Vital capacity | ความจุชีพของปอด [TU Subject Heading] |
Bearing Capacity | ขีดความสามารถทนได้, ความจุทนได้, Example: ภาระบรรทุกสูงสุดที่วัสดุสามารถรับได้โดยไม่ เสียหาย เช่น ผิวพื้นที่ฝังกลบขยะ [สิ่งแวดล้อม] |
Exchange Capacity | ความจุแลกเปลี่ยน, Example: จำนวนประจุทั้งหมดของคอลลอยด์ดิน หรือสารสังเคราะห์ที่สามารถดูดซับไอออนเอาไว้ได้ และไอออนเหล่านั้นสามารถถูกแทนที่ได้ [สิ่งแวดล้อม] |
Cation Exchange Capacity | ความจุแลกเปลี่ยนแคตไอออน, Example: ผลรวมของแคตไอออนที่แลกเปลี่ยนได้ซึ่งดิน หรือแร่ดินเหนียวหรือวัสดุอื่น ๆ ดูดซับไว้ได้ ปัจจุบันนี้ใช้หน่วย เซนติโมห์/กิโลกรัมของดิน หรือวัสดุอื่น ๆ [สิ่งแวดล้อม] |
Field Moisture Capacity ; Field Capacity | ความจุความชื้นสนาม, Example: ระดับความชื้นของดินที่ยังคงเหลืออยู่ เมื่อดินอิ่มตัวด้วยน้ำแล้ว 2 - 3 วัน หลังจากที่ไม่มีการไหลของน้ำด้วยอิทธิพลแรงโน้มถ่วง [สิ่งแวดล้อม] |
Differential Water Capacity | ความจุความชื้นอนุพันธ์, Example: ค่าสัมบูรณ์ (absolute valure) ของอัตราการเปลี่ยนแปลงระดับความชื้นดินโดยปริมาตรหรือโดยมวล ต่อหน่วยการเปลี่ยนแปลงของศักย์วัสดุพื้น (matric potential) ของน้ำ ความจุความชื้นอนุพันธ์สามารถประเมินได้ ทั้งขณะที่ความชื้นของดินเพิ่มขึ้นหรือลดลง [สิ่งแวดล้อม] |
Byte | Byte, หน่วยวัดความจุของสื่อความจำ, Example: เช่น หน่วยวัดความจำหลัก (RAM) หน่วยวัดความจำสำรอง ได้แก่ ดิสก์ เทป เป็นต้น หรืออาจจะเป้นหน่วยที่บอกขนาดของแฟ้มข้อมูลคอมพิวเตอร์ 1 Byte จะมี 8 bit และ 1 Byte แทนข้อมูล 1 ตัวอักษร [คอมพิวเตอร์] |
Blank | หลอดน้ำยาลบล้าง, ความจุของแบบพิมพ์เมื่อมียาพื้นอย่างเดียว, หลอดปรับศูนย์, หลอดแบลงต์ [การแพทย์] |
Buffer Capacity | อำนาจต้านความเปลี่ยนแปลงสภาพทางกรด/ด่าง, ความจุของการเป็นบัฟเฟอร์ [การแพทย์] |
Capacity | สมรรถวิสัย, ความสามารถ, ความจุ [การแพทย์] |
Capacity, Diffusing | ความจุการซึมซ่าน [การแพทย์] |
Capacity, Residual, Functional | ความจุคงเหลือใช้งานได้, ความจุค้างที่ใช้งานได้ [การแพทย์] |
Infiltration capacity | ความจุการแทรกซึม [อุตุนิยมวิทยา] |
Field capacity | ความจุความชื้นสนาม [อุตุนิยมวิทยา] |
Capacity of the wind | ความจุลม [อุตุนิยมวิทยา] |
Water content of clouds | ความจุน้ำในเมฆ [อุตุนิยมวิทยา] |
flood control storage | flood control storage, ความจุควบคุมน้ำท่วม [เทคนิคด้านการชลประทานและการระบายน้ำ] |
seasonal storage | seasonal storage, ความจุตามฤดูกาล [เทคนิคด้านการชลประทานและการระบายน้ำ] |
dead storage | dead storage, ความจุไม่ใช้การ [เทคนิคด้านการชลประทานและการระบายน้ำ] |
active storage | active storage, ความจุใช้การ [เทคนิคด้านการชลประทานและการระบายน้ำ] |
flood storage | flood storage, ความจุเผื่อน้ำท่วม [เทคนิคด้านการชลประทานและการระบายน้ำ] |
flood surcharge | flood surcharge, ความจุเผื่อน้ำหลาก [เทคนิคด้านการชลประทานและการระบายน้ำ] |
surcharge | surcharge, ความจุเผื่อน้ำหลาก [เทคนิคด้านการชลประทานและการระบายน้ำ] |
inactive storage | inactive storage, ความจุไม่ใช้การ [เทคนิคด้านการชลประทานและการระบายน้ำ] |
channel capacity | channel capacity, ความจุร่องน้ำ [เทคนิคด้านการชลประทานและการระบายน้ำ] |
