กู้ภัย | (v) rescue, See also: save, aid, help, restore, Syn. กอบกู้, ช่วยเหลือ, Example: นายกเทศมนตรีเมืองเชียงใหม่สั่งให้เจ้าหน้าที่เตรียมกู้ภัยในกรณีมีน้ำท่วมฉับพลันแล้ว, Thai Definition: ช่วยให้รอดปลอดภัย |
กู้ภัย | ก. ช่วยให้รอดปลอดภัย. |
salvor | ผู้กู้ภัย [ประกันภัย ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] |
salvage | ๑. การกู้ภัย๒. ค่ากู้ภัย๓. ซากทรัพย์ [ประกันภัย ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] |
salvage | ๑. การกู้ภัย๒. ซากทรัพย์ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
salvage agreement | ข้อตกลงการกู้ภัย [ประกันภัย ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] |
salvage agreement | ข้อตกลงการกู้ภัย [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
salvage and recovery clause | ข้อกำหนดการกู้ภัยและส่วนรับคืน [ประกันภัย ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] |
salvage charges | ค่ากู้ภัย [ประกันภัย ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] |
salvage charges | ค่ากู้ภัย [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
salvage charges clause | ข้อกำหนดค่ากู้ภัย [ประกันภัย ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] |
salvage guarantee | การค้ำประกันการกู้ภัย [ประกันภัย ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] |
salvage guarantee | การค้ำประกันการกู้ภัย [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
Salvage | การกู้ภัย, การกู้ภัย [เศรษฐศาสตร์] |
Salvage | ค่ากู้ภัย [เศรษฐศาสตร์] |
Salvage | การกู้ภัยทางทะเล [TU Subject Heading] |
Salvage Cutting | การตัดไม้กู้ภัย, Example: การตัดฟันที่กระทำโดยมีความมุ่งหมาย เพื่อกำจัดต้นไม้ที่ถูกทำอันตรายหรือตาย อันเนื่องมาจากภัยพิบัติอื่นที่นอกเหนือจากการแก่งแย่ง แข่งขันกันระหว่างพืชด้วยกัน การตัดฟันนี้ทำ เพื่อนำไม้ที่ได้รับอันตรายเหล่านั้นไปใช้ประโยชน์ เสียก่อนที่มันจะผุพังไป บางครั้งอาจทำ Presalvage Cutting โดยตัดต้นไม้ที่อ่อนแอและคาดว่าจะได้รับอันตรายออกไปจากพื้นที่นั้นก่อนที่ จะเกิดอันตรายขึ้น [สิ่งแวดล้อม] |
ASEAN Regional Forum | การประชุมอาเซียนว่าด้วยความร่วมมือด้านการเมืองและความมั่นคงในภูมิภาค เอเชีย-แปซิฟิก " เป็นการประชุมระหว่างรัฐมนตรีต่างประเทศอาเซียนกับรัฐมนตรี ต่างประเทศของประเทศคู่เจรจาของอาเซียน (Dialogue Partners) ได้แก่ ญี่ปุ่น สาธารณรัฐเกาหลี (เกาหลีใต้) สหรัฐอเมริกา แคนาดา ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ อินเดีย จีน รัสเซีย และสหภาพยุโรป ผู้สังเกตการณ์ (Observers) ของอาเซียน ได้แก่ ปาปัวนิวกินี และประเทศอื่น ๆ ที่มีบทบาทสำคัญในภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก เช่น มองโกเลียและสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนเกาหลี (เกาหลีเหนือ) โดย ARF ได้ใช้ ""geographical footprint"" หรือขอบเขตทางภูมิศาสตร์ เป็นปัจจัยสำคัญเพื่อประกอบการพิจารณารับสมาชิกใหม่ ปัจจุบัน ARF มีประเทศสมาชิก 22 ประเทศ กับ 1 กลุ่ม (สหภาพยุโรป) โดยมีการประชุมเป็นประจำทุกปีในช่วงต่อเนื่องกับการประชุมรัฐมนตรี ต่างประเทศอาเซียน (ASEAN Ministerial Meeting - AMM) เป็นเวทีปรึกษาหารือเพื่อส่งเสริมความร่วมมือด้านการเมืองและความมั่นคง ระดับพหุภาคีในภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิก และพัฒนาแนวทางการ ดำเนินการทางการทูตเชิงป้องกัน (Preventive Diplomacy) ที่มุ่ง ป้องกันการเกิดและขยายตัวของความขัดแย้ง โดยใช้มาตรการสร้างความไว้เนื้อเชื่อใจ (Confidence Building Measures - CBMs) ระหว่างกัน ทั้งนี้ ARF มีการประชุมระดับรัฐมนตรีครั้งที่ 1 