ขัดต่อ | (v) contrary to, See also: be contradictory with, be in conflict with, go against, Syn. ขัดกับ, ตรงข้าม |
ลงคอ | ว. อาการที่ทำสิ่งที่ขัดต่อคุณธรรมหรือศีลธรรมเป็นต้นโดยไม่ตะขิดตะขวง เช่น แม่หาเงินมาด้วยความยากลำบากลูกยังขโมยได้ลงคอ เด็กตัวเท่านี้แม่ยังตีได้ลงคอ. |
perverse verdict | คำตัดสินของลูกขุนที่ขัดต่อข้อกฎหมาย [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
contrary to public order or good morals | ขัดต่อความสงบเรียบร้อยหรือศีลธรรมอันดีของประชาชน [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
contra bonos mores (L.) | ขัดต่อศีลธรรมอันดี [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
contra jus belli (L.) | ขัดต่อกฎแห่งสงคราม [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
extraconstitutional | ๑. นอกเหนือรัฐธรรมนูญ๒. ต้องห้ามตามรัฐธรรมนูญ๓. ขัดต่อรัฐธรรมนูญ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
immoral | ผิดศีลธรรม, ขัดต่อศีลธรรม [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
immoral contract | สัญญาที่ขัดต่อศีลธรรม [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
illegal contract | สัญญาที่ขัดต่อกฎหมาย [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
unconstitutional | ขัดต่อรัฐธรรมนูญ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
unconstitutional | ขัดต่อรัฐธรรมนูญ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
Conscientious objection | การปฏิเสธที่จะปฏิบัติตามกฎหมายที่ขัดต่อมโนธรรม [TU Subject Heading] |
Immoral contracts | สัญญาที่ขัดต่อศีลธรรม [TU Subject Heading] |
Humanitarian Intervention | การแทรกแซงเพื่อมนุษยธรรม " เป็นแนวคิดที่นายโคฟี อันนาน เลขาธิการสหประชาชาติเสนออย่างเป็น ทางการครั้งแรกต่อที่ประชุมสมัชชาสหประชาชาติ สมัยที่ 54 เมื่อปี พ.ศ. 2542 โดยมุ่งจะให้สหประชาชาติสามารถเข้าไปแก้ไขปัญหาความเดือดร้อนของประชาชนภาย ในประเทศต่าง ๆ ได้โดย คำนึงถึงประเด็นเรื่องมนุษยธรรมเป็นหลัก ขณะนี้ แนวคิดนี้ยังคงเป็นที่ถกเถียงกันและยังไม่ยุติ โดยบางประเทศเห็นว่า เป็นการดำเนินการที่ขัดต่อกฎบัตรสหประชาชาติและกฎหมายระหว่างประเทศ เนื่องจากเป็นการละเมิดอธิปไตยของรัฐ บางประเทศเห็นว่าเป็นมาตรการที่จำเป็นเพื่อแก้ปัญหาของมนุษยชาติ ส่วนบางประเทศเห็นว่าการแทรกแซงดังกล่าวจะต้องอยู่ใต้กรอบหลักเกณฑ์ หรือกรอบกฎหมายบางประการ เช่น กฎบัตรสหประชาชาติ " [การทูต] |
rub away | (idm) ถูต่อไป, See also: ขัดต่อเนื่อง |
whistle-blower | (n) ผู้แจ้งเบาะแส, ผู้แจ้งเหตุ, ผู้แจ้งหรือให้ข้อมูลแก่ทางการหรือสาธารณะว่าบริษัทตนกระทำผิดหรือขัดต่อกฎหมาย, See also: whistle-blowing |