peonage | การบังคับให้ทำงานโยธาแทนค่าปรับ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
peonage | การบังคับให้ทำงานโยธาแทนค่าปรับ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
pocket judgement | การบังคับได้ทันทีเมื่อผิดนัด [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
law enforcement | การบังคับใช้กฎหมาย [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
levy compulsory execution | การบังคับยึดทรัพย์ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
respite | ผ่อนผัน, ทุเลาการบังคับ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
stay of execution | งดการบังคับคดี, ทุเลาการบังคับคดี [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
sanction | ๑. ทางบังคับ, วิธีการบังคับ๒. การอนุมัติ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
suspending clause | ข้อกำหนดให้รอการบังคับใช้ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
suspension | ๑. การรอไว้, การทุเลาการบังคับ๒. การให้พักงาน [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
sanction | ทางบังคับ, วิธีการบังคับ [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] |
sanction | ๑. ทางบังคับ, วิธีการบังคับ๒. การให้ความเห็นชอบ, การยืนยันรับรอง [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
acceptance, zone of | ขอบเขตการบังคับบัญชาที่ยอมรับได้ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
judgment execution | การบังคับคดีตามคำพิพากษา [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
condemnation | ๑. การพิพากษาลงโทษทางอาญา (ป. วิ. อาญา)๒. การบังคับให้บุคคลกระทำหรืองดเว้นกระทำ การตามคำพิพากษา (ป. วิ. แพ่ง)๓. การประณาม, การพิพากษาของศาลทรัพย์เชลย (ก. ระหว่างประเทศ)๔. การเรียกเกณฑ์ทรัพย์, การเวนคืนทรัพย์, การสั่งห้ามใช้อาคาร (ที่ไม่ถูกต้องด้วยสุขลักษณ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
chain of command; command, chain of | สายการบังคับบัญชา [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
costs of execution | ค่าฤชาธรรมเนียมในการบังคับคดี [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
compulsion | ๑. การจำต้องทำ๒. การบังคับ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
compulsory | ที่เป็นการบังคับ, ภาคบังคับ [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] |
compulsory acquisition | การบังคับซื้อ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
compulsory execution | การบังคับคดี [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
concessions, extra statutory | การผ่อนปรนการบังคับ (ตามกฎหมายภาษีอากร) (ก. อังกฤษ) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
condition of executions | เงื่อนไขแห่งการบังคับคดี [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
compulsory insurance | การบังคับให้เอาประกันภัย [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
compulsory liquidation | การบังคับให้ชำระบัญชี [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
compulsory performance | การบังคับชำระหนี้ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
compulsory self-incrimination | การบังคับให้ผู้ต้องหาสารภาพ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
command, chain of; chain of command | สายการบังคับบัญชา [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
