโน้มถ่วง ฯลฯ ที่ทำให้เกิดการกร่อน [สิ่งแวดล้อม] |
Erodibility | สภาพกร่อนได้, Example: สมบัติของดินแต่ละชนิดที่มีความยากง่าย หรือคงทนต่อการกัดกร่อนของตัวการต่าง ๆ [สิ่งแวดล้อม] |
Corrasive Substance | สารกัดกร่อน, Example: เป็นสารที่มีน้ำเป็นส่วนประกอบ ที่มีค่าพีเอช (pH) 2 หรือต่ำกว่า หรือค่าพีเอช (pH) 12.5 หรือสูงกว่า [สิ่งแวดล้อม] |
Butadiene rubber or Polybutadiene | ยางบีอาร์เป็นยางสังเคราะห์ชนิดหนึ่ง ที่ผลิตจากบิวทาไดอีนมอนอเมอร์ มีความยืดหยุ่นและสมบัติการกระเด้งกระดอนสูง มีสมบัติเด่น คือ ทนต่อการสึกกร่อนสูงมาก นอกจากนี้ยังมีสมบัติการหักงอที่อุณหภูมิต่ำดี ความร้อนสะสมขณะใช้งานต่ำจึงนิยมใช้ผสมกับยางธรรมชาติหรือยางเอสบีอาร์ในการ ผลิตดอกยางรถยนต์หรือผลิตภัณฑ์อื่นๆที่ต้องการความทนต่อการสึกกร่อนสูง เช่น ยางพื้นรองเท้า ยางกันกระแทก เป็นต้น [เทคโนโลยียาง] |
Chlorinated polyethylene rubber | ยางคลอริเนตพอลิเอทิลีนเป็นยางที่ได้จากการทำปฏิกิริยาระหว่างพอลิเอทิ ลีนและคลอรีน ยางชนิดนี้มีหลายเกรดขึ้นอยู่กับปริมาณของคลอรีน สมบัติโดยทั่วไปทนต่อการเสื่อมสภาพอันเนื่องมาจากสภาพอากาศ โอโซน ความร้อน และสารเคมีที่มีฤทธิ์กัดกร่อนต่างๆ ได้ดี มีการติดไฟต่ำ มีความเสถียรของสีสูงมาก ทนต่อน้ำมันและตัวทำละลายไฮโดรคาร์บอนที่ไม่มีขั้วปานกลาง แต่มีสมบัติการหักงอที่อุณหภูมิต่ำไม่ดี นิยมใช้ในการผลิตปลอกหุ้มสายไฟฟ้าและสายเคเบิล ท่อยางและชิ้นส่วนภายในยานยนต์ เป็นต้น [เทคโนโลยียาง] |
Chlorosulfonated polyethlene rubber | ยาง CSM เป็นยางสังเคราะห์ชนิดหนึ่งที่เกิดจากการทำปฏิกิริยาระหว่างพอลิเอทิลีนและ ของผสมของก๊าซคลอรีน (Cl2) กับก๊าซซัลเฟอร์ไดออกไซด์ (SO2) มีหลายเกรดขึ้นกับปริมาณคลอรีนในโมเลกุล สมบัติเชิงกลของยางชนิดนี้ค่อนข้างดี ทนต่อการเสื่อมสภาพอันเนื่องมาจากโอโซนและสภาพอากาศได้อย่างดีเยี่ยม ทนต่อการเปลี่ยนสี (discoloration) อันเนื่องมาจากแสงแดดและรังสีอัลตราไวโอเลต (UV) ได้ดีอีกด้วย แต่สามารถทนต่อน้ำมันได้ปานกลางถึงดี ทนต่อกรดและสารเคมีต่างๆ ที่มีฤทธิ์กัดกร่อนได้ดีเยี่ยม และยังทนต่อน้ำร้อนได้ดี แต่มีข้อจำกัดคือ มีค่า compression set ที่ต่ำ และการใช้งานที่อุณหภูมิต่ำขึ้นกับปริมาณของคลอรีน ถ้าปริมาณของคลอรีนสูงสมบัติการหักงอของยางที่อุณหภูมิต่ำจะด้อยลง ผลิตภัณฑ์ที่ใช้ยางชนิดนี้ ได้แก่ ปลอกหุ้มสายเคเบิล ท่อยาง ยางหุ้มลูกกลิ้ง ยงบุผนัง ท่อที่ต้องทนต่อกรด แผ่นยางมุงหลังคา แผ่นยางรองสระน้ำ เรือยาง เป็นต้น [เทคโนโลยียาง] |
