คนงาน | น. ผู้ใช้แรงในการทำงานเพื่อรับค่าตอบแทน. |
กรรมกร | (กำมะกอน) น. คนงาน, ลูกจ้างที่ใช้แรงงาน. |
การิตการก | (การิดตะ-) น. ผู้ถูกใช้ให้ทำ, เป็นประธานของประโยค เรียงไว้หน้ากริยา “ถูก-ให้” เช่น คนงานถูกนายจ้างให้ทำงานทั้งกลางวันและกลางคืน, ถ้ามิได้เป็นประธานก็เรียงไว้หลังบุรพบท “ยัง” หรือกริยานุเคราะห์ “ให้” เช่น นายจ้างยังลูกจ้างให้ทำงาน นายจ้างให้ลูกจ้างทำงาน. |
จีนเต็ง | น. หัวหน้าคนงานที่เป็นชาวจีน (ใช้เฉพาะในสถานที่ทำการร่วมกันมาก ๆ เช่น บ่อนหรือโรงสุรายาฝิ่น). |
รุ | ก. ระบายสิ่งที่ไม่ต้องการออกไป เช่น บริษัทรุคนงานเก่าออก พี่รุเสื้อผ้าให้น้อง. |
เร่ง | ก. ทำให้เร็วขึ้นกว่าปรกติ เช่น เร่งตรวจข้อสอบ, บังคับให้เร็ว, บอกเตือนให้รีบปฏิบัติ, เช่น เร่งคนงานให้ทำงานให้ทันเวลา เร่งลูกให้แต่งตัวไปโรงเรียน. |
แรงงาน | น. คนงาน, ผู้ใช้แรงในการทำงาน, เช่น การพัฒนาชนบทต้องอาศัยแรงงานจากท้องถิ่น งานก่อสร้างต้องการแรงงานเพิ่ม, ประชากรในวัยทำงาน ไม่รวมถึงคนพิการ คนวิกลจริต นักเรียน นักศึกษา แม่บ้าน นักบวช ทหาร ผู้ต้องขัง และผู้ประกอบกิจการเพื่อหากำไร เช่น วันแรงงาน, แรงที่ใช้ในการทำงาน เช่น ถนนนี้สร้างสำเร็จด้วยแรงงานของชาวบ้าน |
แรงงาน | ความสามารถในการทำงานเพื่อประโยชน์ในทางเศรษฐกิจ, กิจการที่คนงานทำในการผลิตเศรษฐทรัพย์. |
โรงงาน | น. อาคาร สถานที่ หรือยานพาหนะที่ใช้เครื่องจักรมีกำลังรวมตั้งแต่ ๕ แรงม้าขึ้นไป หรือใช้คนงานตั้งแต่ ๗ คนขึ้นไป สำหรับทำ ผลิต ประกอบ บรรจุ ซ่อม ซ่อมบำรุง ทดสอบ ปรับปรุง แปรสภาพ ลำเลียง เก็บรักษา หรือทำลายสิ่งใด ๆ. |
ลอยแพ | ก. จับใส่แพแล้วปล่อยให้ลอยล่องไปในน้ำตามยถากรรม เช่น สมัยโบราณเอาคนชั่วลอยแพไป นางกากีถูกลอยแพ, โดยปริยายหมายถึง ปล่อยให้ตกอยู่ในสถานะลำบาก เช่น โรงงานขาดทุนต้องปิดกิจการ คนงานจึงถูกลอยแพ. |
สารวัตรทหาร | น. ทหารที่ได้รับคำสั่งจากผู้มีอำนาจสั่งใช้ให้ปฏิบัติหน้าที่ เช่น สอดส่อง ตรวจตรา ตักเตือน จับกุมทหาร ข้าราชการพลเรือนและคนงานสังกัดกระทรวงกลาโหมที่กระทำความผิดหรือไม่อยู่ในระเบียบวินัยซึ่งอยู่ภายนอกที่ตั้งหน่วยทหาร. |
Roustabouts | คนงานที่ทำงานอยู่บนแท่นขุดเจาะในทะเล , คนงานที่ทำงานอยู่บนแท่นขุดเจาะในทะเล, Example: มีหน้าที่ยกและเคลื่อนย้ายเครื่องมือและอุปกรณ์ต่างๆที่ขนมาจากบนฝั่ง (Shore base) ขึ้นมาบนแท่นเจาะในทะเลสำหรับใช้ทำงาน [ปิโตรเลี่ยม] |
Agricultural worker | คนงานภาคเกษตร [เศรษฐศาสตร์] |
Casual worker | คนงานชั่วคราว [เศรษฐศาสตร์] |
Seasonal worker | คนงานตามฤดูกาล [เศรษฐศาสตร์] |
Women textile workers | คนงานสตรีในอุตสาหกรรมสิ่งทอ [TU Subject Heading] |