command, unity of | เอกภาพในการบังคับบัญชา [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
control break | ๑. การบังคับหยุด๒. การเปลี่ยนค่าในเขตข้อมูล [ ใช้ในภาษาอาร์พีจี ] [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
drifting | การบังคับเลี้ยวไถล [ยานยนต์ ๑๒ มี.ค. ๒๕๔๕] |
deprivation of property | การบังคับเอาทรัพย์ของเอกชนโดยไม่เป็นธรรม [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
direction | ๑. การบังคับบัญชา, การสั่งการ, การอำนวยการ๒. ทิศทาง, การชี้แนวทาง๓. คำชี้แจง [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
fertility regulation | การบังคับภาวะเจริญพันธุ์ [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] |
forced sale | การบังคับให้ขาย [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
final process | กระบวนการบังคับคดี [ ดู execution proceedings ] [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
foreclosure of mortgage | การบังคับเอาทรัพย์จำนองหลุด [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
enforcement | การบังคับใช้ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
enforcement | การบังคับใช้ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
enforcement of judgment; execution of judgment | การบังคับคดีตามคำพิพากษา [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
enforcement of mortgage | การบังคับจำนอง [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
enforcement of pledge | การบังคับจำนำ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
execution | ๑. การปฏิบัติเพื่อให้บังเกิดผล๒. การบังคับคดี๓. การประหารชีวิต [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
execution | ๑. การปฏิบัติตาม (ก. แพ่ง)๒. การบังคับคดี (ก. วิ.)๓. การประหารชีวิต (ก. อาญา) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
execution of judgment; enforcement of judgment | การบังคับคดีตามคำพิพากษา [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
extra statutory concessions | การผ่อนปรนการบังคับ (ตามกฎหมายภาษีอากร) (ก. อังกฤษ) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
execution proceedings | กระบวนการบังคับคดี [ ดู final process ] [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
enforcement, law | การบังคับใช้กฎหมาย [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
zone of acceptance | ขอบเขตการบังคับบัญชาที่ยอมรับได้ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
handling | เสถียรภาพการบังคับรถ [ยานยนต์ ๑๒ มี.ค. ๒๕๔๕] |
Forced buy | การบังคับซื้อ, Example: การที่บริษัทหลักทรัพย์นำเงินประกันของลูกค้าที่วางเป็นประกันการยืมหลักทรัพย์ (securities borrowing account) ไปซื้อหุ้นคืน บริษัทหลักทรัพย์จะบังคับให้ลูกค้าซื้อหุ้นคืนต่อเมื่อหุ้นที่ยืมมีมูลค่าเพิ่มขึ้น จนทำให้สัดส่วนหลักประกันต่อมูลหนี้มีค่าต่ำกว่าระดับ maintenance margin ที่เข้าเกณฑ์ forced buy ซึ่งจะต่ำกว่าระดับ margin call (เช่น ระดับ forced buy เท่ากับ 30% ขณะที่ระดับ margin call เท่ากับ 40% เป็นต้น) หลักเกณฑ์นี้มีวัตถุประสงค์เพื่อป้องกันมิให้ลูกค้าแต่ละรายมีภาระหนี้เกินตัวจนไม่อาจแบกรับได้ (ซึ่งจะเห็นได้จาก การที่ถูก margin call แล้วไม่สามารถนำทรัพย์สินมาวางเป็นหลักประกันเพิ่มเติมได้) หากปล่อยค้างไว้ ถ้าหุ้นที่ยืมมีมูลค่าสูงขึ้นไปอีก อาจทำให้มีหลักประกันไม่คุ้มมูลหนี้ จนกระทบถึงฐานะการเงินของบริษัทหลักทรัพย์และกระทบถึงความเชื่อมั่นต่อบริษัทหลักทรัพย์ ทั้งระบบได้ [ตลาดทุน] |