detention storage | detention storage, ความจุรองรับน้ำหลาก [เทคนิคด้านการชลประทานและการระบายน้ำ] |
gross capacity reservoir | gross capacity reservoir, ความจุอ่างเก็บน้ำ [เทคนิคด้านการชลประทานและการระบายน้ำ] |
gross storage | gross storage, ความจุอ่างเก็บน้ำ [เทคนิคด้านการชลประทานและการระบายน้ำ] |
storage capacity | storage capacity, ความจุอ่างเก็บน้ำ [เทคนิคด้านการชลประทานและการระบายน้ำ] |
capacity curve | capacity curve, โค้งความจุ [เทคนิคด้านการชลประทานและการระบายน้ำ] |
Area-capacity curve | Area-capacity curve, โค้งพื้นที่ความจุ [เทคนิคด้านการชลประทานและการระบายน้ำ] |
capacitance | ความจุ, สมบัติในการเก็บประจุไฟฟ้าของตัวนำหรือตัวเก็บประจุ มีค่าเท่ากับอัตราส่วนระหว่างจำนวนประจุไฟฟ้าบนตัวนำหรือตัวเก็บประจุกับความต่างศักย์ไฟฟ้าของตัวนำหรือตัวเก็บประจุนั้น ใช้สัญลักษณ์ C [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
heat capacity | ความจุความร้อน, อัตราส่วนของพลังงานความร้อนที่ให้แก่สารต่ออุณหภูมิที่เพิ่มขึ้น ความจุความร้อนมีหน่วนเป็น JK-1 [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
specific heat capacity | ความจุความร้อนจำเพาะ, ความจุความร้อนจำเพาะของสารใด ๆ คือ ปริมาณความร้อนที่ทำให้สารนั้น 1 หน่วยมวล มีอุณหภูมิเพิ่มขึ้น 1 องศา มีหน่วยเป็นจูล/กิโลกรัม/เคลวิน [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
F | ฟารัด, สัญลักษณ์ของหน่วยความจุไฟฟ้า ดู farad [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
farad | ฟารัด, หน่วยของความจุไฟฟ้า ใช้สัญลักษณ์ F โดยกำหนดว่าความจุไฟฟ้า 1 ฟารัด คือค่าความจุไฟฟ้าของตัวเก็บประจุ ซึ่งถ้ามีการถ่ายโอนประจุระหว่างแผ่นตัวนำทั้งสองในตัวเก็บประจุปริมาณ 1 คูลอมบ์ จะทำให้เกิดความต่างศักย์ไฟฟ้า 1 โวลต์ [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
calorimeter | มาตรปริมาณความร้อน, แคลอริมิเตอร์, อุปกรณ์ใช้วัดสมบัติของความร้อน เช่น ความร้อน ความจุความร้อนจำเพาะ เป็นต้น [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
Digital Versatile Disc( DVD) | แผ่นดีวีดี, มีลักษณะเป็นแผ่นคล้ายกับซีดี แตกต่างกันที่ขนาดความจุของดีวีดีมีความจุมากกว่าซีดีหลายเท่าและลักษณะของโครงสร้างที่ซับซ้อนกว่า [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
Dynamic RAM (DRAM) | ไดนามิกแรม หรือดีแรม, หน่วยความจำที่ใช้ในการจดจำข้อมูลและโปรแกรมต่างๆ ที่อยู่ระหว่างการประมวลผลของคอมพิวเตอร์ เป็นหน่วยความจำที่มีใช้งานอยู่ในเครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล หรือพีซีมากที่สุด เนื่องจากราคาไม่แพงและมีความจุสูง [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
Integrated Drive Electronic( IDE) | ไอดีอี, ขั้วต่อที่ใช้เชื่อมต่ออุปกรณ์ ที่อยู่ภายในเคสผ่านทางสายเคเบิล เช่น ฮาร์ดดิสก์ ซีดีไดร์ฟ แต่มีข้อจำกัดอยู่ที่ไม่สามารถใช้กับฮาร์ดดิสก์ที่มีความจุสูงได้ [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
video RAM | หน่วยความจำบนการ์ด, หน่วยความจำที่ใช้เก็บข้อมูลภาพที่แสดงบนจอคอมพิวเตอร์ ถ้าความจุของหน่วยความจำมาก จะทำให้แสดงภาพมัลติมีเดียความละเอียดสูงได้ดี [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
Inspiratory Capacity | ความจุหายใจเข้า [การแพทย์] |
