Innovation | นวัตกรรม, นวัตกรรม หรือนวกรรม หมายถึง วิธีการปฏิบัติใหม่ๆ ที่แปลกไปจากเดิม โดยอาจจะได้มาจากการคิดค้นพบวิธีการใหม่ๆ ขึ้นมา หรือการปรุงแต่งของเก่าให้ใหม่และเหมาะสม และสิ่งทั้งหลายเหล่านี้ได้รับการทดลองพัฒนาจนเป็นที่เชื่อถือได้แล้วว่าได้ผลดีในทางปฏิบัติ ทำให้ระบบก้าวไปสู่จุดหมายปลายทางได้อย่างมีประสิทธิภาพขึ้น โดย มีหลักการที่สำคัญอยู่ 3 ประการ ที่จัดเป็นหลักพิจารณาว่าสิ่งใดเป็นนวัตกรรมทางการศึกษาหรือไม่ คือ <ul><li>สิ่งนั้นควรเป็นสิ่งที่ค้นพบ หรือประดิษฐ์ขึ้นมาใหม่ หรือการปรับปรุงแต่งของเก่าให้ใหม่เหมาะสมกับกาลสมัยมาใช้ในวงการศึกษา เพื่อให้ระบบการศึกษาก้าวหน้าไปอย่างมีประสิทธิภาพ</li><li>ได้ผ่านการทดลอง การปรับปรุงพัฒนา จนเป็นที่ยอมรับกับอย่างแพร่หลาย</li><li>ได้มีการนำมาปฏิบัติจริงในวงการนั้น</li></ul> [เทคโนโลยีการศึกษา] |
Breeding | การปรับปรุงพันธุ์ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Breeding | การปรับปรุงพันธุ์ [คอมพิวเตอร์] |
Electron linear accelerator | เครื่องเร่งอิเล็กตรอนเชิงเส้น, เครื่องเร่งอิเล็กตรอน ที่อิเล็กตรอนถูกเร่งให้วิ่งเป็นเส้นตรงด้วยสนามไฟฟ้า มีสองแบบคือ แบบที่อิเล็กตรอนถูกควบคุมด้วยสนามไฟฟ้าสถิต และแบบที่ควบคุมด้วยสนามไฟฟ้าย่านความถี่คลื่นวิทยุ สามารถเร่งลำอิเล็กตรอนให้มีพลังงานระหว่าง 0.1-10 ล้านอิเล็กตรอนโวลต์ แบบแรกให้พลังงานของอิเล็กตรอนต่ำกว่าแบบหลัง เครื่องเร่งชนิดนี้เหมาะสำหรับงานวิจัยทางฟิสิกส์ และการปรับปรุงคุณภาพวัสดุหรือผลิตภัณฑ์ เช่น งานเคลือบผิววัตถุและงานผลิตเวชภัณฑ์ปลอดเชื้อ, Example: [นิวเคลียร์] |
Animal breeding | การปรับปรุงพันธุ์สัตว์ [TU Subject Heading] |
Animal mutation breeding | การปรับปรุงพันธุ์สัตว์โดยทำให้กลายพันธุ์ [TU Subject Heading] |
Breeding | การปรับปรุงพันธุ์ [TU Subject Heading] |
Civic improvement | การปรับปรุงเมือง [TU Subject Heading] |
Modification for export | การปรับปรุงเพื่อการส่งออก [TU Subject Heading] |
Mutation breeding | การปรับปรุงพันธุ์โดยทำให้กลายพันธุ์ [TU Subject Heading] |
Plant breeding | การปรับปรุงพันธุ์พืช [TU Subject Heading] |
Plant mutation breeding | การปรับปรุงพันธุ์พืชโดยทำให้กลายพันธุ์ [TU Subject Heading] |
Rural renewal | การปรับปรุงชนบท [TU Subject Heading] |
School improvement programs | โปรแกรมการปรับปรุงโรงเรียน [TU Subject Heading] |
Soil amendments | การปรับปรุงดิน [TU Subject Heading] |
Land Reclamation | การปรับปรุงบำรุงที่ดิน [สิ่งแวดล้อม] |
Food and Agriculture Organization | องค์การอาหารและเกษตรแห่งสหประชาชาติ " เป็นทบวงการชำนัญพิเศษขององค์การสหประชาชาติ ตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 16 ตุลาคม 2488 มีหน้าที่บรรเทาความอดอยากและหิวโหยของ ประชากรโลกด้วยการส่งเสริม และพัฒนาเกษตรกรรม การปรับปรุงโภชนาการ และแสวงหาความมั่นคงทางด้านอาหาร ปัจจุบันมีสมาชิก 171 ประเทศ มีสำนักงานใหญ่ตั้งอยู่ที่กรุงโรม ประเทศอิตาลี " [การทูต] |