Forced sell | การบังคับขาย, Example: การที่บริษัทหลักทรัพย์นำหุ้นของลูกค้าที่วางเป็นประกันเงินกู้ยืมซื้อหลักทรัพย์ (margin account) ออกขายเพื่อนำเงินค่าขายมาชำระหนี้เงินกู้ของลูกค้า บริษัทหลักทรัพย์จะบังคับขายหุ้นของลูกค้า ต่อเมื่อหุ้นที่เป็นประกันของ ลูกค้ามีมูลค่าลดลง จนทำให้สัดส่วนหลักประกันต่อมูลหนี้มีค่าต่ำกว่าระดับ maintenance margin ที่เข้าเกณฑ์ forced sell ซึ่งจะต่ำกว่าระดับ margin call (เช่น ระดับ forced sell เท่ากับ 25% ขณะที่ระดับ margin call เท่ากับ 35% เป็นต้น) หลักเกณฑ์นี้มีวัตถุประสงค์เพื่อป้องกันมิให้ลูกค้าแต่ละรายมีภาระหนี้เกินตัวจนไม่อาจแบกรับได้ (ซึ่งจะเห็นได้จาก การที่ถูก margin call แล้วไม่สามารถนำทรัพย์สินมาวางเป็นหลักประกันเพิ่มเติมได้) หากปล่อยค้างไว้ ถ้าหุ้นที่วางเป็นประกันมีมูลค่าลดลงไปอีก อาจทำให้มีหลักประกันไม่คุ้มมูลหนี้ จนกระทบถึงฐานะการเงินของบริษัทหลักทรัพย์และกระทบถึงความเชื่อมั่นต่อบริษัทหลักทรัพย์ ทั้งระบบได้ [ตลาดทุน] |
Agreement on the Application of Sanitary and Phytosanitary Mesures (1995) | ความตกลงทั่วไปว่าด้วยการบังคับใช้มาตราการสุขอนามัยและสุขอนามัยพืช (ค.ศ. 1995) [TU Subject Heading] |
Compulsory licensing of patents | การบังคับใช้สิทธิตามสิทธิบัตร [TU Subject Heading] |
Dressage tests | การทดสอบการบังคับม้า [TU Subject Heading] |
Executions (Law) | การบังคับคดี [TU Subject Heading] |
Forced repatriation | การส่งกลับประเทศเดิมโดยการบังคับ [TU Subject Heading] |
Interviewing in law enforcement | การสอบปากคำในการบังคับใช้กฎหมาย [TU Subject Heading] |
Judicial assistance | การบังคับคดีตามคำพิพากษาศาลต่างประเทศ [TU Subject Heading] |
Law enforcement | การบังคับใช้กฎหมาย [TU Subject Heading] |
Sanction | วิธีการบังคับ [เศรษฐศาสตร์] |
Service, Compulsory non-military | การบังคับใช้แรงงานในสงครามที่ไม่ใช่การสู้รบ [TU Subject Heading] |
Mandatory Recycling | การบังคับนำกลับมาใช้, Example: โครงการซึ่งอาจออกเป็นกฏหมายบังคับให้มีการแยก ของที่สามารถนำกลับมาใช้อีก ออกจากขยะก่อนที่จะนำไปเผาหรือทำการฝังกลบ [สิ่งแวดล้อม] |
Establishment of Diplomatic Relations and Missions | การสถาปนาความสัมพันธ์ทางการทูตและคณะผู้แทนถาวร ทางการทูต ข้อนี้มีบทบัญญัติไว้ในมาตรา 2 ของอนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางการทูตว่าการสถาปนาความ สัมพันธ์ทางการทูตระหว่างรัฐ และคณะผู้แทนถาวรทางการทูตมีขึ้นได้ด้วยความยินยอมของกันและกันในเรื่องนี้ รัฐที่มีอธิปไตยโดยสมบูรณ์ทุกรัฐ มีสิทธที่จะส่งตัวแทนทางการทูตไปทำหน้าที่พิทักษ์ดูแลผลประโยชน์ของตนยังรัฐ อื่นๆ ซึ่งถือกันว่ามี Active right of legation แต่การใช้สิทธิดังกล่าว เป็นเรื่องดุลยพินิจของแต่ละรัฐ เพราะจะบังคับให้รัฐหนึ่งส่งคณะผู้แทนทางทูตประจำ ณ ที่ใดหาได้ไม่ ถ้าหากรัฐนั้นไม่ปรารถนาจะปฏิบัติเช่นนั้น ในทำนองเดียวกันจะมีการบังคับให้รัฐผู้รับต้องรับคณะผู้แทนทางการทูตจากรัฐ ใดหาได้ไม่ ทั้งนี้เพราะเป็นเรื่องดุลยพินิจของรัฐผู้รับเช่นกัน [การทูต] |