Lung Capacity | ความจุของเนื้อที่ในปอด [การแพทย์] |
Lung Capacity, Total | ความจุของปอด, ความจุปอดรวม [การแพทย์] |
abfarad | (แอบแฟ' แรด) n. หน่วยความจุไฟฟ้าซึ่งเป็นเซ็นติเมตร-กรัม-วินาทีและมีค่าเท่ากับ 109 farads |
ardeb | (อาร์'เดบ) n. หน่วยความจุที่ใช้ในอียิปต์ และประเทศที่ใกล้เคียง (a unit of capacity) |
bits per inch | บิตต่อนิ้วใช้ตัวย่อว่า BPI เป็นหน่วยวัดความจุของแถบบันทึก โดยวัดว่า แถบบันทึก 1 นิ้วจะเก็บตัวอักขระได้กี่บิต |
bpi | (บีพีไอ) ย่อมาจาก bits per inch หรือบิตต่อนิ้ว เป็นหน่วยวัดความจุของแถบบันทึก โดยวัดว่า แถบบันทึก 1 นิ้วจะเก็บตัวอักขระได้กี่บิต |
bulk | (บัลคฺ) n. ขนาดสามมิติ, ความจุ, ส่วนที่ใหญ่กว่าหรือมากกว่า, ส่วนสำคัญ, อาหารที่จะเป็นกากอาหารส่วนใหญ่, ความหนา, กอง, ทั้งก้อน, จำนวนหนา vi., vi. ขยายตัว, เพิ่มขึ้น, Syn. volume, mass, body |
byte | (ไบทฺ) n. หน่วยของข้อมูลคอมพิวเตอร์เท่ากับ 1 อักขระหรือ 8 บิต, ข้อมูลจำนวน 8 บิต, ชุดของบิต (bit) ซึ่งคอมพิวเตอร์จัดไว้สำหรับเก็บข้อมล 1 ชุด คอมพิวเตอร์ต่างชนิดจะจัดชุดของบิตไว้ไม่เท่ากัน เช่น เครื่อง IBM 360 จัดบิตไว้เป็นชุด ๆ ละ 8 บิต เรียกว่า ไบต์ โดยปกติ ใช้เป็นหน่วยวัดขนาดของหน่วยความจำ หรือจานบันทึกว่า มีขนาดเก็บได้กี่ตัวอักษร หน่วยวัดที่ใช้กันนั้น วัดกันเป็นกิโลไบต์ (kilobyte) เรียกว่า K byte เท่ากับประมาณ 1 พันไบต์ หรือหนึ่งพันตัวอักษร, เมกะไบต์ (mega byte) เท่ากับประมาณ 1 ล้านไบต์ , กิกะไบต์ (gigabyte) เท่ากับประมาณ 1 พันล้านไบต์ และเทราไบต์ (terabyte) เท่ากับประมาณ 1 ล้านล้านไบต์เช่น เราอาจพูดว่า ฮาร์ดดิสก์ในเครื่องนี้มีขนาดความจุ 2 กิกะไบต์ (หมายความว่าสามารถเก็บข้อความได้สองพันล้านตัวอักษร) อนึ่ง หน่วยวัดที่นิยมใช้มีดังนี้ 1 KB (kilobyte) = 1, 024 ไบต์ 1 MB (Megabyte) = 1, 048, 576 ไบต์ (หรือ 1, 024 Kbytes) 1 GB (gigabyte) = 1, 073, 741, 824 ไบต์ (หรือ 1, 024 Mbytes) 1 TB (terabyte) = 1, 099, 511, 627, 776 ไบต์ (หรือ 1, 024 Gbytes) |
bytes per inch | ไบต์ต่อนิ้วใช้ตัวย่อว่า BPI เป็นหน่วยวัดความจุของตัวอักขระในเทปหรือแถบบันทึก (tape) หมายความว่า ขนาดความยาวของแถบบันทึก 1 นิ้ว จะบรรจุตัวอักขระได้เท่าใดอาจต่างกันได้ตั้งแต่ 200 ถึง 1600 ไบต์ต่อนิ้ว และอาจมีการปรับให้มากหรือน้อยกว่านั้นก็ได้ (บางทีใช้กับความยาวของแทร็กของพื้นผิวของจานบันทึก (disk) ด้วย |
c: | หน่วยบันทึกซีหมายถึง ชื่อหน่วยบันทึกแข็งที่อยู่ภายในเครื่องคอมพิวเตอร์ตระกูลไอบีเอ็ม หรือเครื่องเลียนแบบ (compatibles) เครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนใหญ่ในปัจจุบัน มักจะมีหน่วยบันทึกอย่างน้อยสองหน่วย คือ หน่วยบันทึกA: และหน่วยบันทึก C: หน่วยบันทึก C: มักนิยมใช้เรียกฮาร์ดดิสก์ซึ่งจะมีความจุมากกว่าหน่วยบันทึก A: มาก จึงมักใช้ C: เป็นที่เก็บโปรแกรมต่าง ๆ ตั้งแต่โปรแกรมระบบจนถึงโปรแกรมสำเร็จ (เวลาเขียน ต้องมีเครื่องหมาย : ตามหลังตัว C เสมอ จึงจะหมายถึงหน่วยบันทึก) |
cache | (แค?) { cached, caching, caches } n. ที่ซ่อน, ที่เก็บ, สิ่งที่ซ่อนไว้ vt. ซ่อน, เก็บ หน่วยความจำแคชหมายถึง ส่วนหนึ่งของหน่วยความจำ (memory) ที่ถูกกันไว้เก็บข้อมูลที่จะต้องการใช้เป็นการชั่วคราว การเข้าถึงหน่วยความจำส่วนนี้จะทำได้เร็วกว่าธรรมดามาก ในการโฆษณาขายเครื่อง ไมโครคอมพิวเตอร์ มักจะมีบ่งบอกไว้ด้วยเสมอว่า หน่วยความจำแคชนี้มีขนาดความจุเท่าใด เช่น 256 K cache เป็นต้น เพราะเป็นการแสดงถึงประสิทธิภาพของเครื่องอย่างหนึ่ง บางทีเรียก cache memory |
