ช้ำเลือดช้ำหนอง | ว. มีเลือดและหนองคั่งอยู่, สีที่มีลักษณะคล้ายมีเลือดและหนองปนกันออกสีม่วง ๆ เรียกว่า สีชํ้าเลือดชํ้าหนอง. |
พรู | (พฺรู) ว. เคลื่อนมาพร้อม ๆ กันเป็นจำนวนมาก เช่น พอเลิกเรียนนักเรียนก็พรูกันออกมานอกห้อง. |
มีดดาบ | น. มีดขนาดใหญ่ ใบมีดรูปยาวรีประมาณ ๑ ศอก ปลายงอนขึ้นเล็กน้อย ด้ามทำด้วยไม้ยาว ๑ คืบ ดาบของหลวงปรกติสอดไว้ในฝัก ดาบเชลยศักดิ์ไม่นิยมทำฝักสำหรับสอดดาบ ใช้เป็นอาวุธ มีชื่อเรียกต่างกันออกไปตามลักษณะปลายดาบ, ถ้าปลายแหลม หัวงอน เรียกว่ามีดดาบหัวปลาซิว, ถ้าปลายมนแหลม เรียกว่า มีดดาบหัวปลาหลด, ถ้าปลายตัดขวาง เรียกว่า มีดดาบหัวตัด, ถ้าปลายแหลมตัดปลายสันเฉียงปัดไปทางปลายดาบ เรียกว่า มีดดาบหัวเผล้. |
ลงขัน | ก. เอาเงินใส่ลงในขันเป็นต้นเพื่อช่วยในงานต่าง ๆ เช่น งานตัดจุก, ช่วยกันออกเงินเพื่อการใดการหนึ่ง เช่น ลงขันซื้อตู้เย็นไว้ใช้เป็นส่วนกลาง ลงขันเพื่อรวมเงินเป็นค่าอาหารในเวลาเดินทาง. |
ละคร | (-คอน) น. การแสดงประเภทหนึ่ง ผู้แสดงเรียกว่า ตัวละคร มีเวทีหรือสถานที่ใช้ในการแสดง มีบทให้ตัวละครแสดงตามเนื้อเรื่อง โดยมากมีดนตรีประกอบ มีลักษณะแตกต่างกันออกไปหลายชนิด |
Mass spectrometer | สเปกโทรมิเตอร์มวล, อุปกรณ์สำหรับตรวจหาและวิเคราะห์ไอโซโทป ที่สามารถแยกนิวเคลียสที่มีอัตราส่วนประจุต่อมวลที่แตกต่างกันออกจากกันได้ โดยการผ่านนิวเคลียสเหล่านั้นไปในสนามไฟฟ้าและสนามแม่เหล็ก คำนี้มีความหมายเหมือน mass spectrograph, Example: [นิวเคลียร์] |
Mass spectrograph | สเปกโทรกราฟมวล, อุปกรณ์สำหรับตรวจหาและวิเคราะห์ไอโซโทป ที่สามารถแยกนิวเคลียสที่มีอัตราส่วนประจุต่อมวลที่แตกต่างกันออกจากกันได้ โดยการผ่านนิวเคลียสเหล่านั้นไปในสนามไฟฟ้าและสนามแม่เหล็ก คำนี้มีความหมายเหมือน mass spectrograph [นิวเคลียร์] |
Ayeyawady - Chao Phraya - Mekong Economic Cooperation Strategy | ยุทธศาสตร์ความร่วมมือทางเศรษฐกิจ อิระวดี ? เจ้าพระยา ? แม่โขง ACMECS หรือชื่อเดิม ยุทธศาสตร์ความร่วมมือทางเศรษฐกิจระหว่างกัมพูชา ลาว พม่า และไทย (ECS : Economic Cooperation Strategy among Cambodia, Lao PDR, Myanmar and Thailand) คือ กรอบความร่วมมือระหว่าง 5 ประเทศ คือ กัมพูชา ลาว พม่า ไทย และเวียดนาม ACMECS เป็นแนวคิดที่ พ.ต.ท. ดร. ทักษิณ ชินวัตร นายกรัฐมนตรีได้หยิบยกขึ้นหารือกับผู้นำกัมพูชา ลาว และพม่า ในช่วงการประชุมผู้นำอาเซียนสมัยพิเศษว่าด้วยโรค SARS เมื่อ 29 เมษายน 2546 ที่กรุงเทพฯ และได้มีพัฒนาการอย่างรวดเร็วต่อเนื่องจนถึงการประชุมระดับผู้นำ ACMECS ครั้งที่ 1 ที่เมืองพุกาม สหภาพพม่า เมื่อ 12 พฤศจิกายน 2546 โดยผู้นำทั้ง 4 ประเทศร่วมกันออกปฏิญญาพุกาม (Bagan Declaration) รวมทั้งแผนปฏิบัติการ (Plan of