Women service industries workers | คนงานสตรีในอุตสาหกรรมบริการ [TU Subject Heading] |
Women rubber industry workers | คนงานสตรีในอุตสาหกรรมยาง [TU Subject Heading] |
Agricultural extension workers | คนงานในการส่งเสริมการเกษตร [TU Subject Heading] |
Agricultural laborers | คนงานในการเกษตร [TU Subject Heading] |
Agricultural laborers, Foreign | คนงานต่างชาติในการเกษตร [TU Subject Heading] |
Automobile industry workers | คนงานในอุตสาหกรรมรถยนต์ [TU Subject Heading] |
Chemical workers | คนงานในอุตสาหกรรมเคมี [TU Subject Heading] |
Children of foreign workers | บุตรของคนงานต่างชาติ [TU Subject Heading] |
Clothing trade | คนงานตัดเย็บเสื้อผ้า, c [TU Subject Heading] |
Clothing workers | คนงานตัดเย็บเสื้อผ้า [TU Subject Heading] |
Construction workers | คนงานก่อสร้าง [TU Subject Heading] |
Electric industry workers | คนงานในอุตสาหกรรมการไฟฟ้า [TU Subject Heading] |
Electronic industry workers | คนงานในอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ [TU Subject Heading] |
Foreign workers | คนงานต่างชาติ [TU Subject Heading] |
Foreign workers, Burmese | คนงานต่างชาติชาวพม่า [TU Subject Heading] |
Foreign workers, Laotian | คนงานต่างชาติชาวลาว [TU Subject Heading] |
Foreign workers, Philippine | คนงานต่างชาติชาวฟิลิปปินส์ [TU Subject Heading] |
Foreign workers, Thai | คนงานต่างชาติชาวไทย [TU Subject Heading] |
Foreing workers, Vietnamese | คนงานต่างชาติชาวเวียดนาม [TU Subject Heading] |
Furniture workers | คนงานในอุตสาหกรรมเฟอร์นิเจอร์ [TU Subject Heading] |
Labor camps | บ้านพักคนงาน [TU Subject Heading] |
Motorcycle industry workers | คนงานในอุตสาหกรรมจักรยานยนต์ [TU Subject Heading] |
Petroleum workers | คนงานในอุตสาหกรรมปิโตรเลียม [TU Subject Heading] |
Road construction workers | คนงานก่อสร้างทาง [TU Subject Heading] |
Rubber industry workers | คนงานในอุตสาหกรรมยาง [TU Subject Heading] |
Rubber plantation workers | คนงานสวนยาง [TU Subject Heading] |
Sanitation workers | คนงานสุขาภิบาล [TU Subject Heading] |
Stevedores | คนงานขนสินค้าขึ้นลงจากเรือ [TU Subject Heading] |
Sugar refinery workers | คนงานโรงงานน้ำตาล [TU Subject Heading] |
Textile workers | คนงานในอุตสาหกรรมสิ่งทอ [TU Subject Heading] |
Tire industry workers | คนงานในอุตสาหกรรมยางล้อ [TU Subject Heading] |