Genocide | การฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ หรือฆ่ามนุษย์เป็นกลุ่มก้อน เมื่อวันที่ 11 ธันวาคม ค.ศ. 1946 สมัชชาสหประชาชาติได้ยืนยันเป็นเอกฉันท์ว่า การฆ่าล้างเผ่าพันธุ์หรือการฆ่ามนุษย์เป็นกลุ่มก้อนนั้นให้ถือเป็นอาชญากรรม ตามกฎหมายระหว่างประเทศ ซึ่งโลกที่บรรลุความเจริญแล้วประณามอย่างรุนแรงอนุสัญญาว่าด้วยการป้องกัน และการลงโทษอาชญากรรมเกี่ยวกับการฆ่าล้างเผ่าพันธุ์นี้ สมัชชาสหประชาชาติได้ลงมติรับรองเป็นเอกฉันท์เมื่อวันที่ 9 ธันวาคม ค.ศ. 1948 อนุสัญญานี้ได้นิยามคำว่าการฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ (Genocide) หมายถึงการประกอบอาชญากรรมบางอย่าง โดยมีเจตนาที่จะทำลายล้างกลุ่มชนชาติ กลุ่มเผ่าพันธุ์ กลุ่มเชื้อชาติ หรือกลุ่มศาสนา ในบางส่วนหรือทั้งหมดก็ตาม การประกอบกรรมซึ่งถือเป็นการฆ่าล้างชาตินั้นได้แก่ การฆ่า การทำให้เกิดความเสียหายอย่างสาหัส ทั้งต่อร่างกายหรือจิตใจ และการบังคับให้มีสภาวะการครองชีพที่เจตนาจะให้ชีวิตร่ายกายถูกทำลาย ไม่ว่าจะเพียงส่วนหนึ่งหรือทั้งหมดก็ตาม ตลอดจนออกมาตรการกีดกันมิให้มีลูกและโยกย้ายเด็ก ๆ ไม่เพียงแต่การฆ่าล้างชาติอย่างเดียว หากแต่การคบคิดหรือการยุยงให้มีการฆ่าล้างชาติ รวมทั้งความพยายามที่จะฆ่าล้างชาติและสมรู้ร่วมคิดในอาชญากรรมดังกล่าว ย่อมถูกลงโทษได้ตามนัยแห่งอนุสัญญานี้ บรรดาผู้ที่มีความผิดฐานฆ่าล้างชาติจะต้องถูกลงโทษไม่ว่าผู้นั้นจะเป็นผู้ ปกครอง เจ้าหน้าที่ฝ่ายบ้านเมือง หรือเอกชนส่วนบุคคลที่มีหน้าที่รับผิดของตามกฎหมายก็ตามบรรดาประเทศที่ภาคี อนุสัญญานี้จำเป็นต้องออกกฎหมายของตนเพื่อรองรับ และจะต้องตกลงเรื่องส่งผู้ร้ายข้ามแดนในกรณีที่บุคคลนั้นๆ มีความผิดฐานฆ่าล้างชาติ และบุคคลที่มีความผิดฐานฆ่าล้างชาติจะต้องถูกพิจารณาลงโทษในประเทศที่มีการ ประกอบอาชญากรรมดังกล่าวขึ้น หรือโดยศาลระหว่างประเทศที่มีอำนาจครอบคลุมถึงเจตนารมณ์ของสนธิสัญญานี้ เพื่อต้องการป้องกัน และลงโทษอาชญากรรมฆ่าล้างชาติ ไม่ว่าจะประกอบขึ้นในยามสงครามหรือในยามสงบก็ตามอนุสัญญาดังกล่าวได้เริ่มมี ผลบังคับเมื่อวันที่ 12 มกราคม ค.ศ. 1951 เป็นเวลา 90 วันหลังจากที่ 20 ประเทศได้ให้สัตยาบัน หรือให้ภาคยานุวัติตามที่ระบุอยู่ในอนุสัญญา อนุสัญญานี้จะมีผลบังคับเป็นเวลา 10 ปี และมีการต่ออายุสัญญาทุก 5 ปี สำหรับประเทศที่มิได้บอกเลิกสัญญา หากประเทศที่ยังเป็นภาคีอนุสัญญามีจำนวนเหลือไม่ถึง 16 ประเทศ อนุสัญญานี้จะเลิกมีผลบังคับทันที [การทูต] |
Immunity from Jurisdiction of Diplomatic Agents | ความคุ้มกันจากอำนาจศาลของตัวแทนทางการทูต ในเรื่องนี้ อนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางการทูตได้บัญญัติไว้ในมาตรา 31 ว่า?1. ให้ตัวแทนทางการทูตได้อุปโภคความคุ้มกันจากอำนาจศาลทางอาญาของรัฐผู้รับ ตัวแทนทางการทูตยังจะได้อุปโภคความคุ้มกันจากอำนาจศาลทางแพ่ง และทางการปกครองของรัฐผู้รับด้วย เว้นแต่ในกรณีของก) การดำเนินคดีกรรมสิทธิ์หรือสิทธิครอบครองเกี่ยวกับอสังหาริมทรัพย์ส่วนตัว ที่ตั้งอยู่ในอาณาเขตของรัฐผู้รับนอกจากตัวแทนทางการทูตครอบครองไว้ในนามของ รัฐผู้ส่งเพื่อความมุ่งประสงค์ของคณะผู้แทนข) การดำเนินคดีเกี่ยวกับการสืบมรดกซึ่งเกี่ยวพันถึงตัวแทนทางการทูตในฐานะผู้ จัดการมรดกโดยพินัยกรรม ผู้จัดการมรดกโดยศาลตั้งทายาท หรือผู้รับมรดกในฐานะเอกชน และมิใช่ในนามของรัฐผู้ส่งค) การดำเนินคดีเกี่ยวกับกิจกรรมใดในทางวิชาชีพ หรือพาณิชย์ ซึ่งตัวแทนทางการทูตได้กระทำในรัฐผู้รับ นอกเหนือจากการหน้าที่ทางการของตน 2. ตัวแทนทางการทูตไม่จำเป็นต้องให้การในฐานะพยาน 3. มาตรการบังคับคดี ไม่อาจดำเนินได้ในส่วนที่เกี่ยวกับตัวแทนทางการทูต เว้นแต่ในกรณีซึ่งอยู่ภายใต้อนุวรรค (ก) (ข) และ (ค) ของวรรค 1 ของข้อนี้ และโดยมีเงื่อนไขว่ามาตรการที่เกี่ยวข้องอาจดำเนินไปได้โดยปราศจากการละเมิด ความละเมิดมิได้ในตัวบุคคลของตัวผู้แทนทางการทูต หรือที่อยู่ของตัวแทนทางการทูต 4. ความคุ้มกันของตัวแทนทางการทูตจากอำนาจศาลของรัฐผู้รับ ไม่ยกเว้นตัวแทนทางการทูตจากอำนาจศาลของรัฐผู้ส่ง?