International Labor Organization | คือองค์การแรงงานระหว่างประเทศ ตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 11 เมษายน ปีค.ศ.1919 วัตถุประสงค์สำคัญขององค์การคือ การมีส่วนเกื้อกูลให้มีสันติภาพอันถาวร ด้วยการส่งเสริมให้มีความยุติธรรมในสังคม โดยต้องการให้ทุกประเทศปฏิบัติการปรับปรุงสภาวะแรงงาน ส่งเสริมมาตรฐานการครองชีพ พร้อมทั้งส่งเสริมเสถียรภาพทางเศรษฐกิจและสังคมให้ดีขึ้นการที่จะให้บรรลุ ตามวัตถุประสงค์เหล่านี้ องค์การแรงงานระหว่างประเทศจะจัดให้มีการประชุมเป็นประจำ ระหว่างฝ่ายรัฐบาล ฝ่ายแรงงาน และฝ่ายจัดการ เพื่อเสนอแนะและจัดให้มีมาตรฐานระหว่างประเทศ ร่วมกันจัดร่างสัญญาแรงงานระหว่างประเทศเกี่ยวกับเรื่องต่าง ๆ เช่น ค่าแรง ชั่วโมงทำงาน อายุการทำงาน เงื่อนไขการทำงานสำหรับคนงานในระดับต่าง ๆ ค่าชดเชยสำหรับคนงาน การประกันสังคม การหยุดพักร้อนโดยให้รับเงินเดือน ความปลอดภัยในงานอุตสาหกรรม บริการต่าง ๆ ในหน้าที่การงาน การตรวจแรงงาน เสรีภาพในการคบหาสมาคมกัน และอื่น ๆ นอกจากนั้น องค์การยังได้ให้ความช่วยเหลือทางวิชาการอย่างกว้างขวางแก่รัฐบาลของประเทศ สมาชิก รวมทั้งจัดพิมพ์เผยแพร่สิ่งพิมพ์หรือเอกสารรายคาบ เรื่องค้นคว้าและรายงานต่าง ๆ เกี่ยวกับปัญหาสังคม อุตสาหกรรม และแรงงานILO ปฏิบัติงานผ่านองค์กรต่าง ๆ โดยองค์กรสำคัญที่สุดภายในองค์การแรงงานระหว่างประเทศได้แก่ ที่ประชุมใหญ่ (General Conference) ซึ่งประชุมกันเป็นประจำทุกปี ประกอบด้วยคณะผู้แทนแห่งชาติ ในจำนวนนี้มีผู้แทนจากฝ่ายรัฐบาล 2 คน ผู้แทนฝ่ายจัดการ 1 คน และผู้แทนฝ่ายแรงงานอีก 1 คน หน้าที่สำคัญคือจัดวางมาตรฐานทางสังคมระหว่างประเทศขึ้นในรูปของอนุสัญญา องค์กรภายในองค์การอีกส่วนหนึ่งคือคณะผู้ว่าการ (Governing Body) จะประกอบด้วย สมาชิก 40 คน ในจำนวนนี้ 20 คน จะเป็นตัวแทนของฝ่ายรัฐบาล โดยเฉพาะอย่างยิ่ง 10 คน จากจำนวนนี้จะได้แก่ ตัวแทนจากประเทศอุตสาหกรรมใหญ่ ๆ ส่วนตัวแทนของฝ่ายจัดการ (หรือนายจ้าง) จะมีจำนวน 10 คน และอีก 10 คนเป็นตัวแทนของฝ่ายแรงงาน คณะผู้ว่าการนี้จะทำหน้าที่ควบคุมดูแลงานของคณะกรรมาธิการ และคณะกรรมการขององค์การ คือสำนักแรงงานระหว่างประเทศจะมีหน้าที่รวบรวมเผยแพร่ข้อสนเทศ ช่วยเหลือรัฐบาลของประเทศสมาชิกที่ขอร้องให้ช่วยร่างกฎหมายตามที่ได้มีมติ ตกลงในที่ประชุมใหญ่ นอกจากนี้ ยังรับดำเนินการสอบสวนเรื่องต่าง ๆ เป็นพิเศษ รวมทั้งออกสิ่งพิมพ์เผยแพร่องค์การแรงงานระหว่างประเทศมีสำนักงานใหญ่ตั้ง อยู่ ณ กรุงเจนีวา ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ [การทูต] |
International Telecommunica-tion Union | สหภาพโทรคมนาคมระหว่างประเทศ ตั้งขึ้นเมื่อปี ค.ศ.1865 ณ กรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส ในตอนนั้นมีชื่อว่าสหภาพโทรเลขระหว่างประเทศ ต่อมาในปี ค.ศ.1932 จึงมีการรับรองอนุสัญญาโทรคมนาคมระหว่างประเทศ ณ กรุงมาดริด ประเทศสเปน และหลังจากนั้นอีก 2 ปี คือ ค.ศ.1934 ก็ได้มีการเปลี่ยนชื่ออนุสัญญาโทรเลขและวิทยุโทรเลข เป็นอนุสัญญาโทรคมนาคมระหว่างประเทศ ต่อมาในปี ค.ศ. 1947 ได้มีการปรับปรุงใหม่ ณ เมืองแอตแลนติกซิตี้ สหรัฐอเมริกา แล้วเปลี่ยนชื่อเป็นสหภาพโทรคมนาคมระหว่างประเทศ ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม ค.ศ.1954 เป็นต้นมา สหภาพดังกล่าวหรือที่เรียกโดยย่อว่า ITU อยู่ภายใต้การบริหารปกครองตามอนุสัญญา ซึ่งได้รับการรับรองจากการประชุมเต็มคณะ ณ กรุงบุเอนอสไอเรส เมื่อวันที่ 22 ธันวาคม ค.ศ. 1952วัตถุประสงค์สำคัญขององค์การไอทียูคือ ต้องการวางระเบียบข้อบังคับระหว่างประเทศสำหรับโทรเลข โทรศัพท์และบริการทางวิทยุ เพื่อที่จะส่งเสริมและขยับขยายให้ประชาชนได้มีโอกาสใช้บริการเหล่านี้ให้ กว้างขวางยิ่งขึ้น โดยต้องการให้อัตราค่าบริการต่ำที่สุดเท่าที่จะเป็นไปได้ กล่าวโดยทั่วไปองค์การไอทียูนี้มีจุดมุ่งหมายที่จะส่งเสริมความร่วมมือ ระหว่างประเทศ เพื่อปรับปรุงการใช้โทรคมนาคมทุกชนิดให้เป็นประโยชน์ก้าวหน้าขึ้น พัฒนาอุปกรณ์เครื่องมือทางเทคนิคให้นำออกใช้ได้อย่างมีประสิทธิภาพมากที่สุด เท่าที่จะเป็นไปได้และพยายามประสานการปฏิบัติของชาติต่าง ๆ ให้กลมกลืนกันเพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ร่วมกัน หัวหน้าของสหโทรคมนาคมระหว่างประเทศมีตำแหน่งเรียกว่า เลขาธิการ องค์การนี้ตั้งอยู่ในนครเจนีวา ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ [การทูต] |