Epichlorohydrin | ยางอิพิคลอโรไฮดรินเป็นยางสังเคราะห์ชนิดหนึ่งที่มีสายโซ่หลักเป็นพอลิ อีเทอร์และมีหมู่คลอโรเมทิลเป็นกิ่งก้าน แบ่งได้เป็น 3 ชนิดหลัก คือ 1.โฮโมพอลิเมอร์ของอิพิคลอโรไฮดริน (CO) ได้จากการทำปฏิกิริยาพอลิเมอไรเซชันแบบเปิดวงแหวนของอิพิคลอโรไฮดริน 2.โคพอลิเมอร์ของอิพิคลอโรไฮดรินและเอทิลีนออกไซด์ (ECO) ได้จากการนำเอทิลีนออกไซด์ไปพอลิเมอไรเซชันร่วมกับอิพิคลอโรไฮดริน 3.เทอร์พอลิเมอร์ระหว่างอิพิคลอโรไฮดริน เอทิลีนออกไซด์ และมอนอเมอร์ชนิดที่ไม่อิ่มตัว (GECO/ETER) ได้จากการเติมมอนอเมอร์ชนิดที่สามลงไปเพื่อให้ยางชนิดนี้สามารถคงรูปได้โดย ใช้ระบบกำมะถันและเพอร์ออกไซด์ ยางอิพิคลอโรไฮดรินมีสมบัติเด่นหลายประการ คือ ทนต่อน้ำมันและน้ำมันเชื้อเพลิงได้ดี ทนต่อความร้อนและโอโซนได้ดีเยี่ยม มีอัตราการซึมผ่านของก๊าซและน้ำมันเชื้อเพลิงต่ำที่สุด ทนทานต่อการติดไฟได้ดี และมีสมบัติการหักงอที่อุณหภูมิต่ำดีมากอีกด้วย ยางชนิดนี้แม้ว่าจะมีสมบัติที่ดีหลายประการ แต่ไม่นิยมนำมาใช้มากนักเนื่องจากยางชนิดนี้มีฤทธิ์กัดกร่อนโลหะและยางจะ อ่อนตัว (reversion) เมื่อใช้งานที่อุณหภูมิสูงเป็นเวลานานและมีราคาแพงมาก ตัวอย่างผลิตภัณฑ์ที่ทำจากยางชนิดนี้ ได้แก่ ซีล ปะเก็น ท่อน้ำมัน ปลอกหุ้มสายเคเบิล ลูกกลิ้งในเครื่องพิมพ์ เป็นต้น [เทคโนโลยียาง] |
Atrophy, Pressure | การถูกกดฝ่อไป, เนื้องอกกด, การสึกกร่อนของกระดูกจากการกดเบียด [การแพทย์] |
Bone Erosion | กระดูกกร่อน [การแพทย์] |
Bone Erosion, Local | การสึกกร่อนเฉพาะที่ของกระดูก [การแพทย์] |
Bone Erosion, Subperiosteal Cortical | การสึกกร่อนของกระดูกส่วนคอร์เท็กซ์ใต้เยื่อหุ้มก [การแพทย์] |
Cervical Erosion | คอมดลูกกร่อน, แผลปากมดลูก, ปากมดลูกกร่อน [การแพทย์] |
Corrosion | การกัดกร่อน, การสึกกร่อน [การแพทย์] |
Corrosion Inhibitors | สารกันการสึกกร่อน [การแพทย์] |
Corrosive | การกัดกร่อน [การแพทย์] |
Corrosive Agents | สารเป็นพิษที่มีฤทธิ์กัดเนื้อ, สารประเภทมีฤทธื์กัดเนื้อเยื่อ, สารกัดกร่อน [การแพทย์] |
Corrosive Liquid | สารกัดกร่อน [การแพทย์] |
Corrosive Substances | สารกัดกร่อน [การแพทย์] |
Corrosives | สารกัดกร่อน [การแพทย์] |
Detergent Solutions, Mild | สารลดแรงตึงผิวที่ไม่กัดกร่อน [การแพทย์] |
Erosion | การทำลาย, การสึกกร่อน, สึกกร่อน, รอยแผล, แผลตื้น, การกร่อน, แผลแดง [การแพทย์] |
Erosion, Pressure | การสึกกร่อนจากแรงกดดัน [การแพทย์] |
Erosion, Surface | รอยกร่อน [การแพทย์] |
erosion | erosion, การกร่อน [เทคนิคด้านการชลประทานและการระบายน้ำ] |
gully erosion | gully erosion, การกร่อนแบบร่องธาร [เทคนิคด้านการชลประทานและการระบายน้ำ] |
abrasive | (adj) ซึ่งกัดกร่อน, See also: ซึ่งกัดเซาะ |
attrition | (n) การสึกกร่อน (โดยเฉพาะจากการเสียดสี), Syn. wearing down, friction, rubbing, Ant. buildup |