เกี่ยวกับความคุ้มกันตัว แทนทางการทูตจากขอบเขตของอำนาจศาลทางแพ่ง อาจกล่าวได้อย่างกว้างๆ ว่า ตัวแทนทางการทูตนั้นได้รับการยกเว้นจากอำนาจของศาลแพ่งในท้องถิ่นคือตัวแทน ทางการทูตนั้นได้รับการยกเว้นจากอำนาจของศาลแพ่งในท้องถิ่นคือตัวแทนทางการ ทูตจะถูกฟ้องมิได้ และถูกจับกุมมิได้เกี่ยวกับหนี้สิน รวมทั้งทรัพย์สินของเขา เช่น เครื่องเรือน รถยนต์ ม้า และสิ่งอื่นๆ ทำนองนั้นก็จะถูกยืดเพื่อใช้หนี้มิได้ ตัวแทนทางการทูตจะถูกกีดกันมิให้ออกไปจากรัฐผู้รับในฐานะที่ยังมิได้ชดใช้ หนี้สินของเขานั้นก็มิได้เช่นกัน อนึ่ง นักกฎมายบางกลุ่มเห็นว่า ตัวแทนทางการทูตจะถูกหมายศาลเรียกตัว (Subpoenaed) ไม่ได้ หรือแม้แต่ถูกขอร้องให้ไปปรากฎตัวเป็นพยานในศาลแพ่งหรือศาลอาญาก็ไม่ได้ อย่างไรก็ดี ถ้าหากตัวแทนทางการทูตสมัครใจที่จะไปปรากฏตัวเป็นพยานในศาล ก็ย่อมจะทำได้ แต่จะต้องขออนุมัติจากรัฐบาลในประเทศของเขาก่อน [การทูต] |
Inviolability of Residence and Property of Diplomatic Agents | หมายถึง ความละเมิดมิได้ของทำเนียบและทรัพย์สินของตัวแทนทางการทูต ในเรื่องนี้ อนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางการทูต ได้บัญญัติไว้ในมาตรา 30 ว่า ?1. ให้ที่อยู่ส่วนตัวของตัวแทนทางการทูต ได้อุปโภคความละเมิดมิได้และความคุ้มครอง เช่นเดียวกับสถานที่ของคณะผู้แทน 2. ให้กระดาษเอกสาร หนังสือโต้ตอบ และยกเว้นที่ได้บัญญัติไว้ในวรรค 3 ของข้อ 31 ทรัพย์สินของตัวแทนทางการทูตได้อุปโภคและละเมิดมิได้เช่นกัน?วรรค 3 ของข้อ 31 ในอนุสัญญากรุงเวียนนาได้บัญญัติว่า มาตรการบังคับคดีไม่อาจดำเนินได้ในส่วนที่เกี่ยวกับตัวแทนทางการทูต (เว้นแต่ในกรณีซึ่งอยู่ภายใต้อนุวรรค (ก) (ข) และ (ค) ของวรรค 1 ของข้อนี้ และโดยเงื่อนไขว่า มาตรการที่เกี่ยวข้องอาจดำเนินไปได้ โดยปราศจาการละเมิด) หรือที่อยู่ของตัวแทนทางการทูต [การทูต] |
Inviolability of the Mission Premises | คือความละเมิดมิได้จากสถานที่ของคณะผู้แทน หมายความว่า บ้านของตัวแทนทางการทูต รวมทั้งสถานที่อื่น ๆ ที่ใช้เพื่อจุดประสงค์ทางการทูต รวมถึงตึกรามใด ๆ ที่ผู้แทนทางการทูตใช้ดำเนินงานทางการทูตในตำแหน่งที่ของเขา ไม่ว่าสถานที่นั้น ๆ จะเป็นทรัพย์สินของรัฐบาลของเขาหรือเป็นของเขาเอง หรือแม้แต่เป็นสถานที่ที่ให้ตัวแทนทางการทูตเช่า เหล่านี้จะได้รับความคุ้มกัน (Immunity) ทั้งสิ้น นอกจากนี้ เจ้าหน้าที่ของรัฐผู้ใด โดยเฉพาะเจ้าที่ตำรวจ เจ้าหน้าที่เก็บภาษี หรือเจ้าหน้าที่ศาล จะเข้าไปในที่อยู่หรือทำเนียบของผู้แทนทางการทูตมิได้ นอกจากจะได้รับความยินยอมให้กระทำเช่นนั้นอย่างไรก็ดี หากเกิดอาชญากรรมขึ้นภายในสถานที่ของคณะผู้แทน หรือในที่อยู่ของตัวแทนทางการทูต โดยบุคคลซึ่งมิได้อุปโภคความละเมิดมิได้ ตัวแทนทางการทูตผู้นั้นจะต้องมอบตัวอาชญากรดังกล่าวให้แก่รัฐบาลท้องถิ่นตาม ที่ขอร้อง กล่าวโดยทั่วไป ตัวแทนทางการทูตจะยอมให้ที่พักพิงในสถานทูตแก่อาชญากรใด ๆ ไม่ได้ เว้นแต่ในกรณีที่เห็นว่าอาชญากรผู้นั้นตกอยู่ในอันตรายที่จะถูกฆ่าจากฝูงชน ที่ใช้ความรุนแรง ก็จะยอมให้เข้าไปพักพิงได้เป็นกรณีพิเศษในเรื่องนี้ อนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางการทูต ได้กล่าวไว้ในข้อ 22 ดังนี้ ?1. สถานที่ของคณะผู้แทนจะถูกละเมิดมิได้ ตัวแทนของรัฐผู้รับไม่อาจเข้าไปในสถานที่นั้นได้ เว้นแต่ด้วนความยินยอมของหัวหน้าคณะผู้แทน 2. รัฐผู้รับมีหน้าที่พิเศษที่จะดำเนินการทั้งมวลที่เหมาะสม เพื่อคุ้มครองสถานที่ของคณะผู้แทนจากการบุกรุกหรือความเสียหายใด ๆ และที่จะป้องกันการรบกวนใด ๆ ต่อความสงบสุขของคณะผู้แทน หรือการทำให้เสื่อมเสียเกียรติ 3. สถานที่ของคณะผู้แทน เครื่องตกแต่ง และทรัพย์สินอื่นของคณะผู้แทนในสถานที่นั้น ตลอดจนพาหนะในการขนส่งของคณะผู้แทน ให้ได้รับความคุ้มกันจาการค้น การเรียกเกณฑ์ การอายัด หรือการบังคับคดี ? [การทูต] |