International Trade Organization | องค์การการค้าระหว่างประเทศ มีหน้าที่ดำเนินงานเกี่ยวกับความตกลงทั้วไปว่าด้วยภาษี ศุลกากรและการค้าระหว่างประเทศ วัตถุประสงค์สำคัญขององค์การคือ ต้องการขยายการค้าของโลกให้กว้างขวางขึ้น ซึ่งเป็นการช่วยให้มีมาตรฐานการครองชีพสูงขึ้น ขจัดการกีดกันการค้า หรือพยายามลดให้เหลือน้อยที่สุด เช่น การตั้งข้อจำกัดโควต้า เป็นต้น ตัดทอนภาษีศุลกากรทั่วโลกให้ต่ำลง ดูแลตลาดวัตถุดิบให้เป็นไปอย่างยุติธรรม และพยายามควบคุมด้านการค้าของการร่วมมือกันทางธุรกิจ (Cartels) จุดมุ่งหมายสำคัญที่สุดคือ ป้องกันมิให้กลับไปสู่การดำเนินการทางการค้าที่ตัดราคากันอย่างหั่นแหลก เหมือนเมื่อระยะปี ค.ศ. 1930 ถึง 1939 นั่นเองอย่างไรก็ดี ตั้งแต่มีการปฏิบัติใช้ความตกลงทั่วไปว่าด้วยภาษีศุลกากรและการค้ามาจนบัด นี้ ก็ได้รับผลสำเร็จตามแนววัตถุประสงค์อย่างมากมาย เช่น มีประเทศสมาชิกหลายสิบประเทศลดภาษีศุลกากรและรักษาระดับภาษีอย่างมีเสรีภาพ แต่ละปี ประเทศสมาชิกจะได้ยินได้ฟังเสียงร้องเรียนเกี่ยวกับการปฏิบัติทางการค้า ละเมิดกฎเกณฑ์ของความตกลงทั่วไป แล้วเสียงร้องเรียนดังกล่าวก็ได้รับการแก้ไขจนเป็นที่พึงพอใจของทุกฝ่าย เป็นต้น นอกจากนี้ ได้มีการปรับปรุงและดัดแปลงข้อกำหนดของความตกลงทั่วไป ให้สอดคล้องกับสภาวการณ์ที่เปลี่ยนแปลงไปอยู่ตลอดเวลา [การทูต] |
Madagascar Action Plan | แผนปฏิบัติการมาดากัสการ์ เป็นแผนพัฒนาประเทศมาดากัสการ์ที่เป็นรูปธรรมฉบับแรก นับตั้งแต่มาดากัสการ์ได้รับเอกราชจากฝรั่งเศส เมื่อวันที่ 26 มิถุนายน พ.ศ.2503 รัฐบาลมาดากัสการ์ ได้รับงบประมาณที่ใช้ดำเนินการ (ประมาณ 9 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ) มาจากแหล่งเงินทุนจากต่างประเทศและองค์การระหว่างประเทศ เป้าหมายหลักของ MAP ได้แก่ การพัฒนาระบบคมนาคม การพัฒนาชนบท การปรับปรุงระบบสาธารณสุข และการส่งเสริมบทบาทของภาคเอกชนในการพัฒนาเศรษฐกิจ [การทูต] |
The New Partnership for Africa?s Development | หุ้นส่วนใหม่เพื่อการพัฒนาแอฟริกา เป็นแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของแอฟริกา มีวัตถุประสงค์ในการ ส่งเสริมความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ และการพัฒนาที่ยั่งยืนของประเทศแอฟริกา การขจัดความยากจนและการขจัดความเสียเปรียบของประเทศแอฟริกาในยุคโลกาภิวัตน์ NEPAD พัฒนามาจากการประชุม สุดยอดผู้นำกลุ่มประเทศ G8 ที่ญี่ปุ่นเมื่อปี พ.ศ. 2542 ซึ่งในการประชุมนี้ ประธานาธิบดีแอฟริกาใต้ ประธานาธิบดีไนจีเรีย และประธานาธิบดี แอลจีเรียได้เสนอต่อที่ประชุม ขอให้กลุ่มประเทศเหนือและประเทศใต้ร่วมกันแก้ปัญหาที่ทั้งสองกลุ่มประเทศ เผชิญอยู่ บนพื้นฐานของ ผลประโยชน์ร่วมกัน โดยเน้นการพัฒนาประเทศที่ยากจน เช่น ประเทศ ในภูมิภาคแอฟริกา ต่อมาบรรดาผู้นำของกลุ่มประเทศแอฟริกาได้ร่วมกันกำหนดแผนพัฒนาแอฟริกาสำหรับ ใช้ขอรับการสนับสนุนจากประเทศพัฒนาแล้วในเวทีการประชุมระหว่างประเทศต่าง ๆ ที่เรียกว่า New Africa Initiative (NAI) ที่ประชุมองค์การเอกภาพแอฟริกา หรือ OAU (ซึ่งต่อมากลายเป็น African Union ? AU) ได้เห็นชอบต่อแผน NAI ดังกล่าวในเดือนกรกฎาคม 2544 ผู้นำของประเทศแอฟริกาได้นำเสนอ NAI ต่อที่ประชุมสุดยอดผู้นำกลุ่มประเทศ G8 เมื่อปี พ.ศ. 2544 และได้รับการปรับปรุงแก้ไขจนเป็น NEPAD ในปัจจุบัน [การทูต] |