cad | 1. abbr. coronary artery disease 2. (แคด) ย่อมาจาก computer aided design แปลตรง ๆ ได้ว่า การออกแบบใช้คอมพิวเตอร์ช่วย หมายถึงการสร้างโปรแกรมให้คอมพิวเตอร์สามารถช่วยในการสร้างภาพ แบบจำลอง (model) ฯ แล้วจะบันทึกแบบเก็บไว้ในสื่อ สามารถเรียกแบบที่ออกไว้นั้นมาแสดงบนจอภาพเมื่อใดก็ได้ หรือจะสั่งให้พิมพ์ออกมาดูบนกระดาษก็ได้ โดยสามารถสั่งขยาย ย่อ หมุนพลิกภาพนั้น ๆ ด้วยก็ได้ ภาพหรือแบบที่ออกไว้จะปรับเปลี่ยนไปตามสูตรที่กำหนดเอาไว้แล้ว ตัวอย่าง เช่น การออกแบบชิ้นส่วนของรถยนต์หรือโครงสร้างอาคาร ผู้ออกแบบจะสามารถแก้ไขได้ตลอดเวลา โดยปกติ คอมพิวเตอร์ที่จะนำมาใช้เพื่องานประเภทนี้ จะต้องมีฮาร์ดดิสก์ (hard disk) ที่มีความจุสูงมาก มีจอภาพที่มีความละเอียดสูง และมีตัวประมวลผลที่ทำงานเร็ว ส่วนการแสดงผล มักจะใช้เครื่องวาด (plotter) แทนเครื่องพิมพ์ดู CAM ประกอบ เพราะมักใช้คู่กันเป็น CAD/CAM |
capacity | (คะแพซ'ซิที) n. ความสามารถที่จะรับ, ความจุ, ปริมาณ, สติปัญญา, ความสามารถ, สมรรถภาพ, ประสิทธิภาพ, การปฎิบัติหน้าที่, ความจุไฟฟ้า adj. จุเต็มที่, รับเต็มที่, Syn. size, power, position |
cd | abbr. ธาตุ cadmium, แผ่นซีดี ย่อมาจาก compact disk แปลตามตัวอักษรว่า จานบันทึกอัดแน่น มีลักษณะเป็นแผ่นจานกลม ๆ ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 12 ซม. ใช้เป็นที่เก็บข้อมูล จานบันทึกนี้มีความจุสูงมาก (ประมาณ 600ล้านตัวอักษร) ปัจจุบันมีอุปกรณ์ใช้อ่านข้อมูลจากจานบันทึกนี้ได้ แต่การบันทึกข้อมูลลง ยังทำไม่ได้ง่าย ๆ ต้องมีเครื่องพิเศษเฉพาะ บันทึกได้ทั้งข้อมูลธรรมดา เพลง ภาพยนตร์ ปัจจุบันเป็นที่นิยมใช้มาก เพราะราคาถูก ความจุสูง แต่ยังติดขัดในปัญหาบางประการในเรื่องการบันทึกข้อมูลลง ดู CD ROM ประกอบ 2. ย่อมาจากคำ Change Directory เป็นคำสั่งในระบบดอสที่สั่งให้เข้าไปในสารบบ (directory) ใดสารบบหนึ่ง หรือออกจากสารบบใดสารบบหนึ่ง เช่น C:/>CD <ชื่อสารบบ> \ (หมายความว่าให้เข้าไปในสารบบชื่อนั้น) C:> CD\ (หมายความว่า ให้ออกจากสารบบที่อยู่) |
characters per inch | จำนวนอักขระต่อนิ้วใช้ตัวย่อว่า CPI แปลตรง ๆ ได้ว่า อักขระต่อนิ้ว เป็นหน่วยวัดความจุของแถบบันทึกว่า เนื้อเทป 1 นิ้ว จะเก็บข้อมูลได้กี่ตัวอักขระ |
computer aided design | การออกแบบใช้คอมพิวเตอร์ช่วยใช้ตัวย่อว่า CAD (อ่านว่า แคด) หมายถึงการสร้างโปรแกรมให้คอมพิวเตอร์สามารถช่วยในการสร้างภาพ แบบจำลอง (model) ฯ แล้วจะบันทึกแบบเก็บไว้ในสื่อ สามารถเรียกแบบที่ออกไว้นั้นมาแสดงบนจอภาพเมื่อใดก็ได้ หรือจะสั่งให้พิมพ์ออกมาดูบนกระดาษก็ได้ โดยสามารถสั่งขยาย ย่อ หมุนพลิกภาพนั้น ๆ ด้วยก็ได้ ภาพหรือแบบที่ออกไว้จะปรับเปลี่ยนไปตามสูตรที่กำหนดเอาไว้แล้ว ตัวอย่าง เช่น การออกแบบชิ้นส่วนของรถยนต์หรือโครงสร้างอาคาร ผู้ออกแบบจะสามารถแก้ไขได้ตลอดเวลา โดยปกติ คอมพิวเตอร์ที่จะนำมาใช้เพื่องานประเภทนี้ จะต้องมีฮาร์ดดิสก์ (hard disk) ที่มีความจุสูงมาก ๆ มีจอภาพที่มีความละเอียดสูง และมีตัวประมวลผลที่ทำงานเร็ว ส่วนการแสดงผล มักจะใช้เครื่องวาด (plotter) แทนเครื่องพิมพ์ |
content | (คอน'เทนทฺ) n. ปริมาณความจุ, ความสามารถในการจุ, สิ่งที่บรรจุอยู่, ความสำคัญ, ความหมาย, เนื้อหา, สาระ adj. พอใจ, ซึ่งเห็นด้วย, เต็มใจ. vt. ทำให้พอใจ, พอใจ. |