Japan - Thailand Joint Taks Forc on Counter Trafficking in pesons | คณะทำงานเฉพาะกิจร่วมไทย - ญี่ปุ่นว่าด้วยการต่อต้านการค้ามนุษย์ จัดตั้งเมื่อ พ.ศ.2549 เพื่อเป็นกลไกในการประสานความร่วมมือต่อต้านการค้ามนุษย์ระหว่างกัน ระหว่างรัฐบาลกับรัฐบาล ครอบคลุมความร่วมมือใน 3 เรื่อง ได้แก่ (1) การป้องกันการค้ามนุษย์ ( prevention) (2) การบังคับใช้กฎหมาย (law enforcement) และ (3) การคุ้มครองเหยื่อการค้ามนุษย์ (protection) [การทูต] |
peace enforcement | การบังคับให้เกิดสันติภาพ " เป็นมาตรการใช้กำลังบังคับผู้ที่กำลังดำเนินการที่เป็นการละเมิด สันติภาพและความมั่นคงระหว่างประเทศให้ยุติการกระทำดังกล่าว " [การทูต] |
Sanctions | การบังคับตามกฎระหว่างประเทศ หมายถึงการที่หลาย ๆ ชาติได้ลงมติใช้มาตรการบังคับหรือจูงใจพร้อม ๆกันเพื่อบังคับให้ชาติหนึ่งที่ละเมิดกฎหมายระหว่างประเทศ ทำการยับยั้ง (Desist) หรือยินยอมให้มีการชี้ขาดตัดสิน (Adjudication) หรือกล่าวอย่างสั้น ๆ แซ็งชั่นก็คือ หนทางที่บังคับพันธกรณีทางกฎหมายให้เป็นไปตามกฎหมายเรื่องแซ็งชั่นนี้ กฎบัตรสหประชาชาติได้กล่าวไว้ในบทที่ 7 ข้อ 41 และ 42 มีข้อความดังนี้ ?ข้อ 41 คณะมนตรีความมั่นคงอาจวินิจฉัยว่า จะต้องใช้มาตรการอันใดอันไม่มีการใช้กำลังอาวุธ เพื่อยังผลให้เกิดแก่คำวินิจฉัยของคณะมนตรี และอาจเรียกร้องให้สมาชิกแห่งสหประชาชาติใช้มาตรการเช่นว่านั้น มาตรการเหล่านี้อาจรวมถึงการตัดสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจ และการคมนาคมทางรถไฟ ทางทะเล ทางอากาศ ทางไปรษณีย์โทรเลข ทางวิทยุ และวิถีทางคมนาคมอย่างอื่นโดยสิ้นเชิงหรือแต่บางส่วน และการตัดความสัมพันธ์ทางการทูต ข้อ 42 หากคณะมนตรีความมั่นคงพิจารณาเห็นว่ามาตรการที่บัญญัติไว้ในข้อ 41 น่าจะไม่เพียงพอ หรือได้พิสูจน์แล้วว่าไม่เพียงพอ คณะมนตรีก็อาจดำเนินการใช้กำลังทางอากาศ ทางทะเล หรือทางพื้นดินเช่นที่เห็นจำเป็น เพื่อธำรงไว้ หรือสถาปนากลับคืนมาซึ่งสันติภาพและความมั่นคงระหว่างประเทศ การดำเนินการเช่นว่านี้ อาจรวมถึงการแสดงแสนยานุภาพ การปิดล้อม และการปฏิบัติอย่างอื่นโดยกำลังทางอากาศ ทางทะเล หรือทางพื้นดินของบรรดาสมาชิกแห่งสหประชาชาติ [การทูต] |
Waiver of Immunity | การสละความคุ้มกันทางการทูต ในเรื่องนี้บางประเทศออกกฎไว้ว่า ความคุ้มกันจากอำนาจทั้งทางแพ่งหรืออาญาของผู้แทนทางการทูตที่ประจำอยู่ใน ประเทศผู้รับ ตามที่กฎหมายระหว่างประเทศได้มอบให้ รวมทั้งคณะเจ้าหน้าที่ทางการทูตและบุคคลในครอบครัวของเขานั้น ย่อมสละมิได้ นอกจากจะได้รับความยินยอมอย่างชัดแจ้งจากรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่าง ประเทศของผู้นั้น เหตุผลของการออกกฎข้อนี้เป็นเพราะเขาถือว่า ความคุ้มกันนั้นมิได้เกี่ยวกับตัวเจ้าหน้าที่โดยตรงหากแต่เกี่ยวกับตำแหน่ง หน้าที่ของเขามากกว่าเรื่องการสละความคุ้มกันข้างต้น อนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางการทูตได้บัญญัติไว้ในมาตรา 32 ว่า?1. ความคุ้มกันจากอำนาจศาลของตัวแทนทางการทูตและของบุคคลที่อุปโภคความคุ้มกัน ภายใต้ขอ้ 37 อาจสละได้โดรัฐผู้ส่ง 2. การสละต้องเป็นที่ชัดแจ้งเสมอ 3. การริเริ่มคดีโดยตัวแทนทางการทูต หรือโดยบุคคลที่อุปโภคความคุ้มกันจากอำนาจศาลภายใต้ข้อ 37 จะกันตัวแทนทางการทูตหรือบุคคลนั้นจากการอ้างความคุ้มกันของอำนาจศาล ในส่วนที่เกี่ยวกับการฟ้องแย้งที่เกี่ยวข้องโดยตรงกับการเรียกร้องสิทธิ สำคัญนั้น 4. การสละความคุ้มกันจากอำนาจศาลในส่วนที่เกี่ยวกับคดีแพ่งหรือคดีปกครอง ไม่ให้ถือว่ามีนัยเป็นการสละความคุ้มกันในส่วนที่เกี่ยวกับการบังคับคดีตาม คำพิพากษา ซึ่งจำเป็นต้องมีการสละต่างหากอีก? [การทูต] |
Enforcement | การบังคับ [การแพทย์] |