Official Development Assistance | ความช่วยเหลือเพื่อการพัฒนาอย่างเป็นทางการ " เป็นความช่วยเหลือของภาครัฐบาลที่ประเทศพัฒนาแล้วให้กับประเทศกำลังพัฒนา เพื่อการปรับปรุงโครงสร้างเศรษฐกิจ มาตรฐานความ เป็นอยู่ การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์และสถาบันต่าง ๆ เพื่อการพัฒนาประกอบด้วยความช่วยเหลือ 3 ด้านหลัก คือ ความช่วยเหลือให้เปล่า ความร่วมมือทางวิชาการ และเงินกู้ " [การทูต] |
The Hague Peace Conferences | การประชุมสันติภาพ ณ กรุงเฮก ในประเทศเนเธอร์แลนด์ การประชุมนี้ได้กระทำกันเป็นครั้งแรกเมื่อปี ค.ศ. 1899 โดย พระเจ้าซาร์ นิโคลัสที่สอง ของประเทศรัสเซียเป็นผู้จัดให้มีขึ้น ณ กรุงเฮก เมื่อวันที่ 18 พฤษภาคม ค.ศ. 1899 ที่ประชุมได้รับรองอนุสัญญาว่าด้วยการระงับข้อพิพาทระหว่างประเทศโดยสันติ วิธี ได้ตกลงจัดตั้งศาลซึ่งตัดสินประเทศโดยสันติวิธี พร้อมทั้งได้ตกลงจัดตั้งศาลซึ่งตัดสินโดยอนุญาโตตุลาการเป็นการถาวร และเสนอแนะให้วางประมวลพิจารณาโดยอนุญาโตตุลาการ ทั้งยังได้ตกลงรับรองอนุสัญญาและปฏิญญาต่าง ๆ หลายฉบับ ในจำนวนนี้ ที่สำคัญที่สุดได้แก่ อนุสัญญาควบคุมกฎหมายและขนบประเพณีว่าด้วยการทำสงครามภาคพื้นดินการประชุม สันติภาพ ณ กรุงเฮกครั้งที่สอง หรือการประชุม ณ กรุงเฮกปี ค.ศ.1907 ตามคำขอร้องของรัฐบาลรัสเซีย ได้มีขึ้นเมื่อวันที่ 15 มิถุนายน ค.ศ.1907 วัตถุประสงค์สำคัญของการประชุมคือต้องการปรับปรุงและขยายข้อความในอนุสัญญา ต่าง ๆ ที่ทำไว้เมื่อปี ค.ศ. 1899 ว่าด้วยการระงับข้อพิพาทระหว่างประเทศโดยสันติวิธี รวมทั้งกฎหมายและขนบประเพณีเกี่ยวกับสงครามภาคพื้นดิน ตลอดจนรับรองอนุสัญญาเกี่ยวกับกฎหมายและขนมประเพณีของการทำสงครามทางทะเล การประชุม ณ กรุงเฮกครั้งที่สองนี้ยังได้เสนอแนะให้ที่ประชุมกำหนดให้ประเทศผู้ลงนาม รับรองและนำออกใช้ซึ่งร่างอนุสัญญาว่าด้วยการก่อตั้งศาลสถิตยุติธรรม เพื่อพิจารณาโดยอนุญาโตตุลาการอีกด้วย [การทูต] |
Work of the United Nations on Human Rights | งานขององค์การสหประชาชาติว่าด้วยสิทธิมนุษยชน งานสำคัญชิ้นหนึ่งของสหประชาชาติคือ วควมมปรารถนาที่จะให้ประเทศทั้งหลายต่างเคารพและให้ความคุ้มครองแก่สิทธิ มนุษยชนตลอดทั่วโลก ดังมาตรา 1 ในกฎบัตรของสหประชาติได้บัญญัติไว้ว่า?1. เพื่อธำรงไว้ซึ่งสันติภาพและความมั่นคงระหว่างประเทศ และมีเจตนามุ่งมั่นต่อจุดหมายปลายทางนี้ จะได้ดำเนินมาตรการร่วมกันให้บังเกิดผลจริงจัง เพื่อการป้องกันและขจัดปัดเป่าการคุกคามต่อสันติภาพ รวมทังเพื่อปราบปรามการรุกรานหรือการล่วงละเมิดอื่น ๆ ต่อสันติภาพ ตลอดจนนำมาโดยสันติวิธี และสอดคล้องกับหลักแห่งความยุติธรรมและกฎหมายระหว่างประเทศ ซึ่งการปรับปรุงหรือระงับกรณีพิพาทหรือสถานการณ์ระหว่างประเทศ อันจะนำไปสู่การล่วงละเมิดสันติภาพได้ 2. เพื่อพัฒนาสัมพันธไมตรีระหว่างประชาชาติทั้งปวงโดยยึดการเคารพต่อหลักการ แห่งสิทธิเท่าเทียมกัน และการกำหนดเจตจำนงของตนเองแห่งประชาชนทั้งปวงเป็นมูลฐานและจะได้ดำเนิน มาตรการอันเหมาะสมอย่างอื่น เพื่อเป็นกำลังแก่สันติภาพสากล 3. เพื่อทำการร่วมมือระหว่างประเทศ ในอันที่จะแก้ปัญหาระหว่างประเทศในทางเศรษฐกิจ การสังคม วัฒนธรรม และมนุษยธรรม รวมทั้งการส่งเสริมสนับสนุนการเคารพสิทธิมนุษยชนและอิสรภาพ อันเป็นหลักมูลฐานสำหรับทุก ๆ คนโดยปราศจากความแตกต่างด้านเชื้อชาติ เพศ ภาษา หรือศาสนา 4. เพื่อเป็นศูนย์กลางและประสานการดำเนินงานของประชาชาติทั้งปวงในอันที่จะ บรรลุจุดหมายปลายทางเหล่านี้ร่วมกันด้วยความกลมกลืน"ดังนั้น เมื่อวันที่ 10 ธันวาคม ค.