Transport workers | คนงานในกิจการขนส่ง [TU Subject Heading] |
Unemployed women workers | คนงานสตรีว่างงาน [TU Subject Heading] |
Women clothing workers | คนงานสตรีตัดเย็บเสื้อผ้า [TU Subject Heading] |
Women foreign workers | คนงานต่างชาติสตรี [TU Subject Heading] |
Worker | คนงาน, Example: หมวดประชากร เศรษฐกิจ และสังคม หมายถึง แบ่งเป็นประเภทต่างได้ดังนี้ 1) Blue Collar Worker 2) Clerical and Office Worker 3) Home Worker และ 4) Independent Worker <br>หมวดกฎหมายสิ่งแวดล้อม หมายถึง ผู้ซึ่งทำงานในอาคารโรงงานทั้งนี้ไม่รวมถึงผู้ ที่ทำงานในฝ่ายธุรการ </br> [สิ่งแวดล้อม] |
Construction Worker | คนงานก่อสร้าง, Example: ผู้ซึ่งตกลงทำงานก่อสร้างให้แก่นายจ้างหรือผู้ ว่าจ้าง เพื่อรับจ้างไม่ว่าจะเป็นผู้รับค่าจ้างด้วยตนเองหรือไม่ก็ตาม และให้หมายรวมถึงบุคคลในครอบครัวของคนงานก่อสร้างด้วย [สิ่งแวดล้อม] |
Worker Camp | อาคารที่พักของคนงานก่อสร้าง, Example: บ้าน เรือน โรง หรือสิ่งปลูกสร้างอย่างอื่นที่สร้างขึ้น ตามกฏหมายควบคุมอาคาร เพื่อให้เป็นที่พักอาศัยของคนงานในระหว่างงานก่อสร้าง [สิ่งแวดล้อม] |
International Labor Organization | คือองค์การแรงงานระหว่างประเทศ ตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 11 เมษายน ปีค.ศ.1919 วัตถุประสงค์สำคัญขององค์การคือ การมีส่วนเกื้อกูลให้มีสันติภาพอันถาวร ด้วยการส่งเสริมให้มีความยุติธรรมในสังคม โดยต้องการให้ทุกประเทศปฏิบัติการปรับปรุงสภาวะแรงงาน ส่งเสริมมาตรฐานการครองชีพ พร้อมทั้งส่งเสริมเสถียรภาพทางเศรษฐกิจและสังคมให้ดีขึ้นการที่จะให้บรรลุ ตามวัตถุประสงค์เหล่านี้ องค์การแรงงานระหว่างประเทศจะจัดให้มีการประชุมเป็นประจำ ระหว่างฝ่ายรัฐบาล ฝ่ายแรงงาน และฝ่ายจัดการ เพื่อเสนอแนะและจัดให้มีมาตรฐานระหว่างประเทศ ร่วมกันจัดร่างสัญญาแรงงานระหว่างประเทศเกี่ยวกับเรื่องต่าง ๆ เช่น ค่าแรง ชั่วโมงทำงาน อายุการทำงาน เงื่อนไขการทำงานสำหรับคนงานในระดับต่าง ๆ ค่าชดเชยสำหรับคนงาน การประกันสังคม การหยุดพักร้อนโดยให้รับเงินเดือน ความปลอดภัยในงานอุตสาหกรรม บริการต่าง ๆ ในหน้าที่การงาน การตรวจแรงงาน เสรีภาพในการคบหาสมาคมกัน และอื่น ๆ นอกจากนั้น องค์การยังได้ให้ความช่วยเหลือทางวิชาการอย่างกว้างขวางแก่รัฐบาลของประเทศ สมาชิก รวมทั้งจัดพิมพ์เผยแพร่สิ่งพิมพ์หรือเอกสารรายคาบ เรื่องค้นคว้าและรายงานต่าง ๆ เกี่ยวกับปัญหาสังคม อุตสาหกรรม และแรงงานILO ปฏิบัติงานผ่านองค์กรต่าง ๆ โดยองค์กรสำคัญที่สุดภายในองค์การแรงงานระหว่างประเทศได้แก่ ที่ประชุมใหญ่ (General Conference) ซึ่งประชุมกันเป็นประจำทุกปี