Law Enforcement | การบังคับใช้กฎหมาย [การแพทย์] |
Movement, Involuntary | การเคลื่อนไหวชนิดนอกอำนาจจิตใจ, การเคลื่อนไหวที่ผิดปกติ, การเคลื่อนไหวที่บังคับไม่ได้, การเคลื่อนไหวชนิดไม่ตั้งใจ, การเคลื่อนไหวโดยไม่ได้ตั้งใจการเคลื่อนไหวที่อยู่นอกเหนือการบังคับของร่างกาย, การเคลื่อนไหวที่เกิดขึ้นโดยอัตโนมัติ, การเคลื่อนไหวแบบไม่ตั้งใจ, การเคลื่อนไหวที่เป็นไปโดยไม่ตั้งใจ, [การแพทย์] |
Muscles, Voluntary | กล้ามเนื้อที่อยู่ภายใต้การควบคุม, กล้ามเนื้อพวกที่อยู่ใต้การควบคุมของจิตใจ, กล้ามเนื้อที่อยู่ใต้การบังคับของจิตใจ, กล้ามเนื้อลาย [การแพทย์] |
abstinence | (n) การบังคับใจตนเอง, Syn. abstention, temperance, self-control |
beat in | (phrv) สอนด้วยการบังคับ, See also: ยัดเยียดคำสั่งสอน, Syn. hammer in |
beat into | (phrv) สอน (บางสิ่ง) ให้กับ (บางคน) โดยบีบบังคับ, See also: สอนด้วยการบังคับ, Syn. hammer into |
compulsion | (n) การบังคับ, Syn. constraint, coercion |
continence | (n) การบังคับใจตัวเอง, See also: การข่มใจ, Syn. self-restraint, moderation |
crush someone into submission | (idm) ทำให้เชื่อฟังด้วยการบังคับ |
displacement | (n) การบังคับให้คนออกไปจากที่ที่อยู่, See also: การย้ายออก, การเคลื่อนออก, การไล่ออก, การขับไล่, Syn. transfer, move, shift, migration |
enforcement | (n) การบังคับใช้, See also: การบังคับใช้ตามกฎหมาย, การดำเนินการ |
execution | (n) การบังคับตามกฎหมาย, See also: การบังคับใช้ตามกฎหมาย |
forbearance | (n) ความอดกลั้น, See also: ขันติ, ความอดทน, การบังคับจิตใจ, การข่มใจ, Syn. patience, tolerance, Ant. impatience |
force | (n) ความรุนแรง, See also: การบังคับ, การข่มขู่บังคับ, Syn. violence, compulsion, duress |
shot-gun wedding | (idm) การบังคับให้แต่งงาน (โดยพ่อเจ้าสาวใช้ปืนขู่เจ้าบ่าว) |
influence | (n) อำนาจ, See also: อิทธิพล, การบังคับควบคุม, Syn. authority, power, domination |
self-restraint | (n) การควบคุมตนเอง, See also: การบังคับใจตนเอง, การควบคุมพฤติกรรมของตนเอง, Syn. temperance, self-control, self-discipline |
stricture | (n) การจำกัด, See also: การบังคับ, การควบคุม, Syn. limit, restriction |
trammel | (n) การผูกมัด, See also: การบังคับ |
abstinence | (แอ็บ' สทิเนินซฺ) n. ความพอประมาณ, ความพอเหมาะ, การบังคับใจตัวเอง |
case sensitivity | การบังคับใช้ตัวเล็ก/ตัวใหญ่หมายถึง ความแตกต่างระหว่างการใช้ตัวใหญ่และตัวเล็กของตัวอักษรในภาษาอังกฤษ โปรแกรมบางโปรแกรมหรือระบบบางระบบจะบังคับว่า ต้องใช้ตัวใหญ่ทั้งหมด หรือตัวเล็กทั้งหมด มิฉะนั้นเครื่องจะไม่เข้าใจ เช่น ชื่อโปรแกรมภาษาฟอร์แทรน (FORTRAN) หรือ ระบบยูนิกซ์ (UNIX) จะบังคับให้ใช้ตัวใหญ่เท่านั้น ส่วนระบบดอสและวินโดว์ไม่บังคับ กล่าวคือ ใช้ตัวเล็กก็ได้ตัวใหญ่ก็ได้ |
coercion | (โคเออ'เชิน) n. การบังคับ, การบีบบังคับ, การขู่เข็ญ, See also: coercionary adj. coercionist n. |
compel | (คัมเพล') { compelled, compelling, compels } vt. บังคับ, ผลักดัน, เกณฑ์, ใช้วิธีบังคับ, ได้มาโดยการบังคับ, ต้อน. vi. ใช้กำลัง, มีอิทธิพลต่อ, See also: compeller n., Syn. enforce |
compulsion | (คัมพัล'เชิน) n. การบีบบังคับ, การบังคับ, ภาวะที่ถูกบีบบังคับ, แรงกดดันที่ต้านไม่ได้ทางจิต (ควบคุมใจไม่อยู่) , แรงผลักดันทางใจ |
compulsory | (คัมพัล'ซะรี) adj. ใช้การบังคับ, ซึ่งต้องกระทำ, เป็นเชิงบังคับ, เป็นหน้าที่ต้องกระทำ., See also: compulsorily adv. ดูcompulsory compulsoriness n. ดูcompulsory, Syn. coercive |