contentment | (คันเทนทฺ'เมินทฺ) n. ความพอใจ, ความจุใจ, ความมักน้อย, ความสำราญใจ |
cpi | 1. abbr. Consumer Price Index ดัชนีราคาบริโภคภัณฑ์ 2. (ซีพีไอ) ย่อมาจาก characters per inch เป็นหน่วยวัดความจุของแถบบันทึก (tape) ว่าจุได้กี่ตัวอักษรต่อความยาว 1 นิ้วมีความหมายคล้ายกับ BPI |
cubature | (คิว'บะเชอะ) n. การหาปริมาตร, ความจุเป็นปริมาตร |
cup | (คัพ) n. ถ้วย, ถ้วยกีฬา, ปริมาณความจุหนึ่งถ้วย |
dd | 1. abbr. differential diagnosis, discharge diagnosis 2. (ดีดี) ย่อมาจาก double density (แปลว่า ความหนาแน่นสองเท่า) ใช้บอกขนาดความจุของจานบันทึก (diskette) ว่าสามารถบันทึกข้อมูลได้เป็นสองเท่า ถ้าเป็นขนาดปกติ เรียกว่า ความหนาแน่นเท่าเดียว (single density) |
directory | (ดิเรค'ทะรี) n. หนังสือรวบรวมชื่อและที่อยู่ของบุคคลและหน่วยงานต่าง ๆ , แผ่นป้ายแสดงชื่อหน่วยงานและชั้นที่อยู่ของอาคารธุรกิจหลังใหญ่, คณะกรรมการ. adj. เกี่ยวกับการชี้ทาง, เกี่ยวกับการแนะแนว, Syn. list สารบบหมายถึง การแบ่งจานบันทึก โดยเฉพาะจานบันทึกที่มีความจุมาก ๆ ที่สามารถบรรจุแฟ้มข้อมูลได้หลายร้อยแฟ้ม ออกเป็นส่วน ๆ เพื่อใช้เก็บแฟ้มข้อมูลเป็นกลุ่ม ๆ เพื่อสะดวกในการค้นหา จานบันทึกทุก ๆ จานจะมีสารบบอย่างน้อยหนึ่งสารบบ เป็นสารบบเริ่มต้นเรียกว่า " สารบบราก " root directory เราอาจใช้คำสั่งสร้างสารบบ หรือสารบบย่อยเพิ่มขึ้น เพื่อใช้เก็บแฟ้มประเภทเดียวกันหรือกลุ่มเดียวกันเอาไว้ด้วยกัน ก็ได้ การเก็บแฟ้มข้อมูลด้วยวิธีนี้ทำให้หาง่ายขึ้น |
dishful | (ดิช'ฟูล) n., ปริมาณความจุหนึ่งจาน |
disk | (ดิสคฺ) { disked, disking, disks } n. แผ่นกลม, แผ่นเสียง, จานกลม. vt. พรวนดินด้วยคราดกลม., Syn. disc, circle จานบันทึกหมายถึง อุปกรณ์เก็บข้อมูลชนิดหนึ่ง ที่นิยมใช้กับไมโครคอมพิวเตอร์ มีลักษณะกลม เหมือนจาน มีอยู่ 3 ชนิด1. จานอ่อน floppy disk มีลักษณะอ่อน บรรจุในซองกระดาษ มีขนาด 5.25x5.25 นิ้ว การเก็บรักษาค่อนข้างยาก จุข้อมูลได้ประมาณสามแสนหกหมื่นถึงหนึ่งล้านสองแสนตัวอักษร 2. จานบันทึกอีกชนิดหนึ่งมีลักษณะแข็งกว่าเพราะห่อหุ้มด้วยพลาสติกแข็ง มีขนาดเล็กกว่าแบบแรก มักเรียกกันว่า diskette มีขนาด 3.5x3.5 นิ้ว จุข้อมูลได้สูงสุดถึง 1.44 ล้านตัวอักษร ปัจจุบันเป็นที่นิยมมากกว่าแบบแรก เพราะเก็บรักษาได้ง่ายกว่า3. จานบันทึกแข็งหรือที่นิยมเรียกว่า ฮาร์ดดิสก์ hard disk มักจะบรรจุไว้ในกล่องพร้อมกับหน่วยขับ drive แล้วเก็บอยู่ภายในตัวเครื่องเลย ฮาร์ดดิสก์นั้นมีความจุสูงมากประมาณ 100-800 ล้านตัวอักษร เป็นที่นิยมมากในปัจจุบัน เพราะมีประสิทธิภาพสูงและราคาลดลงทุกวัน ปัญหาเรื่องการเก็บรักษาเกือบจะไม่มีเลย แต่อาจจะมีปัญหาเรื่องเกี่ยวกับไวรัสได้นอกจาก 3 ชนิดที่ได้กล่าวถึงมาแล้ว ก็ยังมีอีกหลายชนิด เช่น จานบันทึกที่นำมาใช้กับคอมพิวเตอร์เครื่องใหญ่ mainframe ที่เรียกว่าชุดจานบันทึก disk pack ซึ่งจะมีแกนยึดติดกันตรงกลาง, จานแสงหรือจานเลเซอร์ optical or laser disk, จานวีดิทัศน์ vedio disk, จานบันทึกอัดแน่น compact disk ซึ่งล้วนแต่มีความจุสูงมาก ปัจจุบันจานบันทึกได้รับความนิยมมากกว่าสื่อบรรจุข้อมูลอื่น เพราะราคาถูก ใช้ซ้ำได้ และการค้นคืนข้อมูลทำได้รวดเร็วกว่าสื่อชนิดอื่น |