ประกอบด้วยคณะผู้แทนแห่งชาติ ในจำนวนนี้มีผู้แทนจากฝ่ายรัฐบาล 2 คน ผู้แทนฝ่ายจัดการ 1 คน และผู้แทนฝ่ายแรงงานอีก 1 คน หน้าที่สำคัญคือจัดวางมาตรฐานทางสังคมระหว่างประเทศขึ้นในรูปของอนุสัญญา องค์กรภายในองค์การอีกส่วนหนึ่งคือคณะผู้ว่าการ (Governing Body) จะประกอบด้วย สมาชิก 40 คน ในจำนวนนี้ 20 คน จะเป็นตัวแทนของฝ่ายรัฐบาล โดยเฉพาะอย่างยิ่ง 10 คน จากจำนวนนี้จะได้แก่ ตัวแทนจากประเทศอุตสาหกรรมใหญ่ ๆ ส่วนตัวแทนของฝ่ายจัดการ (หรือนายจ้าง) จะมีจำนวน 10 คน และอีก 10 คนเป็นตัวแทนของฝ่ายแรงงาน คณะผู้ว่าการนี้จะทำหน้าที่ควบคุมดูแลงานของคณะกรรมาธิการ และคณะกรรมการขององค์การ คือสำนักแรงงานระหว่างประเทศจะมีหน้าที่รวบรวมเผยแพร่ข้อสนเทศ ช่วยเหลือรัฐบาลของประเทศสมาชิกที่ขอร้องให้ช่วยร่างกฎหมายตามที่ได้มีมติ ตกลงในที่ประชุมใหญ่ นอกจากนี้ ยังรับดำเนินการสอบสวนเรื่องต่าง ๆ เป็นพิเศษ รวมทั้งออกสิ่งพิมพ์เผยแพร่องค์การแรงงานระหว่างประเทศมีสำนักงานใหญ่ตั้ง อยู่ ณ กรุงเจนีวา ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ [การทูต] |
Fore Man | หัวหน้าคนงาน [การแพทย์] |
bunkhouse | (n) ที่พักคนงาน |
excess | (vt) ปลด (คนงาน) ออกจากงาน (เนื่องจากการเลิกจ้างงาน), Syn. dismiss |
farmhand | (n) คนงานรับจ้างทำงานในไร่นา, See also: คนงานเก็บเกี่ยวพืชผล, Syn. laborer, harvester |
farmworker | (n) คนงานในฟาร์ม, Syn. farmhand |
fink | (n) คนที่ยังทำงานในขณะที่คนอื่นผละงานประท้วง (คำสแลง), See also: คนงานที่ไม่ยอมหยุดงานขณะมีการประท้วงหยุดงาน, Syn. strikebreaker, scab |
forelady | (n) หัวหน้าคนงานที่เป็นผู้หญิง, Syn. forewoman |
foreman | (n) หัวหน้าคนงาน |
gaffer | (n) หัวหน้าคนงาน, See also: ช่างควบคุมไฟในโทรทัศน์หรือภาพยนตร์, Syn. boss |
general strike | (n) การนัดหยุดงานของคนงานทั่วประเทศ |
go-slow | (n) การประท้วงโดยทำงานล่าช้ากว่าปกติของคนงาน |
hand | (n) คนงาน |
industrial arts | (n) อุตสาหกรรมศิลป์, See also: การศึกษาเกี่ยวกับการพัฒนาทักษะของคนงานในภาคอุตสาหกรรม |
lock out | (phrv) ป้องกันคนงานเข้า, See also: ปิดประตูทางเข้า |
jackleg | (n) คนงานที่ยังไม่มีความชำนาญ |
laborer | (n) ผู้ใช้แรงงาน, See also: กรรมกร, กรรมาชีพ, คนงาน, ลูกจ้าง, แรงงาน, Syn. manual laborer |
man | (n) คนงานชาย, See also: ลูกจ้างชาย, คนรับใช้ชาย, Syn. manservant, attendant, servant |
miner | (n) คนงานเหมือง |
mineworker | (n) คนงานเหมือง, Syn. miner |
operative | (n) คนงาน, Syn. worker, labourer |