ศ. 1948 สมัชชาแห่งสหประชาชาติจึงได้ลงข้อมติรับรองปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน ซึ่งนับเป็นครั้งแรกในประวัติศาสตร์ชุมชนระหว่างประเทศ ที่ได้ยอมรับผิดชอบที่จะให้ความคุ้มครอง และเคารพปฏิบัติตามสิทธิมนุษยชนปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน ประกอบด้วยข้อความรวม 30 มาตรา กล่าวถึง1. สิทธิของพลเมืองทุกคนที่จะมีเสรีภาพ และความเสมอภาค รวมทั้งสิทธิทางการเมือง2. สิทธิทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม มาตรา 1 และ 2 เป็นมาตราที่กล่าวถึงหลักทั่วไป เช่น มนุษย์ปุถุชนทั้งหลายต่างเกิดมาพร้อมกับ อิสรภาพ และทรงไว้ซึ่งศักดิ์ศรีและสิทธิเท่าเทียมกัน ดังนั้น ทุกคนย่อมมีสิทธิและอิสรภาพตามที่ระบุในปฏิญญาสากล โดยไม่คำนึงถึงความแตกต่างใด ๆ เชื้อชาติ เพศ ภาษา ศาสนา ความเห็นทางการเมือง หรืออื่น ๆ ต้นกำเนิดแห่งชาติหรือสังคม ทรัพย์สินหรือสถานภาพอื่น ๆ ส่วนสิทธิของพลเมืองและสิทธิทางการเมืองนั้น ได้รับการรับรองอยู่ในมาตร 3 ถึง 21 ของปฏิญญาสากล เช่น รับรองว่าทุกคนมีสิทธิที่จะมีชีวิตอยู่ มีเสรีภาพและความมั่นคงปลอดภัย มีอิสรภาพจากความเป็นทาสหรือตกเป็นทาสรับใช้ มีเสรีภาพจากการถูกทรมาน หรือการถูกลงโทษอย่างโหดร้าย สิทธิที่จะได้รับการรับรองเป็นบุคคลภายใต้กฎหมาย ได้รับความคุ้มครองเท่าเทียมกันภายใต้กฎหมาย มีเสรีภาพจากการถูกจับกุม กักขัง หรือถูกเนรเทศโดยพลการ มีสิทธิที่จะเคลื่อนย้ายไปไหนมาไหนได้ สิทธิที่จะมีสัญชาติ รวมทั้งสิทธิที่จะแต่งงานและมีครอบครัว เป็นต้นส่วนมาตรา 22 ถึง 27 กล่าวถึงสิทธิทางเศรษฐกิจ ทางสังคม และทางวัฒนธรรม เช่น มีสิทธิที่จะอยู่ภายใต้การประกันสังคม สิทธิที่จะทำงาน สิทธิที่จะพักผ่อนและมีเวลาว่าง สิทธิที่จะมีมาตรฐานการครองชีพสูงพอที่จะให้มีสุขภาพอนามัย และความเป็นอยู่ที่ดี สิทธิที่จะได้รับการศึกษาและมีส่วนร่วมในชีวิตความเป็นอยู่ตามวัฒนธรรมของ ชุมชน มาตรา 28 ถึง 30 กล่าวถึงการรับรองว่า ทุกคนมีสิทธิที่จะมีขีวิตอยู่ท่ามกลางความสงบเรียบร้อยของสังคมและระหว่าง ประเทศ และขณะเดียวกันได้เน้นว่า ทุกคนต้องมีหน้าที่และความรับผิดชอบต่อชุมชนด้วยสมัชชาสหประชาชาติได้ประกาศ ให้ถือปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชนนี้ เป็นมาตรฐานร่วมกันที่ทุกประชาชาติจะต้องปฏิบัติตามให้ได้ และเรียกร้องให้รัฐสมาชิกของสหประชาชาติช่วยกันส่งเสริมรับรองเคารพสิทธิและ เสรีภาพตามที่ปรากฎในปฏิญญาสากลโดยทั่วกัน โดยเล็งเห็นความสำคัญในเรื่องสิทธิมนุษยชนนี้ สมัชชาสหประชาชาติจึงลงมติเมื่อวันที่ 4 ธันวาคม ค.ศ. 1950 ให้ถือวันที่ 10 ธันวาคมของทุกปี เป็นวันสิทธิมนุษยชนทั่วโลก [การทูต] |
linear electron accelerator | เครื่องเร่งอิเล็กตรอนเชิงเส้น, เป็นเครื่องเร่งอนุภาคแบบหนึ่ง ใช้เร่งอิเล็กตรอน โดยอิเล็กตรอนจะถูกเร่งให้วิ่งเป็นเส้นตรงภายใต้สนามไฟฟ้าสถิตย์(electrostatic field) หรือสนามไฟฟ้าสลับย่านความถี่คลื่นวิทยุ (Radio frequency field) เครื่องเร่งอนุภาคทั้งสองแบบ ให้อิเล็กตรอนที่มีช่วงพลังงานแตกต่างกัน ในเครื่องเร่งแบบไฟฟ้าสถิตย์ (electrostatic accelerator)หรือเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า เครื่องเร่งแบบกระแสตรง (DC-accelerator) อิเล็กตรอนถูกเร่งให้วิ่งเป็นเส้นตรง ภายใต้ความต่างศักย์ระหว่างขั้วไฟฟ้า 2 ขั้ว