bite into | (phrv) กัดกร่อน, See also: ทำลาย, Syn. eat into |
caries | (n) การผุกร่อนของกระดูกโดยเฉพาะฟัน |
carious | (adj) ที่ผุกร่อน, Syn. decayed |
caustic | (adj) ซึ่งสามารถทำลายหรือกัดกร่อนได้, Syn. corrosive, erosive |
corrode | (vi) กัดกร่อน, Syn. eat, rust |
corrode | (vt) กัดกร่อน, See also: ทำลาย, Syn. eat, rust |
corrosion | (n) การกัดกร่อน (โดยเฉพาะโดยสารเคมี) |
corrosive | (adj) ซึ่งกัดกร่อน, See also: ซึ่งทำให้ผุพัง, Syn. eroding, caustic |
corrosive | (n) สิ่งกัดกร่อน เช่น น้ำกรด |
eat away | (phrv) กัดกร่อน |
eat away at | (phrv) กัดกร่อนทีละน้อย |
eat into | (phrv) กัด, See also: กัดกร่อน, Syn. bite into |
fret into | (phrv) ทำให้กัดกร่อน, See also: ทำให้สึกกร่อน, Syn. fret on, fret upon |
fret on | (phrv) ทำให้กัดกร่อน, See also: ทำให้สึกกร่อน, Syn. fret into, fret upon |
fret upon | (phrv) ทำให้กัดกร่อน, See also: ทำให้สึกกร่อน, Syn. fret on, fret into |
eat | (vt) กัดกิน, See also: กัดกร่อน, กร่อน, Syn. corrode, erode |
erode | (vi) กร่อน, See also: กัดกร่อน, เซาะ, กัดเซาะ, Syn. decay, wear away |
erode | (vt) กร่อน, See also: กัดกร่อน, เซาะ, กัดเซาะ, Syn. decay, wear away |
erosion | (n) การกัดกร่อน, See also: การกัดเซาะ, การกร่อน, Syn. abrasion, decay |
escarpment | (n) สันเขาหรือหน้าผาสูงชันที่เกิดจากการผุกร่อนหรือการแยกตัวของเปลือกโลก, Syn. bluff, cliff, scarp |
etch | (vt) แกะสลักโดยใช้กรดให้กัดกร่อน, Syn. corrode, eat away |
etch | (vi) แกะสลักโดยใช้กรดให้กัดกร่อน, Syn. corrode, eat away |
fret | (vi) กัดกร่อน, See also: ผุ, สึกกร่อน |
fret | (vt) ทำให้กัดกร่อน, See also: ทำให้ผุ, ทำให้สึกกร่อน |
nomad | (n) ชนเผ่าเร่ร่อน, See also: คนร่อนเร่, พวกร่อนเร่, Syn. wanderer |
peneplain | (n) ที่ดินที่ถูกกัดกร่อนจนกลายเป็นที่ราบ |
undermine | (vt) ทำให้กร่อน, See also: ถูกกัดเซาะ, Syn. sabotage, subvert, wreck, Ant. reinforce |
vitriol | (n) สิ่งที่มีฤทธิ์กัดกร่อนสูง |
weather-beaten | (adj) เสียเพราะถูกอากาศ, See also: สึกกร่อน, ผ่านการตากแดดตากฝนมา, คล้ำแดดคล้ำฝน, Syn. weatherworn |
weatherworn | (adj) สึกกร่อน, See also: เสื่อมหรือเสียเนื่องจากถูกแดดถูกฝนหรือสภาพอากาศอื่นๆ, Syn. weather-beaten |
wear away | (phrv) ค่อยๆ กัดกร่อน, See also: กร่อนทีละน้อย, ค่อยๆเสื่อมลง, Syn. wear off |
wear down | (phrv) ค่อยๆ สึกกร่อน, See also: กร่อนทีละน้อย, ค่อยเสื่อมลง, Syn. wear away, wear off |