operator | (n) ผู้ควบคุม (เครื่องจักร), See also: คนงาน, ช่างผู้ชำนาญ, ผู้ปฏิบัติการ, Syn. technician, mechanic |
peon | (n) คนงาน, See also: ผู้ใช้แรงงาน, Syn. drudge, slave, Trojan |
quarrier | (n) คนงานขุดแร่, Syn. quarryman |
quarryman | (n) คนงานขุดแร่, Syn. quarry |
scab | (n) คนงานที่ไม่ยอมเข้าร่วมหยุดงานประท้วง, See also: คนงานที่ไม่ยอมเข้าร่วมสหภาพแรงงาน, Syn. apostate, deserter, knobstick, traitor, turncoat, strikebreaker |
staff | (n) คณะผู้ทำงาน, See also: คนงาน, Syn. employees, workers |
striker | (n) คนงานที่หยุดงานประท้วง, Syn. protester, walk-outer |
undermanned | (adj) มีคนงานไม่เพียงพอ, See also: มีเจ้าหน้าที่ไม่เพียงพอ, Syn. understaffed, Ant. overmanned |
wheel horse | (n) คนงานที่แข็งแรง ขยันและไว้ใจได้, See also: โดยเฉพาะในองค์กรทางการเมือง |
worker | (n) ลูกจ้าง, See also: คนงาน, กรรมกร, พนักงาน, ผู้ใช้แรงงาน, Syn. employee, laborer |
workman | (n) คนงาน, Syn. laborer, worker |
workmanship | (n) ฝีมือของช่างหรือคนงาน, See also: ทักษะการทำงานของช่างหรือคนงาน, Syn. craft, skill |
workwoman | (n) คนงานหญิง, See also: กรรมกรหญิง, ผู้ใช้แรงงานหญิง |
blue-collar | adj. เกี่ยวกับคนงานในโรงงาน, เกี่ยวกับคนงานที่ใช้มือทำ |
bohunk | (โบ'ฮังคฺ) n. คนงานต่างชาติที่ไม่มีความชำนาญหรือไม่ค่อยชำนาญ |
boxing day | n. วันหลังจากคริสต์มาสหนึ่งวัน เป็นวันให้ของขวัญคริสต์มาสแก่คนงาน บุรุษไปรษณีย์และคนอื่น |
bucker | n. ม้าที่กระโดดหลังโก่ง, คนงานยุ้งฉาง, คนงานตักถ่านหินหรือยกของ |
buffer | (บัฟ'เฟอะ) { buffered, buffering, buffers } n. ตัวกันชน, สารที่สามารถทำให้ทั้งกรดและด่างเป็นกลาง, เครื่องขัดเงา, คนงานขัดเงา vt. ใส่ตัวทำให้กรดหรือด่างเป็นกลาง, ผ่อนคลาย, ปกป้อง, กันชน, Syn. cushion ที่พัก ข้อมูล กันชนบัฟเฟอร์ในกรณีที่อัตราความเร็วในการทำงานของอุปกรณ์บางอย่างมีความเร็วไม่เท่ากัน เป็นต้นว่า เครื่องพิมพ์และหน่วยประมวลผลซึ่งทำงานด้วยความเร็วที่แตกต่างกันมาก คอมพิวเตอร์ประมวลผลเสร็จแล้วจึงต้องส่งผลมารออยู่ที่บัฟเฟอร์ก่อน เพราะเครื่องพิมพ์จะใช้เวลามากกว่าในการพิมพ์ พิมพ์ตามไม่ทัน เราจะพบบ่อย ๆ ว่า แม้ว่าจะสั่งให้หยุดพิมพ์ แต่เครื่องพิมพ์จะไม่หยุดทันที ทั้งนี้เป็นเพราะมีข้อมูลที่คอมพิวเตอร์ส่งไปรออยู่ที่บัฟเฟอร์แล้ว เครื่องพิมพ์จะต้องพิมพ์จนหมดข้อมูลในบัฟเฟอร์นี้ จึงจะหยุด คอมพิวเตอร์นั้นจะมีที่พักข้อมูลทั้งเมื่อรับข้อมูลเข้าและเมื่อส่งข้อมูลออก อันที่จริง บัฟเฟอร์ก็เป็นส่วนหนึ่งของหน่วยความจำนั่นเอง |