Action) ครอบคลุมความร่วมมือ 5 สาขา ได้แก่ การอำนวยความสะดวกด้านการค้าและการ ลงทุน ความร่วมมือทางด้านเกษตรและอุตสาหกรรม การเชื่อมโยงเส้นทางคมนาคม การท่องเที่ยว และการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ บนหลักการที่เน้นการส่งเสริมการพัฒนาเศรษฐกิจอย่างยั่งยืนและยกระดับความ เป็นอยู่ของประชาชน รวมทั้งเปิดกว้างให้นานาประเทศและองค์การระหว่างประเทศได้มีส่วนร่วมเป็น หุ้นส่วนเพื่อการพัฒนา (Development Partner) ในโครงการต่างๆ ของ ACMECS ด้วย * เวียดนามร่วมเป็นสมาชิก ACMECS เมื่อ 10 พฤษภาคม 2547 สถานะล่าสุด ระหว่างวันที่ 1-2 พฤศจิกายน 2547 ที่จังหวัดกระบี่ ไทยเป็นเจ้าภาพจัดการประชุมระดับเจ้าหน้าที่อาวุโสสมัยพิเศษและการประชุม รัฐมนตรี ACMECS อย่างไม่เป็นทางการ รวมทั้งการประชุมร่วมกับ Development Partners (ผู้แทนจากออสเตรเลีย ฝรั่งเศส เยอรมนี ญี่ปุ่น นิวซีแลนด์ และธนาคารเพื่อการพัฒนาแห่งเอเชีย) ซึ่งการประชุมประสบผลสำเร็จอย่างดียิ่ง สมาชิก ACMECS ทั้ง 5 ประเทศได้ร่วมกันแสดงความเป็น เอกภาพ โดยยืนยันเจตนารมณ์ที่จะดำเนินการตามกรอบความร่วมมือ ACMECS อย่าง เป็นอันหนึ่งอันเดียวกันต่อผู้แทนของ Development Partners รวมทั้งมีการหารือถึงความคืบหน้าของการดำเนินโครงการระหว่างกันอย่างเป็น รูปธรรม นอกจากนี้ ยังสามารถมีข้อสรุปที่สำคัญๆ เกี่ยวกับกลไกการประสานงานระหว่างกันซึ่งจะช่วยให้การดำเนินกิจกรรมความร่วม มือของ ACMECS มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้นต่อไป * ไทยมีกำหนดเป็นเจ้าภาพจัดประชุมระดับผู้นำ ACMECS ครั้งที่ 2 ในเดือนธันวาคม 2548 ที่กรุงเทพฯ [การทูต] |
Departure Ceremony | พิธีการส่ง ซึ่งมีลำดับขั้นตอน (procedure) แตกต่างกันออกไปตามระดับของผู้มาเยือนและประเภทของการเยือน [การทูต] |
Antioxidants | สารพวกแอนตี้อ๊อกซีแด้นท์, สารกันอ็อกซิเดชั่น, สารต้านการเสื่อมในอากาศ, สารกันหืน, สารต้านออกซิเดชัน, วัตถุกันหืน, แอนติออกซิเดนท์, สารยับยั้งออกซิเดชั่น, แอนตี้ออกซิแดนท์, สารป้องกันการเกิดอ๊อกซิไดซ์, สารแอนติออกซิแดนต์, สารต้านออกซิไดซ์, สารกันการเติมออกซิเจน, สารยับยั้งการออกซิไดส์, แอนตี้ออกซิแดนท์, ตัวต่อต้านการออกซิไดส์, สารตัวกันออกซิเดชัน, สารต้านการออกซิไดซ์, ป้องกันน้ำมันหืน [การแพทย์] |
Individual Differences | ความสามารถเฉพาะบุคคล, ความแตกต่างระหว่างบุคคล, ความแตกต่างกันออกไปตามเอกัตบุคคล, ความแตกต่างของแต่ละบุคคล, ความต้องการเฉพาะตัวแตกต่างกันไป [การแพทย์] |
bail out | (phrv) ประกันออกมา, See also: ประกันตัว, Syn. go for |
club | (vi) ช่วยกันออกค่าใช้จ่าย, See also: ช่วยกันเสียค่าใช้จ่าย, Syn. share, defray |
crowd out | (phrv) เบียดเสียดกันออกไป, Syn. throng out |