wear off | (phrv) ค่อยๆ สึกกร่อน, See also: กร่อนทีละน้อย, ค่อยๆเสื่อมลง, Syn. rub off, wear away, wear down |
abrasive | (อะเบร' ซิฟว) n., adj. สารหรือสิ่งที่ใช้ขัดหรือถูหรือกัดกร่อน, ซึ่งกัดกร่อน |
acrid | (แอค' ริด) adj. (กลิ่นหรือรส) รุนแรง, ฉุน, เผ็ด, ซึ่งกัดกร่อน, เหี้ยม, แสบตาหรือจมูก. |
acrylic acid | (chem.) เป็นของเหลวที่มีฤทธิ์กัดกร่อนใช้ในการสังเคราะห์ acrylic resins |
anticorrosion | (แอนทีคะโร' เชิน) n. การป้องกันการสึกกร่อน, การป้องกันสนิม |
anticorrosive | (แอนทีคะโร' ซิฟว) adj., n. ซึ่งป้องกันหรือต้านการสึกกร่อน, กันสนิม, สารที่ฤทธิ์ดังกล่าว |
attrited | (อะไทร'ทิด) adj. สึกกร่อน |
attrition | (อะทริช'เชิน) n. การสึกกร่อนเนื่องจากการเสียดสี, การเสียดสี, การสึกกร่อน, การลดลงของขนาดหรือจำนวน. attritional, attritive adj., Syn. erosion, weakening, wearing, Ant. buildup, reenforcement |
canker | (แคง'เคอะ) { cankered, cankering, cankers } n. ปากเปื่อย, โรคเท้าม้าเน่า, สิ่งกัดกร่อน, สิ่งทำลาย, สิ่งระคายเคือง, ตัวเพลี้ย, ตัวหนอนทำลายพืช vt. ทำให้เน่าเปื่อย, เป็นโรคเนื้อเยื่อเน่าเปื่อย, ค่อย ๆ ทำลาย, ทำให้เลวหรือเสีย., See also: cankerous adj. คำที่มีค |
carious | (แคร์'เรียส) adj. ผุ, กร่อน, See also: cariosity n. ความผุ, ความกร่อน cariousness n. ความผุ, ความกร่อน, Syn. decayed |
caustic | (คอส'ทิค) adj. ถากถางมาก, กัดกร่อน, ทำให้ไหม้, ซึ่งทำลาย -n. สารกัดกร่อน, See also: caustical adj. ดูcaustic causticity, caustiness n. ดูcaustic, Syn. corrosive, Ant. neutral |
cautery | (คอ'เทอรี) n. สารกัดกร่อน, กระบวนหรือสิ่งที่การทำให้เนื้อเยื่อไหม้ |
corrode | (คะโรด') { corroded, corroding, corrodes } vt. กัดกร่อน, กัด, ทำให้ค่อย ๆ ผุพัง, ชะ, ทำให้เสื่อม vi. กลายเป็นผุพังหรือถูกกัดกร่อน, See also: corrodant n. ดูcorrode corroder n. ดูcorrode corrodibility n. ดูcorrode, Syn. deter |
corrosion | (คะโร'เชิน) n. การกัดกร่อน, กระบวนการกัดกร่อน, ภาวะที่ถูกกัดกร่อน, ผลิตผลจากการกัดกร่อน (สนิม) |
corrosive | (คะโร'ซิฟว) adj. ซึ่งกัดกร่อน, ซึ่งเผาผลาญ, ซึ่งทำให้ผุพัง. n. สิ่งกัดกร่อน (เช่นกรด), See also: corrosiveness n. ดูcorrosive, Syn. scathing |
corrupt | (คะรัพทฺ') ชcorrupted, corrupting, corrupts } adj. ทุจริต, ชั่ว, เน่าเปื่อย, ซึ่งติดเชื้อ, เป็นรอยด่างพร้อย, ซึ่งกินสินบน, ซึ่งใช้ผิด vt. ทำให้ทุจริต, (ให้) กินสินบน, ทำให้เสื่อม, ทำให้กัดกร่อน, ทำให้เน่าเปื่อย, ใช้ผิด vi. เน่าเปื่อย, เสื่อม, See also: corruptedn |
degradation | (เดกกระเด'เชิน) n. การลดขั้น, การลดตำแหน่ง, การปลด, การทำให้ขายหน้า, การทำให้เสื่อม, การสึกกร่อน, ความน่าอาย , การแตกตัว, การสลายตัว, Syn. dishonour |