เครื่องเร่งชนิดนี้สามารถเร่งลำอิเล็กตรอนให้มีพลังงานระหว่าง 0.1-0.5 ล้านอิเล็กตรอนโวลต์ นิยมใช้ในงานเคลือบผิววัตถุ การปรับปรุงคุณภาพวัสดุ เช่น ฉนวนหุ้มสายไฟ การวัลคาไนซ์ของน้ำยาง ในเครื่องเร่งแบบใช้สนามไฟฟ้าย่านความถี่คลื่นวิทยุ (high frequency accelerator) อิเล็กตรอนถูกเร่งให้วิ่งผ่านท่อทรงกระบอกซึ่งเรียงกันเป็นเส้นตรง และต่อกับแหล่งกำเนิดศักดาไฟฟ้าซึ่งสลับขั้วด้วยความถี่ในย่านของคลื่นวิทยุ เครื่องเร่งนี้สามารถเร่งลำอิเลคตรอนให้มีพลังงานสูงในช่วง 5-10 ล้านอิเล็กตรอนโวลต์ เหมาะสำหรับงานผลิตเวชภัณฑ์ปลอดเชื้อ และงานวิจัยทางฟิสิกส์ [พลังงาน] |
Adjusted entry | รายการปรับปรุง [การบัญชี] |
Adjusted trial balance | งบทดลองหลังการปรับปรุง [การบัญชี] |
Adjustment | การปรับปรุงรายการ [การบัญชี] |
Audit adjustment | รายการปรับปรุงจากการตรวจสอบบัญชี [การบัญชี] |
Depreciation adjustment | การปรับปรุงค่าเสื่อมราคา [การบัญชี] |
Adaptation | ความสามารถในด้านการปรับปรุง, การปรับสภาพ, การดัดแปลง, การปรับตัว, การปรับตัวให้เข้ากับสิ่งแวดล้อม [การแพทย์] |
Adaptational Factors | องค์ประกอบทางด้านการปรับปรุงแก้ไขสภาพ [การแพทย์] |
Breeding | การผสมพันธุ์สัตว์, การปรับปรุงพันธุ์ [การแพทย์] |
Development, Further | การปรับปรุงแผนงานล่วงหน้า [การแพทย์] |
Environmental Manipulation | การดัดแปลงสิ่งแวดล้อมการปรับปรุงสิ่งแวดล้อม [การแพทย์] |
channel improvement | channel improvement, การปรับปรุงทางน้ำ [เทคนิคด้านการชลประทานและการระบายน้ำ] |
Really Simple Syndication( RSS) | อาร์เอสเอส, เทคโนโลยีที่ใช้สำหรับเผยแพร่ข้อมูลที่ถูกปรับปรุงให้ทันสมัยอยู่เป็นประจำได้แบบอัตโนมัติ โดยผู้ใช้ต้องขอรับบริการ ผู้ใช้ไม่ต้องเข้าไปยังเว็บไซต์ที่สนใจต่างๆ โดยตรง เพื่ออ่านข้อมูลที่ได้รับการปรับปรุงในแต่ละวันด้วยตนเองทีละเว็บไซต์ [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
system administrator | ผู้ดูแลระบบ, ผู้ทำหน้าที่บริหารและจัดการระบบคอมพิวเตอร์ในองค์กร โดยดูแลการติดตั้งและบำรุงรักษาระบบปฏิบัติการ การติดตั้งฮาร์ดแวร์ การติดตั้งและการปรับปรุงซอฟต์แวร์ สร้าง ออกแบบและบำรุงรักษาบัญชีผู้ใช้ สำหรับองค์กรขนาดเล็กเจ้าหน้าที่ควบคุมระบบอาจต้องดูแลและบริหารระบบเคร [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
webmaster | ผู้พัฒนาและบริหารระบบเว็บไซต์, ผู้ทำหน้าที่ออกแบบพัฒนา ปรับปรุง และบำรุงรักษาเว็บไซต์ให้มีความทันสมัย โดยเฉพาะอย่างยิ่งต้องมีการปรับปรุงข้อมูลให้เป็นปัจจุบันอยู่เสมอ [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
System Development Life Cycle (SDLC) | วงชีพของการพัฒนาระบบ, ขั้นตอนในการพัฒนาระบบงานคอมพิวเตอร์ ประกอบด้วย การวางแผน การวิเคราะห์ระบบงาน การออกแบบระบบงานใหม่ การพัฒนาโปรแกรม การนำไปใช้งาน และการปรับปรุงแก้ไขข้อผิดพลาด [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
unshielded twisted pair (UTP) | สายยูทีพี, สายคู่บิดเกลียวแบบไม่ป้องกันสัญญาณรบกวนใช้ในระบบโทรศัพท์ ต่อมาได้มีการปรับปรุงคุณสมบัติให้ดีขึ้น จนสามารถใช้กับสัญญาณความถี่สูงได้ ทำให้ส่งข้อมูลได้ด้วยความเร็วสูงขึ้น [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
technology evolution | วิวัฒนาการของเทคโนโลยี, พัฒนาการของสิ่งของเครื่องใช้ ผลิตภัณฑ์ หรือวิธีการ ซึ่งมีเหตุผลและปัจจัยของการเปลี่ยนแปลงเพื่อแก้ปัญหา สนองความต้องการ หรือเพิ่มความสามารถในการทำงานของมนุษย์ โดยมีการปรับปรุงกระบวนการผลิต ลักษณะทางกายภาพ วัสดุ หน้าที่ใช้สอย การใช้งาน รวมถึงประสิทธิภาพอย่า [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