crush out | (phrv) แย่งกันออก, Syn. crowd out, sqeeze out |
drift apart | (phrv) แยกกัน, See also: ห่างกันออกไป |
fight one's way ot | (idm) เบียดเสียดออกมา, See also: แย่งกันออก, กรูกันออกมา |
fly out | (phrv) รีบกรูกันออกไปยัง, See also: กรูกันไปที่, รีบออกไปยัง |
freeze out | (phrv) โดนกันออกไป |
exclude | (vt) แยกออกไป, See also: กันออกไป, ตัดออกไป, Syn. bar, keep out, reject, Ant. include |
exclusion | (n) การแยกออกไป, See also: การตัดออกไป, การกันออกไป, Syn. elimination, keeping out, rejection, Ant. inclusion |
include me out | (phrv) กันออกไป, See also: ไม่เอารวมไว้ด้วย, ไม่รวมอยู่ใน |
leave out | (phrv) ลบออกไป, See also: กันออกไป, เอาออกไป, Syn. delete from, erase from, miss out, omit from |
pile off | (phrv) เบียดเสียดกันออกมา, See also: ทะลักออกมา |
pile out | (phrv) เบียดกันออก, See also: แย่งกันออก |
preclude from | (phrv) กันออกจาก, See also: ป้องกัน, ขจัด |
sideline | (vt) ทำให้เข้าร่วมไม่ได้, See also: กันออกไป |
throng out | (phrv) เบียดกันออก, Syn. crowd out |
+ | เครื่องหมาย cross hairs เป็นรูปลักษณ์ของตัวชี้ตำแหน่ง (cursor) แบบหนึ่ง ที่แตกต่างกันออกไปในบางโปรแกรม เช่น ในโปรแกรมการวาดภาพในระบบวินโดว์ส มักมีลักษณะเป็นเส้นตัดกัน (+) แทนที่จะเห็นเป็นลูกศรตามปกติ |
apple ii | (แอปเปิลทู) เป็นชื่อเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลรุ่นแรกที่บริษัทแอปเปิลผลิตออกมาสู่ตลาด คอมพิวเตอร์ชุดนี้ได้ก่อให้เกิดความเปลี่ยนแปลงที่เป็นประโยชน์ ในเชิงการใช้สอยอย่างมหาศาล ในวงการคอมพิวเตอร์ หลังจากที่แอปเปิล ทูออกสู่ตลาดแล้ว บริษัทแอปเปิลก็ได้ผลิตแอปเปิลทูอี (Apple IIe) และ แอปเปิล ทรี (Apple III) ตามกันออกมาอยู่ชั่วระยะหนึ่ง แล้วบริษัทแอปเปิล คอมพิวเตอร์ก็ตัดสินใจหยุดผลิตชุดแอปเปิล ทรี หันมาผลิตชุดแมคอินทอช ซึ่งมีส่วนแบ่งการตลาดสูงมากในปัจจุบัน |
cross hairs | n. เส้นไขว้กล้องสำหรับหมายวัตถุที่ส่องดู, เส้นกากบาทในกล้องปืนเล็งเป้า + <เครื่องหมาย>เป็นรูปลักษณ์ของตัวชี้ตำแหน่ง (cursor) แบบหนึ่ง ที่แตกต่างกันออกไปในบางโปรแกรม เช่น ในโปรแกรมการวาดภาพในระบบวินโดว์ มักมีลักษณะเป็นเส้นตัดกัน (+) แทนที่จะเห็นเป็นลูกศรตามปกติ |
exclude | (เอคซฺคลูด') vt. กันออกไป, แยกออกไป, กันไม่ให้เข้ามา, ไล่ออก, ขับไล่ออก, See also: excludability n. ดูexclude excludable adj. ดูexclude excludible adj. ดูexclude excluder n. ดูexclude exclusory adj. ดูexclude |
exclusion | (เอคซฺคลู'เชิน) n. การกันออกไป, การไล่ออก, See also: exclusionary adj. ดูexclusion |