bunkhouse | n. บ้านหยาบ ๆ สำหรับคนงาน |
collier | (คอล'เยอะ) n. เรือบรรทุกถ่านหิน, คนงานถ่านหิน, คนขายถ่านหิน |
cottager | (คอท'ทิเจอะ) n. ผู้อยู่กระท่อม, ชาวชนบท, ชาวนารับจ้าง, คนงานชนบท |
dairymaid | (แด'รีเมด) n. หญิงรีดนม, คนงานหญิงในฟาร์มนม |
foreman | (ฟอร์'เมิน) n. หัวหน้าคนงาน, หัวหน้าคณะลูกขุน., See also: foremanship n. -pl. foremen |
ganger | n. หัวหน้ากรรมกร, หัวหน้าคนงาน |
grisette | (กริเซท') n. คนงานหญิงชาวฝรั่งเศส |
jobber | (จอบ'เบอะ) n. พ่อค้าขายส่ง, คนงานที่ทำงานเป็นชิ้น ๆ, Syn. wholesale merchant |
laborer | (เล'เบอเรอะ) n. กรรมกร, คนงาน, ผู้ทำงานหนัก, ผู้กระทำด้วยความลำบาก, Syn. blue-collar, worker |
labourer | (เล'เบอเรอะ) n. กรรมกร, คนงาน, ผู้ทำงานหนัก, ผู้กระทำด้วยความลำบาก, Syn. blue-collar, worker |
man | (แมน) n. คนผู้ชาย, คนเรา, มนุษย์, ผู้ชาย, บุรุษ, มนุษยชาติ, บุคคล, สามี, คนงานที่เป็นผู้ชาย, ลูกน้องที่เป็นผู้ชาย, คนใช้ผู้ชาย, ตัวหมากรุก, เรือกำปั่น. vt. หาคนให้, ประจำตำแหน่ง -interj. คำอุทานแสดงความประหลาดใจ ความกระตือรือร้น -Phr. (as one man โดยเอกฉันท์) pl. men |
operative | (ออพ'พะเรทิฟว) n. ผู้ปฏิบัติการ, นักสืบ, สายลับ, ช่าง, คนงาน. adj. เกี่ยวกับปฏิบัติการ, มีอิทธิพล, มีผล, ได้ผล, เกี่ยวกับศัลยกรรม, เกี่ยวกับการงาน, See also: operativity n. |
operator | (ออพ'พะเรเทอะ) n. ผู้คุมเครื่อง, ช่างคนงาน, ผู้ปฏิบัติการ, พนักงานต่อโทรศัพท์, พนักงานขับรถ, พ่อค้าซื้อขายที่ดินหรืออสังหาริมทรัพย์, ผู้ดำเนินกิจการทางอุตสาหกรรม, ผู้กระทำศัลยกรรม, สัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์, เครื่องหมายคำนวณ, ตัวคิดคำนวณ -S... |
peon | (พี'อัน, พี'ออน) n. ผู้ดูแลม้าหรือลา, คนรับใช้เพื่อถ่ายหนี้, คนงานที่ทำงานรายวัน, บ่าว, ข้ารับใช้, ทาศ, ข้าน้ำเงิน |
quarrier | (ควอ'ริเออ) n. คนงานเหมือนระเบิดหิน, คนงานเหมืองหิน., Syn. quarryman |
roughneck | (รัฟ'เนค) n. อันธพาล, คนที่มีนิสัยหยาบคาย, คนงานเจาะน้ำมัน |
scab | (สแคบ) n. สะเก็ดแผล, โรคหิด, การตกสะเก็ดแผล, บุคคลที่แตกแยกจากกลุ่ม, คนงานที่ปฎิเสธไม่ยอมร่วมหยุดงาน vi. ตกสะเก็ดแผล, เป็นบุคคลที่แตกแยกจากกลุ่ม, ปฎิเสธไม่ยอมร่วมหยุดงาน, Syn. eschar |
smelter | (สเมล'เทอะ) n. ผู้หลอม, ผู้ถลุงแร่, เครื่องหลอม, เครื่องถลุงแร่, เตาหลอม, โรงหลอม, โรงถลุงแร่, คนงานโรงหลอม |
steelworker | (สทีล'เวิร์คเคอะ) n. คนงานเหล็กกล้า |
stockman | (สทอค'เมิน) n. ผู้เลี้ยงปศุสัตว์, คนงานปศุสัตว์, เจ้าหน้าที่พัสดุ, ผู้ดูแลพัสดุ |