diskette | แผ่นบันทึกหมายถึง จานบันทึกขนาดเล็ก เฉพาะที่ใช้กับไมโครคอมพิวเตอร์ มีลักษณะอ่อน จึงเรียกว่า แผ่นบันทึก บรรจุไว้ในซองกระดาษ ใช้เป็นที่เก็บข้อมูล เช่นเดียวกับจานบันทึกแม่เหล็ก ที่นิยมใช้กันในปัจจุบัน มีขนาด 5.25x5.25 นิ้ว มีความจุประมาณ 360 เคไบต์ (K byte) หรือ 360, 000 ตัวอักษร และ 1.2 เมกะไบต์ หรือ หนึ่งล้านสองแสนตัวอักษร บางทีเรียกกันว่า floppy disk นอกจากนั้น มีขนาด 3.5x3.5 นิ้ว บรรจุอยู่ในซองที่แข็งกว่า มีความจุประมาณ 720 เคไบต์ และ 1.44 เมกะไบต์ หรือ หนึ่งล้านสี่แสนตัวอักษร ในปัจจุบัน อาจใช้เก็บข้อมูลได้ทั้งสองหน้า ทำให้บรรจุข้อมูลได้มาก (เดิมบรรจุข้อมูลได้หน้าเดียว) หรือบางทีอาจทำให้ข้อมูลเบียดอัดมากขึ้น เรียกว่า double density (DD) ชนิดธรรมดาเรียกว่า single density (เดี๋ยวนี้ไม่มีแล้ว) และหากเก็บข้อมูลได้หน้าเดียว เรียกว่า single sided (SS) ซึ่งเดี๋ยวนี้ไม่มีแล้ว หากเก็บข้อมูลได้ทั้งสองหน้า เรียกว่า double sided (DS) แผ่นบันทึกชนิดที่มีความจุพิเศษ คือจุได้ถึง 1.2 ล้านตัวอักษรสำหรับแผ่น 5.25 นิ้ว และจุได้ 1.44ล้านตัวอักษรสำหรับแผ่น 3.5 นิ้ว เรียกว่า high density (HD) ดู disk ประกอบ |
double sided double densi | จานบันทึกสองหน้าและจุสองเท่าใช้ตัวย่อว่า DS/DD หมายถึงจานบันทึกข้อมูลที่ใช้บันทึกได้ทั้งสองหน้าและมีความจุสองเท่า ดู DS/DD |
ds/dd | (ดีเอส /ดีดี) ย่อมาจาก double-sided/double density (แปลว่า บันทึกสองหน้าและจุสองเท่า) ใช้บอกคุณสมบัติในการเก็บข้อมูลของจานบันทึกว่า สามารถเก็บข้อมูลได้ทั้งสองหน้าและมีความจุเป็นสองเท่า |
extended technology | เทคโนโลยีแบบขยายใช้ตัวย่อว่า XT (อ่านว่า เอกซ์ที) เป็นเทคโนโลยีใหม่แบบหนึ่งที่นำมาใช้ในการสร้างไมโครคอมพิวเตอร์ ไมโครคอมพิวเตอร์รุ่นนั้น จึงได้รับสมญานาม ว่า XT มีการเน้นในเรื่องการกำหนดให้มีช่องเสียบแผ่นวงจร (card) เพิ่ม เพื่อการปรับขยายในภายหลัง กับการใช้จานบันทึกที่มีความจุสูง ดู AT ประกอบ |
farad | (แฟ'เริด) n. หน่วยความจุไฟฟ้า |
fat | แฟ็ตย่อมาจาก file allocation table (แปลว่า ตารางการจัดสรรแฟ้ม) ใช้ในระบบดอส หมายถึงส่วนหนึ่งของจานบันทึกที่เป็นตารางสำหรับเก็บชื่อ ขนาด ความจุ และที่อยู่ของแฟ้มข้อมูลต่าง ๆ ที่อยู่ในจานบันทึกนั้น |
file allocation table | ตารางการจัดสรรแฟ้มใช้ตัวย่อว่า FAT (อ่านว่า แฟ็ต) ใช้ในระบบดอส หมายถึงส่วนหนึ่งของจานบันทึกที่เป็นตารางสำหรับเก็บชื่อ ขนาด ความจุ และที่อยู่ของแฟ้มข้อมูลต่าง ๆ ที่อยู่ในจานบันทึกนั้น |
floppy disk | จานบันทึกอ่อนหมายถึง จานแบน ๆ ที่เคลือบสารแม่เหล็กไว้บนผิวหน้า ใช้สำหรับบันทึกข้อมูล ที่นิยมใช้กับไมโครคอมพิวเตอร์ใน ปัจจุบันนี้ มีอยู่สองขนาด คือขนาด 5.25 นิ้ว ซึ่งจะมีปลอก กระดาษหุ้ม กับขนาด 3.5 นิ้วซึ่งจะอยู่ในปลอกพลาสติก ทำให้แข็งและทนกว่า มีความจุในการบันทึกต่าง ๆ กัน ชนิดที่มีความหนาแน่นสองเท่า (double density) จะจุ 360 - 720 K (ประมาณ 360, 000 - 720, 000 ตัว อักขระ) ชนิดความหนาแน่นสูง (high density) จะจุ 1.2 - 1.44 เมกะไบต์ (ประมาณ 1.2 ล้าน - 1.4 ล้านตัวอักขระ) บางทีเรียก diskette เพื่อให้แตกต่างกับจานบันทึกที่ใช้กับ เครื่องคอมพิวเตอร์ ขนาดใหญ่ที่เรียกว่า disk มีความหมายเหมือน diskette |