denial | (ดิไน'เอิล) n. การปฏิเสธ, การบอกปัด, การไม่ยอมรับ, การบังคับใจตัวเอง, การไม่ยอมตามใจตัวเอง |
execution | (เอคซะคิว'เชิน) n. การปฎิบัติ, การทำให้สำเร็จ, การดำเนินการ, การกระทำ, การบริหาร, การประหารชีวิต, การแสดง (ดนตรี, ฝีมือขับร้องหรืออื่น ๆ) , การบังคับตามกฎหมาย. |
executive | (เอคเซค'คิวทิฟว) n. ผู้บริหาร, นักบริหาร adj. เกี่ยวกับการปฎิบัติให้ลุล่วงไปด้วยดี, เกี่ยวกับการบังคับตามกฎหมาย, เกี่ยวกับการบริหาร, Syn. directing |
home key | แป้นกดกลับตำแหน่งต้นเป็นแป้นพิมพ์แป้นหนึ่งในแผงแป้นอักขระ มีคำว่า Home อยู่บนแป้น เมื่อกดแป้นนี้จะเป็นการบังคับให้ตัวชี้ตำแหน่ง (cursor) กลับไปสู่จุดเริ่มต้นของบรรทัดใหม่ หรือจุดเริ่มต้นบรรทัดบนสุดของเอกสารหน้าหนึ่ง ๆ ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับโปรแกรมแต่ละโปรแกรมด้วย |
imposition | (อิมพะซิซ' เชิน) n. การจัดเก็บภาษี, การกำหนดภาษี, การกำหนดโทษ, การกำหนดให้มี, การบังคับเอา, การนำไฟใส่, การยัดเยียด, การรบกวน, การหลอกลวง |
inordinate | (อินออร์'ดิเนท) adj. ไม่พอควร, มากเกิน, เกินควร, ไม่มีการบังคับตัวเอง, ไม่เป็นระเบียบ., See also: inordinateness n. |
leash | (ลีช) { leashed, leashing, leashes } n. สายหนังรั้งศีรษะสุนัขหรือสัตว์อื่น, การข่ม, การหยุดยั้ง, การบังคับ, การควบคุม. vt. รั้ง, ข่ม, หยุดยั้ง, บังคับ, เชื่อมต่อ, Syn. line, lead |
mastership | (มาส'เทอะชิพ) n. ความเป็นนาย, ความมีอำนาจ, การควบคุม, การบังคับบัญชา, ความสามารถ, ความรอบรู้, ความเก่ง |
obligation | (ออบละเก'เชิน) n. พันธะ, ความจำเป็น, ภาวะหน้าที่, หน้าที่, ข้อผูกพัน, เกณฑ์, หนี้, การบังคับ, บุญคุณ, ความรู้สึกเป็นหนี้บุญคุณ, สัญญา, พันธบัตร, ตั๋วเงิน, เงินชำระหนี้., See also: obligative adj., Syn. duty, debt |
privileged | (พริฟ'วิลลิจดฺ) adj. มีอภิสิทธิ์, มีสิทธิพิเศษ, ไม่อยู่ภายใต้การบังคับของกฎเกณฑ์ทั่ว ๆ ไป, Syn. advantaged |
restriction | (รีสทริค'เชิน) n. การจำกัด, การจำกัดวง, การกำหนด, การบังคับ, See also: restrictionist n., Syn. restraint |
self-command | n. การบังคับใจตัวเอง, การควบคุมอารมณ์, การคุมสติ |
self-control | (เซลฟฺคันโทรล') n. การบังคับตนเอง, การควบคุมตนเอง, การควบคุมอารมณ์, การควบคุมจิตใจ., See also: self-controlled adj. self-controlling adj., Syn. self-command, self-discipline, self-restraint |
self-discipline | n. การควบคุมตัวเอง, การบังคับใจตนเอง, การควบคุมอารมณ์ตัวเอง, การรักษาระเบียบวินัยของตัวเอง. -self-disciplined adj. |
statute of limitations | n. อายุความ, กฎหมายกำหนดระยะเวลาการบังคับตามกฎหมาย |
temperance | (เทม'เพอเรินซฺ) n. การควบคุมอารมณ์, การบังคับตัวเอง, การละเว้นสิ่งมึนเมา, ความพอควร, Syn. moderation, self-restraint |
command | (n) คำสั่ง, คำบัญชา, การบังคับ, การบัญชาการ |
continence | (n) การรู้จักละเว้น, การบังคับใจตนเอง, ความไม่มักมาก |
control | (n) การควบคุม, การบังคับบัญชา, การบังคับ, อำนาจ, การบงการ |
duress | (n) การบีบบังคับ, การบังคับขู่เข็ญ, การข่มขู่, การกักขัง |
enforcement | (n) การบังคับ, การใช้กำลังบังคับ |
force | (n) แรง, อำนาจ, การบังคับ, กำลัง, พละกำลัง, กองทัพ, อิทธิพล |
forcible | (adj) โดยการบังคับ, ซึ่งใช้กำลัง, ซึ่งใช้อำนาจ |
holdup | (n) การบังคับให้หยุด, การปล้น, การจี้ |
mastery | (n) อำนาจปกครอง, ความเชี่ยวชาญ, การบังคับบัญชา, การเรียนรู้ |
restriction | (n) ข้อจำกัด, การจำกัด, การกำหนด, การบังคับ |
SELF-self-control | (n) การควบคุมอารมณ์, การบังคับตัวเอง |