degrade | (ดิเกรด') vt. ลดขั้น, ลดตำแหน่ง, ปลดยศ, ปลดจากตำแหน่ง, ทำให้ขายหน้า, ทำให้เสื่อม, ทำให้สึกกร่อน, เลวลง, อ่อนลง (กำลัง, ความเข้มข้น) , แตกตัว (สารประกอบ) vi. แตกตัว, สลายตัว, Syn. debase |
denudation | (เดนนิวเด'เชิน) n. การทำให้ว่างเปล่า, การทำให้เปลือย, การเปลือง, การชะ, การล้าง, การสึกกร่อน, การเพิกถอนสิทธิ์, See also: denudative adj. ดูdenudation |
denude | (ดินิวดฺ') vt. ทำให้เปลือย, ทำให้ว่างเปล่า, เปลื้อง, ชะ, ล้าง, กัดกร่อน, ทำให้สึกกร่อน, เพิกถอน, Syn. make naked, strip |
detrition | (ดิทริช'เชิน) n. การสึกกร่อน (เนื่องจากการถูหรือครูด), Syn. friction |
disintegrate | (ดิสอิน'ทะเกรท) vi. ทำให้แตกสลาย, ทำให้เน่าเปื่อย, สึกกร่อนเปลี่ยนเป็นนิวเคลียสที่ต่างชนิด vt. สลายตัวเป็นอนุภาคหรือเศษเล็กเศษน้อย., See also: disintegrable adj. disintegrative adj. disintegration n., Syn. fall apart |
dissected | (ดิสเซค'ทิด) adj.ซึ่งแบ่งแยกออกเป็นส่วนต่าง ๆ , ซึ่งแตกแยกออกโดยการสึกกร่อน |
eat | (อีท) vt. กิน, รับประทาน, กัดกร่อน, กัดกิน, ทำลาย vi. กิน, รับประทาน, กัดกร่อน n. อาหาร -Phr. (eat one's words ถอนคำพูด, ยอมรับว่าผิด), Syn. consume |
encroach | (เอนโครช') vt. ล่วงล้ำ, บุกรุก, ล่วงละเมิด, กัดกร่อน, See also: encroachment n. ดูencroach encroachr n. ดูencroach, Syn. intrude |
erode | (อีโรด') vt. กัดกร่อน, เซาะ, ชะ. vi. กลายเป็นสึกกร่อน., Syn. eat |
erodent | (อีโรด'เดินทฺ) adj. สึกกร่อน, ซึ่งถูกกัดกร่อน, ซึ่งถูกเซาะหรือชะ |
erosion | (อิโร'เชิน) n. การกัดกร่อน, การเซาะ, การชะ, Syn. wear |
erosive | (อิโร'ซิฟว) adj. ซึ่งทำให้สึกกร่อน, กัดกร่อน., See also: erosivity n. ดูerosive |
etch | (เอทชฺ) vt., n. (การ) แกะ, สลัก, กัดกร่อน, แช่กัด, กัดสลัก, See also: etcher n. ดูetch, Syn. engrave |
fag | (แฟก) { fagged, fagging, fags } vt.ทำให้หมดกำลัง, บีบบังคับให้รับใช้, ฝนให้กร่อนหรือสึก. vi. หมดกำลัง, เมื่อยล้า, ทำงานอาบเหงื่อต่างน้ำ. -n. งานหนัก, ความเหน็ดเหนื่อย, บุหรี่, ผู้รักร่วมเพศชาย, มัดฟืน |
fret | (เฟรท) { fretted, fretting, frets } vi., vt., n. (ความ) (ทำให้) รู้สึกเสียใจ, เป็นทุกข์, กัดกร่อน, สึก, กร่อน, ผุ, กระเพื่อมเป็นระลอกน้ำ, ลายประแจจีน, ลายสลัก, ลายตาข่าย, Syn. irritate, chafe, vex, Ant. please, delight |
gnaw | (นอ) vt., vi. แทะ, กัด, ขบ, ทำให้สึกกร่อน, รบกวน, ทรมาน., See also: gnawer n., Syn. nibble, chew, erode, rankle, fret |