fourth generation compute | คอมพิวเตอร์ยุคที่สี่คอมพิวเตอร์ในยุคที่สี่นี้มีขนาดของหน่วยความจำเล็กกว่ายุคที่สามลงไปอีก มีการนำไอซี (IC หรือ integrated circuit) หรือวงจรเบ็ดเสร็จมารวมกันเป็นแผงใหญ่ ๆ เรียกว่าแผงวงจรรวมความจุสูง (large scale integrated circuit) หรือบางทีเรียกกันว่าชิป (chip) ทำให้สร้างคอมพิวเตอร์ได้เล็กลงมาก จึงทำให้เกิดมีไมโครคอมพิวเตอร์ (microcomputer) หรือคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล (personal computer) หรือพีซีขึ้น ราคาขายในท้องตลาดก็ลดลงได้มาก ทำให้เป็นที่นิยมอย่างรวดเร็วในหมู่คนทั่วไป ไม่เฉพาะแต่นักคอมพิวเตอร์ ต่อมาปลายยุคที่สี่นี้ มีการนำพีซีหลาย ๆ เครื่องมาเชื่อมต่อกันเป็นเครือข่าย (network) ทำให้มีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้นไปอีกดู generation ประกอบ |
gb | (จีบี) ย่อมาจากคำว่า gigabyte (อ่านว่า กิกะไบต์) เป็นหน่วยวัดความจุข้อมูล 1 GB เท่ากับหนึ่งพันล้านไบต์ (หรือ 230) หรือ หนึ่งพันล้านตัวอักขระ ใช้เป็นหน่วยวัดความจุของหน่วยความจำ จานบันทึก หรือ ฮาร์ดดิสก์ (hard disk) ฯ |
gigabyte | (กิกะไบต์) ใช้ตัวย่อว่า GB เป็นหน่วยวัดความจุข้อมูล 1 GB เท่ากับหนึ่งพันล้านไบต์ (หรือ 230 หรือ 10243 หรือ หนึ่งพันล้านตัวอักขระ ใช้เป็นหน่วยวัดความจุของหน่วยความจำ จานบันทึก หรือ ฮาร์ดดิสก์ ฯ |
glassful | (กลาส'ฟูล) n. ปริมาณความจุหนึ่งถ้วยแก้ว -pl. glassfuls |
hard disk | (ฮาร์ดดิสก์) จานบันทึกแบบแข็งหมายถึง จานโลหะที่เคลือบด้วยสารแม่เหล็ก ใช้เก็บข้อมูลได้เป็นจำนวนมาก ๆ โดยปกติจะบรรจุไว้ในกล่องมิดชิด บางที เรียก fixed disk เพื่อให้เห็นแตกต่างกับจานบันทึกขนาดเล็กที่นำไปไหนมาไหนได้ ที่เรียกว่า floppy disk ในปัจจุบัน ฮาร์ดดิสก์เป็นของจำเป็นมาก และมีอยู่ภายในไมโครคอมพิวเตอร์ทุกเครื่อง ความจุขนาดปกติจะ มีตั้งแต่ 40 - 1, 000 เมกะไบต์ ยิ่งจุมาก ก็จะยิ่งทำให้การทำงานมีประสิทธิภาพมากขึ้น |
hd | abbr. hearingdistance, hodgkin's disease, heart disease, hemodialysis <คำย่อ>เอชดี <คำอ่าน>ย่อมาจากคำว่า high density แปลว่า ความหนาแน่นสูง ใช้บอกคุณสมบัติจานบันทึก (diskette) เช่น จานขนาด 5.25นิ้ว ถ้าเป็นจานชนิด HD จะมีความจุถึง 1.2 เมกะไบต์ ส่วนจานบันทึกความหนาแน่นสูงขนาด 3.5 นิ้ว จะมีความจุถึง 1.44 เมกะไบต์ โดยปกติ จะมีป้ายพิมพ์บอกไว้บนจานบันทึกประเภทนี้ถ้าเป็นขนาดธรรมดาจะใช้คำว่า DD ดู DD เปรียบเทียบ |
high capacity | ความจุสูงใช้เรียกจานบันทึกที่มีความหนาแน่นสูง (high density) เช่น จานขนาด 5.25นิ้ว ถ้าเป็นจานชนิด ที่มีความหนาแน่นสูง จะมีความจุถึง 1.2 เมกกะไบต์ ส่วนจานบันทึกความหนาแน่นสูงขนาด 3.5 นิ้ว จะมีความจุถึง 1.44 เมกกะไบต์ โดยปกติ จะมีป้ายพิมพ์บอกไว้บนจานบันทึกประเภทนี้ ถ้าเป็นขนาดธรรมดาจะใช้คำว่า DD ดู high density ประกอบ |
high density | ความหนาแน่นสูงใช้ตัวย่อว่า HD (อานว่า เอชดี) ใช้บอกคุณสมบัติจานบันทึก (diskette) เช่น จานขนาด 5.25นิ้ว ถ้าเป็นจานชนิด HD จะมีความจุถึง 1.2 เมกกะไบต์ ส่วนจานบันทึกความหนาแน่นสูงขนาด 3.5 นิ้ว จะมีความจุถึง 1.44 เมกกะไบต์ โดยปกติ จะมีป้ายพิมพ์บอกไว้บนจานบันทึกประเภทนี้ ถ้าเป็นขนาดธรรมดาจะใช้คำว่า DD ดู DD เปรียบเทียบ |
k | (เค) พยัญชนะอังกฤษตัวที่ 11, เสียง K ย่อมาจาก kilobyte (กิโลไบต์) มีค่าเท่ากับ 1, 024 ไบต์ (210) บางทีก็ใช้ตัวย่อ ว่า KB ใช้เป็นหน่วยวัดความจุของอุปกรณ์ที่ใช้เก็บข้อมูล เช่น หน่วยความจำ จานบันทึก ฯ 1 ไบต์จะเก็บได้ 1 ตัวอักขระ (หรือช่องว่าง) ถ้าพูดว่าจานบันทึกนี้มีความจุ 720 เคไบต์ ก็แปลว่า เก็บข้อมูลได้ไม่เกิน (720x1024) 737, 280 ตัวอักขระ หรือถ้าบอกว่าหน่วยความจำขนาด 64 เคไบต์ ก็แปลว่า มีความจุ (64x1024) 65, 536 ตัวอักขระ |
