การย้อมสี | (n) dyeing, See also: tinge, tint, Example: ชาวไตเหนือในเขตซำเหนือมีความชำนาญในการทอและการย้อมสีสีครามหรือindigoเป็นพิเศษ |
staining | ๑. การติดสีย้อม๒. การย้อมสี [ มีความหมายเหมือนกับ stain ๒ และ tinction ๑ ] [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
stain | ๑. สีย้อม๒. การย้อมสี [ มีความหมายเหมือนกับ staining ๒ และ tinction ๑ ]๓. ย้อม [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
stain, acid fast | ๑. สีย้อมทนกรด๒. การย้อมสีทนกรด [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
acid fast stain | ๑. สีย้อมทนกรด๒. การย้อมสีทนกรด [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
tinction | ๑. การย้อมสี [ มีความหมายเหมือนกับ stain ๒ และ staining ๒ ]๒. การใส่สี [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
Dyes and dyeing ; Stains and staining | สีย้อมและการย้อมสี [TU Subject Heading] |
Dyes and dyeing, Domestic | สีย้อมและการย้อมสีในครัวเรือน [TU Subject Heading] |
Glass painting and staining | จิตรกรรมและการย้อมสีบนกระจก [TU Subject Heading] |
Stains and staining (Microscopy) | สีย้อมและการย้อมสี (จุลทรรศนศาสตร์) [TU Subject Heading] |
Blood Count, Differential | การย้อมสีแยกชนิดเม็ดเลือด, การนับแยกชนิดเม็ดเลือด [การแพทย์] |
Counterstain | สีย้อมทับ, การย้อมสีทับ [การแพทย์] |
Fluorescent Antibody | กระบวนการภูมิคุ้มกันการเรืองแสง, การย้อมสีด้วยสารเรืองแสง [การแพทย์] |
mordant | มอร์แดนต์, สารเคมีที่ช่วยให้สีติดกับสิ่งที่ย้อมในการย้อมสี เช่น การย้อมผ้าด้วยสีย้อมผ้าบางชนิดต้องใช้สารส้มเป็นมอร์แดนต์ ถ้าใข้มอร์แดนต์ต่างชนิดกันถึงแม้จะเป็นเส้นใยและสีย้อมชนิดเดียวกันก็จะให้สีต่างกัน [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
batik | (n) การพิมพ์ผ้าด้วยมือ, See also: เทคนิคการย้อมสีสิ่งทอด้วยมือโดยใช้ขี้ผึ้งเป็นตัวปกคลุมส่วนที่ไม่ต้องการย้อม, สิ่งทอท, Syn. tie-dyeing |
pigmentation | (n) การย้อมสี, Syn. color, complexion |
tie-dye | (n) เทคนิคการย้อมสีของอินเดียนแดง |
batik | (บะทีค') n. เทคนิคการย้อมสีสิ่งทอด้วยมือโดยใช้ขี้ผึ้งเป็นตัวปกคลุมส่วนที่ไม่ต้องการย้อม, สิ่งทอที่ย้อมสีโดยวิธีดังกล่าว, Syn. battik |
epsom salt | เกลือแมกนีเซียม ซัลเฟต ใช้ในการย้อมสีฟอกหนัง ปุ๋ยและอื่น ๆ |
Chromatin | [โครมาติน] เป็นโครงสร้างย่อยของนิวเคลียส โครโมโซม 1 แท่งประกอบด้วยโครมาตินหรือโครมาทิด (Chromatid) ที่เหมือนกันซึ่งเกิดจากการที่โครโมโซมจำลองตัวเองขึ้นมาโดยโครมาตินหรือโครมาทิดทั้งสองจะติดกันตรงส่วนที่เรียกว่า เซนโทรเมียร์ (Centromere) โครมาทิน หรือ โครมาติน (chromatin) คือ สายของดีเอ็นเอ(DNA)สายยาวเพียงสายเดียวที่พันตัวรอบโปรตีนที่ชื่อ“ฮิสโตน(histone)”เอาไว้ ทำให้รูปร่างของโครมาทิน(chromatin) มีรูปร่างคล้ายลูกปัดที่มีลักษณะเรียงต่อๆกัน โดยมีสายของดีเอ็นเอ(DNA)พันรอบลูกปัดนั้นอยู่ โครมาทิน(chromatin) จึงเป็นสารประเภท “นิวคลีโอโปรตีน (Nucleoprotein)” [ มาจากคำว่า Nucleic + Protein ซึ่งดีเอ็นเอ(DNA)เป็นพวก Nucleic acid ส่วนฮิสโตน(histone) เป็นโปรตีน ] นอกจากนี้ในโครมาทิน(chromatin)ยังประกอบด้วยโปรตีนที่ไม่ใช่ฮิสโตน (nonhistone)อีกด้วย โดยโครมาทิน(chromatin) จะพบในส่วนของนิวเคลียส เมื่อทำการย้อมสีเซลล์ของเซลล์แบบทั่วๆไป ในส่วนของโครมาทิน(chromatin) จะสามารถติดสีได้ดีและมีรูปร่างคล้ายเส้นใยตาข่าย (chromatin network) ละเอียดๆ จึงทำให้เห็นส่วนของนิวเคลียสได้ชัดเจน โดยโครมาทิน(chromatin)มักพบได้ในช่วงที่เซลล์ไม่มีการแบ่งตัวหรืออยู่ในระยะอินเตอร์เฟส (interphase) |