ที่กรุงเทพฯ เมื่อวันที่ 25 กรกฎาคม 2537 และไทยเป็นเจ้าภาพจัดการประชุม ARF ระดับรัฐมนตรีอีกครั้ง ซึ่งเป็นครั้งที่ 7 ที่กรุงเทพฯ เมื่อวันที่ 27 กรกฎาคม 2543 นอกจากการประชุม ARF ประจำปีแล้วยังมีการดำเนินกิจกรรมระหว่างปี (Inter-sessional Activities) ในสองระดับ คือ กิจกรรมที่เป็นทางการ (Track I) และกิจกรรมที่ไม่เป็นทางการ (Track II) ซึ่งเป็นกิจกรรมที่จัดร่วมกันระหว่างรัฐบาลกับสถาบันวิชาการของ ประเทศผู้เข้าร่วม ARF ได้แก่ (1) การประชุมระหว่างปีกิจกรรมกลุ่มสนับสนุนว่าด้วยมาตรการสร้างความไว้เนื้อ เชื่อใจของ ARF (ARF Inter-sessional Support Group on Confidence Building Measures - ARF ISG on CBMs) (2) การประชุมระหว่างปีกิจกรรมเรื่องการบรรเทาภัยพิบัติของ ARF (ARF Inter-sessional Meeting on Disaster Relief - ARF ISM on DR) (3) การประชุมระหว่างปีกิจกรรมเรื่องการรักษาสันติภาพของ ARF (Inter-sessional Meeting on Peace-keeping Operations - ARF ISM on PKO) และ (4) การประชุมระหว่างปีกิจกรรมเรื่องการประสานและร่วมมือด้านการค้นหาและกู้ภัย ของ ARF (ARF Inter-sessional Meeting on Search and Rescue Coordination - ARF ISM on SAR) " [การทูต] |
การกู้ภัย | [kān kūphai] (n) EN: salvage |
ค่ากู้ภัย | [khā kūphai] (n, exp) EN: salvage charges |
ข้อกำหนดค่ากู้ภัย | [khøkamnot khā kūphai] (n, exp) EN: salvage charges clause |
กู้ภัย | [kūphai] (v) EN: rescue ; salvage FR: sauver |
salvation army | (n) หน่วยบรรเทาทุกข์, หน่วยกู้ภัย |
salvage | (n) การกู้ภัย, See also: การกอบกู้, Syn. rescue, saving, recovery |
wrecker | (เรค'เคอะ) n. ผู้ทำลาย, ผู้ทำให้พังพินาศ, สิ่งที่ทำให้พังพินาศ, ผู้กู้เรือ, รถกู้ภัย |
wrecker | (n) ผู้ทำลาย, คนรื้อถอน, คนกู้เรือ, รถกู้ภัย |
lifeguard | [คำอ่าน :: ชีบ-พะ-บาน] (n) lifeguard [ 1 ] - (N) - ชีพบาล คำอ่าน :: ชีบ-พะ-บาน คำหมาย :: ผู้ประกอบวิชาชีพดูแลความปลอดภัยทางน้ำ ให้แก่ผู้ทำกิจกรรมนันทนาการทางน้ำ เช่น สระว่ายน้ำ , สวนน้ำ, ชายหาด, ชายทะเล ที่ผ่านการฝึกอบรมอย่างเข็มข้น ทั้งทักษะการว่ายน้ำ ปฐมพยาบาล การกู้ชีพ กู้ภัยทางน้ำ รวมทั้งการใช้อุปกรณ์หลากหลายที่เกี่ยวข้องการทำงาน บางพื้นที่ในต่างประเทศ ยังต้องทำงานเกี่ยวข้องกับการงานฉุกเฉิน เช่น การกู้ภัยบนภูเขา การนำส่งผู้ประสพภัยฉุกเฉิน จากภัยพิบัติต่างๆ อ้างอิง :: life = ชีวิต, ชีพ guard = ยาม, ผู้ดูแล ในที่นี้ ขอใช้คำว่า บาล ซึ่งหมายถึงผู้ดูแล เช่น รัฐบาล, คชบาล, โคบาล, ทวารบาล, พยาบาล, อภิบาล, อนุบาล lifeguard [ 2 ] - (N) – ทหารรักษาพระองค์ (ทหารมหาดเล็ก) ในกองทัพ สหราชอาณาจักร (ประเทศอังกฤษ), See also: Lifesaving, Lifesaver |
lifesaver | [ชีบ-พะ-รัก-สิก] lifesaver [ 1 ] - (N) - ชีพรักษิก คำอ่าน :: ชีบ-พะ-รัก-สิก คำขยาย :: อิก (สระ อิ + ก ไก่) หมายถึง คน หรือ ผู้(ที่เป็น) เช่น สถาปนิก สมาชิก ศาสนิก ปาราชิก ความหมาย :: อาสาสมัครที่ได้เรียนรู้ และได้รับการฝึกอบรมทักษะการว่ายน้ำ การปฐมพยาบาล การกู้ชีพ กู้ภัยทางน้ำ เบื้องต้น แต่ไมได้เป็นผู้ประกอบวิชาชีพดูแลความปลอดภัยทางน้ำ โดยตรง, See also: Lifesaving, Lifeguard |
lifesaving | [ชีบ-พะ-รัก] (n) Lifesaving [ 1 ] – ชีพรักษ์ คำอ่าน :: ชีบ-พะ-รัก ความหมาย :: วิชาชีพเกี่ยวกับการดูแลความปลอดภัยทางน้ำ ที่มีการการฝึกอบรมอย่างเข็มข้น ทั้งทักษะการว่ายน้ำ ปฐมพยาบาล การกู้ชีพ กู้ภัยทางน้ำ รวมทั้งการใช้อุปกรณ์หลากหลายที่เกี่ยวข้องการทำงาน ให้แก่ผู้ทำกิจกรรมนันทนาการ เช่น สระว่ายน้ำ , สวนน้ำ, ชายหาด, ชายทะเล ที่ผ่าน บางพื้นที่ในต่างประเทศ ยังต้องทำงานเกี่ยวข้องกับการงานฉุกเฉิน เช่น การกู้ภัยบนภูเขา การนำส่งผู้ประสพภัยฉุกเฉิน จากภัยพิบัติต่างๆ |
救助 | [きゅうじょ, kyuujo] (vt) ช่วยเหลือ, กู้ภัย |