mattress | (แมท'ทริส) n. ฟูก, แผ่นวัตถุคลุมผิว หน้าเขื่อนและอื่น ๆ เพื่อกันการสึกกร่อน |
mordant | (มอร์'เดินทฺ) adj. กัดกร่อน, แสบเสียว, เสียดสี, ซึ่งทำให้ติดสีย้อม n. สารที่ใช้ติดสีย้อม, สารกัดกร่อน, =mordent (ดู) . vt. ใส่สารดังกล่าว., See also: mordancy n., Syn. biting, Ant. bland |
nippy | (นิพ'พี) adj. เสียว, แสบ, หนาวเหน็บ, กัดกร่อน, แคล่วคล่อง, Syn. biting, chilly |
scarp | (สคาร์พ) n. แนวหน้าผาที่เกิดจากคลื่นทะเลเซาะกร่อน, เนินเอียงลาดชันในของป้อมปราการ, เนินชัน. vi. กลายเป็นเนินชัน., Syn. slope |
senile | (ซี'ไนลฺ) adj. ชรา, สูงอายุ, ถูกกัดกร่อนจนเป็นที่ราบ n. คนชรา, คนสูงอายุ |
sweet | (สวีท) adj. หวาน, มีรสดี, (นม) สด, ไม่ใส่เกลือ, ไพเราะ, หอม, มีกลิ่นดี, น่าพอใจ, ที่รัก, เป็นที่รัก, มีค่า, จัดการได้ง่าย, งดงาม, นิ่มนวล, (อากาศ) สดชื่น, ไม่มีกลิ่น, ไม่มีกรด, ไม่เปรี้ยว, ไม่มีสารกัดกร่อน, ไม่มีสารกำมะถัน, น่าตกใจ n. รสหวาน, กลิ่นน่าดม, ความหวาน, รสดี, สิ่งที่หวาน |
tart | (ทาร์ท) adj. รสจัด, เปรี้ยว, เผ็ด, กัดกร่อน, เผ็ดร้อน, บาดใจ, แสบลิ้น, (ปาก) จัด., See also: tarrly adv. tartness n., Syn. sharp, vinegary |
threadbare | (เธรด'แบร์) adj. เก่าแก่, ขาดกระรุ่งกะริ่ง, กร่อน, น่าเบื่อหู, แร้นแค้น, ยากจน, สวมเสื้อผ้าเก่า ๆ, See also: threadbareness n., Syn. ragged, worn |
vitriol | (วี'ทรีเอิล) n. เกลือโลหะซัลเฟตที่มีลักษณะคล้ายแก้วเช่นเกลือcopper sulfate, กรดกำมะถัน, สิ่งที่มีฤทธิ์กัดกร่อนสูง, สิ่งที่รุนแรง, คำพูดที่เผ็ดร้อนหรือเจ็บแสบมาก, คำพูดเสียดสี |
vitriolic | (วีทริออล'ลิค) adj. เกี่ยวกับหรือเกิดจากหรือคล้าย vitriol, กัดกร่อนมาก, แสบไส้, เผ็ดร้อน, Syn. acidulous, cutting, sharp |
washed-out | (วอชดฺ'เอาทฺ) adj. สีตก, เหนื่อยอ่อน, เหน็ดเหนื่อย, หน้าตาหงอยเหงา, ซึ่งถูกน้ำเซาะหรือซัดพังหรือกร่อนลง, Syn. pale, faded |
waterworn | (วอ'เทอะวอร์น) adj. สึกกร่อนหรือเรียบเนื่องจากการไหลเซาะของน้ำ |
wear | (แวร์) { wore, worn, wearing, wears } vt., n. (การ) สวม, ใส่, ติด, ประดับไว้, แสดง, แสดงให้เป็นท่า, ครอง, ใช้, สึก, ทำให้สึก, ทำให้อ่อนเพลีย vi. ลึก, เสียดสี, ทน, ใช้จนสึก, ใช้จนขาด wear down สึก สึกกร่อน เสื่อมชำรุด ทำให้เหนื่อย มีชัยเหนือ, See also: wearer, n. |
wear and tear | n. ความเสื่อมเสีย, ความสึก, การสึกหรอ, ความสึกกร่อน, การลดลงของคุณค่า, ค่าสึกหรอ |
weather-beaten | (เวธ'เธอะบีท'เทิน) adj. เสื่อมเสียเนื่องจากถูกอากาศ, สึกกร่อน, ผ่านการตากแดดตากฝน, คล้ำแดดคล้ำฝน |
weatherworn | (เวธ'เธอะวอร์น) adj. สึกกร่อน, เสื่อมเสียเนื่องจากถูกแดดถูกฝนหรือสภาพอากาศอื่น ๆ |