Improvement in Speed | การปรับปรุงความเร็ว [การแพทย์] |
Modification | การปรับปรุงเทคนิคเดิมให้มีคุณสมบัติดีขึ้น, การสูญฟันเพิ่ม [การแพทย์] |
amendment | (n) การพัฒนาขึ้น, See also: การปรับปรุงขึ้น, Syn. improvement |
amends | (n) การแก้ไข, See also: การปรับปรุง |
betterment | (n) การปรับปรุง, See also: การทำให้ดีขึ้น, Syn. improvement |
culture | (n) การพัฒนา, See also: การปรับปรุง, Syn. improvement |
eugenic | (adj) เกี่ยวกับการปรับปรุงลักษณะทางพันธุกรรมของมนุษย์ให้ดีขึ้น, See also: เกี่ยวกับการปรับปรุงลักษณะทางพันธุกรรมของมนุษย์ให้ดีขึ้น โดยอนุญาตให้เฉพาะคนที่มียีน |
eugenically | (adv) โดยเกี่ยวกับการปรับปรุงลักษณะทางพันธุกรรมของมนุษย์ให้ดีขึ้น, See also: โดยเกี่ยวกับการปรับปรุงลักษณะทางพันธุกรรมของมนุษย์ให้ดีขึ้น โดยอนุญาตให้เฉพาะคนที่มี |
eugenics | (n) การปรับปรุงลักษณะทางพันธุกรรมของมนุษย์ให้ดีขึ้น, See also: การปรับปรุงลักษณะทางพันธุกรรมของมนุษย์ให้ดีขึ้น โดยอนุญาตให้เฉพาะคนที่มียีนส์ที่เป็น |
face-lift | (n) การปรับปรุงรูปลักษณ์ภายนอกให้ดูดียิ่งขึ้น |
smell of the lamp | (idm) (หนังสือ) ที่ได้รับการปรับปรุงจนไม่เหลือรูปแบบเดิม หรือไม่เป็นธรรมชาติมากนัก |
improvement | (n) การปรับปรุง, See also: การแก้ไข, การทำให้ดีขึ้น, Syn. amelioration, development, Ant. decay, deterioration |
innovation | (n) นวัตกรรม, See also: การสร้างสรรค์สิ่งใหม่ๆ, การปรับปรุงใหม่, Syn. alteration, modernization |
makeover | (n) การเปลี่ยนแปลง, See also: การปรับปรุง, การปฎิรูป, Syn. change, renovation |
recension | (n) การปรับปรุงใหม่, See also: ฉบับปรับปรุงขึ้นใหม่, การแก้ไขเพิ่มเติม, Syn. revision, reprint, new version, emendation |
reform | (n) การปฏิรูป, See also: การปรับปรุง, การเปลี่ยนแปลง, Syn. amendment, improvement |
reformation | (n) การปฏิรูป, See also: การปรับปรุงใหม่ |
revamp | (n) การปรับปรุงใหม่, See also: การซ่อมแซม, การแก้ไข, Syn. alteration |
revision | (n) การปรับปรุงใหม่, See also: การแก้ไขใหม่, Syn. revisal, correction, editing, updating, update |
body count | (sl) จำนวนผู้ไม่ถูกว่าจ้าง (หลังจากการปรับปรุงระบบขององค์กรใหม่) |
amelioration | (อะเมลเลียเร' เชิน) n. การทำให้ดีขึ้น, การปรับปรุงให้ดีขึ้น (improvement) |
amendment | (อะเมนดฺ' เมินทฺ) n. การแก้ไข, การปรับปรุง, การแก้หรือแปรญัตติ, คำแก้หรือคำแปรญัตติ, Syn. improvement |
arrangement | (อะเรนจฺ'เมินทฺ) n. การจัด, การจัดการ, ภาวะที่ถูกจัด, ลักษณะการจัด, การตระเตรียม, เพลงที่ได้มีการปรับปรุงใหม่, Syn. plan, preparation, Ant. disarrangement |
c++ | (ซีพลัสพลัส) ภาษาซีที่ได้รับการปรับปรุง จนทำให้ผู้เริ่มเรียนสามารถเข้าใจได้ง่ายขึ้น มีเนื้อหาที่หนักไปทางเชิงวัตถุ (object oriented) มากขึ้น สามารถนำมาเขียนโปรแกรมใหญ่ ๆ ได้ จึงได้รับความนิยมมากในปัจจุบัน ดู object oriented ประกอบ |
file maintenance | การบำรุงรักษาแฟ้มข้อมูลหมายถึง การปรับปรุงแฟ้มข้อมูลให้ทันสมัยและถูกต้อง อยู่เสมอ เป็นต้นว่า เพิ่ม/ลด หรือเปลี่ยนแปลงข้อมูลบางประการ |