object-oriented programmi | การทำโปรแกรมเชิงวัตถุหมายถึง วิธีการเขียนโปรแกรมของนักเขียนโปรแกรมรุ่นใหม่ ที่จัดแบ่งการเขียนคำสั่งกันออกเป็นชุด ๆ แต่ละชุดเรียกว่า "วัตถุ" (object) แล้วจึงนำเอาชุดคำสั่งแต่ละชุดนั้นมารวมกันเป็นโปรแกรมชุดใหญ่อีกทีหนึ่ง ในบางครั้งยังอาจนำ "วัตถุ" ของโปรแกรม หนึ่งไปรวมกับ "วัตถุ" ของอีกโปรแกรมหนึ่ง แล้วเรียกออกมาใช้ได้เลย ทั้งนี้ทำให้ผู้เขียนโปรแกรมใหม่ไม่จำเป็นต้องเริ่มต้นใหม่ทั้งหมด วิธีการดังกล่าวนี้ช่วยประหยัดเวลาได้มาก พูดให้ง่ายก็คือ ทุกโปรแกรมไม่ต้องเริ่มต้นจากศูนย์ อนึ่ง คำว่า "วัตถุ" นั้น หมายรวมไปถึงภาพหรือกราฟิกด้วย ภาพหนึ่งภาพ เช่น การสร้างวงกลมนั้น เกิดจากการเขียนโปรแกรมโดยใช้สูตรคำนวณเส้นโค้ง ซึ่งจะประกอบด้วยคำสั่งหลายร้อยคำสั่ง แล้วเก็บไว้เป็น "วัตถุ" หนึ่ง ฉะนั้น เมื่อใดที่เราสั่งวาดวงกลม ก็เท่ากับไปเรียก "วัตถุ" นี้มาใช้ หลังจากนั้น หากเราจะต่อเติมเป็นภาพอื่นต่อไป คอมพิวเตอร์ก็จะไปดึงอีก "วัตถุ" หนึ่งมาทำต่อให้ |
oop | (โอโอพี, อุป) ย่อมาจาก object-oriented programming หมายถึง วิธีการเขียนโปรแกรมของนักเขียนโปรแกรมรุ่นใหม่ ที่จัดแบ่งการเขียนคำสั่งกันออกเป็นชุด ๆ แต่ละชุดเรียกว่า "วัตถุ" (object) แล้วจึงนำเอาชุดคำสั่งแต่ละชุดนั้นมารวมกันเป็นโปรแกรมชุดใหญ่อีกทีหนึ่ง ในบางครั้งยังอาจนำ "วัตถุ" ของโปรแกรม หนึ่งไปรวมกับ "วัตถุ" ของอีกโปรแกรมหนึ่ง แล้วเรียกออกมาใช้ได้เลย ทั้งนี้ทำให้ผู้เขียนโปรแกรมใหม่ไม่จำเป็นต้องเริ่มต้นใหม่ทั้งหมด วิธีการดังกล่าวนี้ช่วยประหยัดเวลาได้มาก พูดให้ง่ายก็คือ ทุกโปรแกรมไม่ต้องเริ่มต้นจากศูนย์ อนึ่ง คำว่า "วัตถุ" นั้น หมายรวมไปถึงภาพหรือกราฟิกด้วย ภาพหนึ่งภาพ เช่น การสร้างวงกลมนั้น เกิดจากการเขียนโปรแกรมโดยใช้สูตรคำนวณเส้นโค้ง ซึ่งจะประกอบด้วยคำสั่งหลายร้อยคำสั่ง แล้วเก็บไว้เป็น "วัตถุ" หนึ่ง ฉะนั้น เมื่อใดที่เราสั่งวาดวงกลม ก็เท่ากับไปเรียก "วัตถุ" นี้มาใช้ หลังจากนั้น หากเราจะต่อเติมเป็นภาพอื่นต่อไป คอมพิวเตอร์ก็จะไปดึงอีก "วัตถุ" หนึ่งมาทำต่อให้ |
varier | (แว'ริเออะ) n. บุคคลที่แตกต่าง, สิ่งที่แตกต่าง, บุคคลหรือสิ่งที่มีรูปแบบแตกต่างกันออกไป |
video mode | ภาวะภาพหมายถึง ภาวะที่แสดงผลเป็นภาพ มาตรฐานที่กำหนดไว้สำหรับจำนวนสีที่ตัวปรับภาพใช้กับเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ ในปัจจุบันมีด้วยกันทั้งหมด 20 แบบ เรียงกันไปตั้งแต่ 0 - 19 ถ้าเป็นการแสดงผลเฉพาะตัวอักขระอย่างเดียว ก็จะใช้อีกภาวะหนึ่งต่างไปจากการแสดงผลเป็นภาพ นอกจากนั้น การแสดงผลเป็นภาพ ก็ยังแบ่งเป็น การแสดงสีเดียว แสดงหลายสี กับทั้งยังมีการแบ่งแยกในเรื่องของความคมชัด (resolution) ที่แตกต่างกันออกไปอีก |