supernumerary | (ซูเพอนู'เมอเรอรี่) adj. เกิน, มากเกิน, มีจำนวนเกิน, จำนวนพิเศษ, เป็นตัวสำรอง. n. สิ่งที่เกิน, สิ่งที่สำรองไว้เป็นพิเศษ, สิ่งที่มีไว้เพื่อเวลาจำเป็น, ข้าราชการพิเศษ, คนงานพิเศษ, นักการ, Syn. extra |
sweater | (สเวท'เทอะ) n. ผู้ที่ทำงานหนัก, เสื้อกีฬาทำด้วยขนสัตว์, เครื่องทำให้เหงื่อออก, ยาขับเหงื่อ, นายจ้างที่ใช้คนงานให้ทำงานหนักมากแต่ให้ค่าจ้างต่ำ |
time clock | n. นาฬิกาบันทึกการมาและจากไปของคนงาน, -Phr. (punch a time clock ตอกเวลาการมาทำงานและเวลาเลิกงาน, ทำงานในแหล่งที่นายจ้างคอยจู้จี้เวลาการมาหรือกลับ) |
timecard | (ไทมฺ'คาร์ด) n. บัตรตอกเวลาการมาและกลับของคนงาน |
timekeeper | (ไทม'คีพเพอะ) n. คนจับเวลา, คนดูเวลา, เครื่องจับเวลา, ผู้เคาะจังหวะ, ผู้บันทึกจำนวนชั่วโมงที่คนงานได้ทำงาน, See also: timekeeping n. |
tinker | (ทิง'เคอะ) n. ช่างบัดกรี, ช่างปะหม้อ, คนงานที่ไม่ชำนาญ, ช่างไร้ฝีมือ, คนงานที่ซุ่มซ่าม, คนจรจัด, คนยิปซี, ปลาจำพวก Preumatophorus grex vt. ทำงานเป็นช่างบัดกรี, ทำงานเป็นช่างปะหม้อปะภาชนะ, ทำอย่างไม่ชำนาญ, ทำอย่างลวก ๆ vi. บัดกรี, ปะ, ซ่อมแซมอย่างไม่ชำนาญ. คำศัพท์ย |
white-collar | (ไวท'คอล'ละ) adj. เกี่ยวกับคนงานที่ไม่ใช่กรรมกรเช่นพวกเสมียนหรือนักวิชาการ |
worker | (เวอร์'เคอะ) n. คนงาน, ผู้ใช้แรงงาน, กรรมกร, ลูกจ้าง, ชนชั้นกรรมาชีพ, ผู้ปฏิบัติการ, เจ้าหน้าที่, พนักงาน, ผึ้งงาน, มดงาน, ปลวกงาน |
workman | (เวิร์ค 'เมิน) n. คนงาน, กรรมกร pl., See also: workmen |
workwoman | (เวิร์ค'วูเมิน) n. คนงานหญิง, กรรมกรหญิง pl. workwomen |
wright | (ไรทฺ) n. คนงาน, ช่าง, ช่างก่อสร้าง |
collier | (n) คนงานถ่านหิน, คนขุดถ่านหิน, คนขายถ่านหิน, เรือบรรทุกถ่านหิน |
foreman | (n) หัวหน้าคนงาน |
ganger | (n) หัวหน้าคนงาน, หัวหน้ากรรมกร |
hand | (n) มือ, กำมือ, เข็มนาฬิกา, ข้าง, ลูกจ้าง, คนงาน, อำนาจ, ความชำนาญ, ฝีมือ |
jack | (n) คนงาน, กะลาสี, แม่แรงยกของ, ธงเรือ |
journeyman | (n) คนงาน, ผู้ชำนาญงาน |
labourer | (n) กรรมกร, คนงาน, ผู้ใช้แรงงาน, จับกัง, กุลี |
man | (n) คน, ผู้ชาย, บุรุษ, มนุษย์, สามี, คนงาน, พลทหาร |
miner | (n) คนงานเหมืองแร่, คนขุดแร่, คนวางทุ่นระเบิด |
picker | (n) เสียม, เครื่องมือเก็บ, คนงานเก็บฝ้าย, นักล้วงกระเป๋า |
staff | (n) คณะคนงาน, ไม้ถือ, ไม้เท้า, เสาธง, คทา, ป้ายบอกทาง |
taskmaster | (n) หัวหน้าคนงาน, ผู้ควบคุมงาน |
worker | (n) คนงาน, ลูกจ้าง, กรรมกร, พนักงาน |
workman | (n) คนงาน, กรรมกร, ลูกจ้าง, ช่างฝีมือ |
wright | (n) ผู้ทำ, ผู้สร้าง, คนงาน, ช่าง |