file management | การจัดการแฟ้มข้อมูลหมายถึงการกำหนดกฎเกณฑ์ต่าง ๆ เพื่อใช้ในกระบวนการที่เกี่ยวกับการสร้างแฟ้มข้อมูล การปรับปรุงแฟ้ม และการเรียกหาข้อมูลมาใช้จากแฟ้ม |
improvement | (อิมพรูฟว' เมินทฺ) n. การทำให้ดีขึ้น, การปรับปรุง, การแก้ไข, ภาวะหรือสภาพที่ดีขึ้น, สิ่งที่ถูกปรับปรุงให้ดีขึ้น, สิ่งที่ช่วยทำให้ดีขึ้น, Syn. betterment |
recension | (รีเซน'เชิน) n. ฉบับปรับปรุงใหม่, การปรับปรุงใหม่, การแก้ไขเพิ่มเติม |
reclamation | (เรคละเม'เชิน) n. การหักร้างถางพง, การบุกเบิก, การทำประโยชน์ในที่ดิน, การทำประโยชน์จากของเสีย, การปรับปรุง |
reengineer | ยกเครื่องใหม่หมายถึง การปรับปรุงเปลี่ยนแปลงระบบการทำงานใหม่หมดทั้งสำนักงาน อาจจะเริ่มตั้งแต่ เปลี่ยนโครงสร้าง กำหนดสายงานใหม่ ไปจนถึง กำหนดเวลาทำงาน ฯ ทุกอย่างเพื่อบรรลุวัตถุประสงค์ที่จะทำให้การทำงานมีประสิทธิภาพดีขึ้น |
reformation | (เรฟฟะเม'เชิน) n. การปฏิรูป, การเปลี่ยนรูป, การปรับปรุง, การเข้าแถวใหม่, การกลับเนื้อกลับตัว, การแก้ไขใหม่, การดัดนิสัย, See also: Reformation n. การปฏิรูปศาสนาในศตวรรษที่ 16 ที่ทำให้เกิดนิกายโปรเตสแตนต์ขึ้น -reformational adj. |
reformative | (รีฟอร์ม'มะทิฟว) adj. เป็นการปฏิรูป, เป็นการปรับปรุง, เป็นการดัดนิสัย |
rehash | (รีแฮช') vt. ปรับปรุงใหม่, ทำให้รูปแบบใหม่, n. การปรับปรุงใหม่, การทำในรูปแบบใหม่, สิ่งที่ได้รับการปรับปรุงหรือปฏิรูป |
revisal | (รีไว'เซิล) n. การแก้ไขใหม่, การปรับปรุงใหม่, การชำระ, การเปลี่ยนแปลง, สิ่งที่ปรับปรุงแก้ไข |
revision | (รีวิส'เชิน) n. การปรับปรุงแก้ไข, ฉบับปรับปรุงแก้ไข, กระบวนการปรับปรุงแก้ไข, การชำระใหม่, See also: revisional, adj. revisionary adj., Syn. redaction, updating |
revision history | ประวัติการปรับปรุงโปรแกรมหมายถึง ประวัติการปรับปรุงโปรแกรมแต่ละรุ่นตามลำดับ เช่น ประวัติการปรับปรุงโปรแกรม Adobe Illustrator จากฉบับ 1.0 ถึงฉบับ 3.2 ว่า ฉบับใดปรับปรุงในเรื่องใดบ้าง อย่างนี้เป็นต้น |
revisory | (รีไว'ซะรี) adj. เกี่ยวกับ (การปรับปรุงแก้ไข, ฉบับปรับปรุงแก้ไข, กระบวนการปรับปรุงแก้ไข, การชำระใหม่) |
self-improvement | (เซลฟฺอิมพรูฟ'เมินทฺ) n. การปรับปรุงตัวเอง., See also: self-improving adj. |
shareware | แชร์แวร์หมายถึง โปรแกรมหรือซอฟต์แวร์ที่อาจต้องมีการเสียค่าใช้จ่ายในรูปของการบริจาคตามความสมัครใจ เมื่อต้องการคัดลอกไปใช้ ผู้ขายยังคงรักษาความเป็นเจ้าของอยู่ ผู้ซื้อจะได้รับคู่มือการใช้บริการสนับสนุน ตอบข้อข้องใจทางโทรศัพท์ และการแจ้งการปรับปรุงครั้งใหม่ของโปรแกรมนั้น ๆ ถ้าเป็นของสาธารณะ (publlic domain จะไม่ตัองเสียค่าใช้จ่ายเลยดู piracy และ public domain เปรียบเทียบ |
adjustment | (n) การปรับ, การปรับปรุง, การแก้ไข |
improvement | (n) การปรับปรุง, การพัฒนา, การส่งเสริม, การแก้ไข |
innovation | (n) การเปลี่ยนแปลงใหม่, การปรับปรุง, นวัตกรรม, วิธีการใหม่ |
readjustment | (n) การปรับปรุงใหม่, การจัดใหม่ |
rearrangement | (n) การปรับปรุงใหม่, การจัดแจงใหม่, การจัดใหม่ |
reclamation | (n) การทำให้คืนดี, การเรียกคืน, การบุกเบิก, การปรับปรุง |
reformatory | (adj) เป็นการปฏิรูป, ซึ่งทำให้ดีขึ้น, เป็นการดัดนิสัย, เป็นการปรับปรุง |
renovation | (n) การปรับปรุงใหม่, การทำขึ้นใหม่, การทำให้มีชีวิตชีวา |
reorganization | (n) การปรับปรุง, การจัดใหม่, การปฏิรูป |
revision | (n) การแก้ไขใหม่, การทบทวน, การปรับปรุงแก้ไข, ฉบับปรับปรุงใหม่ |
uplift | (n) การยกขึ้น, การยกระดับ, การปรับปรุง |