kb | ย่อมาจาก kilobyte มีค่าเท่ากับ 1, 024 ไบต์ (210) บางทีก็ใช้ตัวย่อ ว่า K เฉย ๆ ใช้เป็นหน่วยวัดความจุของอุปกรณ์ที่ใช้เก็บข้อมูล เช่น หน่วยความจำ จานบันทึก 1 ไบต์จะเก็บได้ 1 ตัวอักขระ (หรือช่องว่าง) ถ้าพูดว่าจานบันทึกนี้มีความจุ 720 เคไบต์ ก็แปลว่า เก็บข้อมูลได้ไม่เกิน (720x1024) 737, 280 ตัวอักขระ หรือถ้าบอกว่าหน่วยความจำขนาด 64 เคไบต์ ก็แปลว่า มีความจุ (64x1024) 65, 536 ตัวอักขระ |
kiiobyte | ใช้ตัวย่อว่า K หรือ KB มีค่าเท่ากับ 1, 024 ไบต์ (210) บางทีก็ใช้ตัวย่อ ว่า KB ใช้เป็นหน่วยวัดความจุของอุปกรณ์ที่ใช้เก็บข้อมูล เช่น หน่วยความจำ จานบันทึก ฯ 1 ไบต์จะเก็บได้ 1 ตัวอักขระ (หรือช่องว่าง) ถ้าพูดว่าจานบันทึกนี้มีความจุ 720 เคไบต์ ก็แปลว่า เก็บข้อมูลได้ไม่เกิน (720x1024) 737, 280 ตัวอักขระ หรือถ้าบอกว่าหน่วยความจำขนาด 64 เคไบต์ ก็แปลว่า มีความจุ (64x1024) 65, 536 ตัวอักขระ |
large scale integration | วงจรรวมความจุสูงนิยมใช้ตัวย่อว่า LSI (อ่าว่า แอลเอสไอ) เป็นเทคโนโลยีในการสร้างชิป (chip) ให้มีทรานซิสเตอร์จำนวนมากเป็นแสนตัวบนชิปตัวเดียว นำมาใช้เป็นหน่วยความจำ (memory) หรือตัวประมวลผลก่อน (preprocessor) ดู integrated circuit ประกอบ |
laser disk | จานเลเซอร์เป็นจานบันทึกชนิดหนึ่งที่ใช้แสงเลเซอร์ช่วยในการบันทึกและล้างข้อมูล มีความจุมากกว่าจานบันทึกธรรมดามาก (ประมาณ 600 เมกะไบต์ ถึง 1.3 กิกะไบต์) มีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 12 เซนติเมตร ค้นหาข้อมูลได้รวดเร็ว ข้อดีอีกข้อหนึ่งก็คือ ทนทานต่อการขูดขีด ในการใช้ ต้องมีหน่วยบันทึกหรือหน่วยขับ (drive) พิเศษ ต่างไปจากหน่วยจานบันทึกธรรมดา ปัจจุบัน นิยมนำมาใช้กับไมโครคอมพิวเตอร์มากขึ้น มักใช้บรรจุโปรแกรมหรือข้อมูลที่ต้องไม่มีการแก้ไข (เช่นพจนานุกรม) ราคาถูกลงมาก และนับว่าคุ้มค่า (มีลักษณะเหมือนจานบันทึกเพลงหรือภาพยนตร์) มีความหมายเหมือน compact disk |
megabyte | (เมก' กะไบท์) n. 220 ไบต์หรือ 1, 048, 576 ไบต์ : ย่อว่า MB, ใช้ตัวย่อว่า MB (เอ็มบี) เท่ากับหนึ่งบ้านไบต์ ใช้บอกขนาดของหน่วยความจำ เช่น คอมพิวเตอร์ ขนาด 16 เมกะไบต์ หมายความว่า มีขนาดหน่วยความจำ 16 ล้านไบต์ หรือบอกความจุของสื่อ เช่น จานแม่เหล็ก หรือจานบันทึก ว่ามีความจุ 1.2 เมกะไบต์ ก็หมายความว่า เก็บข้อมูลได้ 1.2 ล้านตัวอักษร เป็นต้น |
optical disk | จานแสงหมายถึง จานที่ใช้ในการบันทึกข้อมูลโดยใช้ลำแสงเลเซอร์ที่ส่งออกมาเป็นช่วง ๆ มีความจุสูงถึงประมาณ 600- 1, 300 ล้านตัวอักษร ราคายังค่อนข้างแพงและทำงาน ค่อนข้างช้า โดยปกติ จะต้องเก็บอยู่ในกล่อง หัวอ่านและบันทึกจะต้องเป็นวัตถุที่ใช้แสง |
overflow | การสลับกลุ่มข้อมูลในเรื่องการสื่อสารข้อมูล (data communications) หมายถึงเทคนิคในการแบ่งข้อมูลออ, ล้นมากเกินเก็บหมายถึง ปรากฏการณ์ที่หน่วยความจำไม่สามารถรับข้อมูลเข้าไปได้อีก เพราะเกินขนาดความจุ เหมือนน้ำล้นฝายกั้น อาจจะมีผลทำให้เครื่องคอมพิวเตอร์หยุดทำงานไปเลยก็ได้ |
pal | (แพล) n. เพื่อน, เกลอ, พีเอแอล <คำอ่าน>ย่อมาจาก programmable array logic (แปลว่า แถวลำดับตรรกะแบบสั่งการได้) เป็นลักษณะการออกแบบของวงจรรวมความจุสูงมาก (very large scale integration) หรือ วีแอลเอสไอ (VLSI) แบบหนึ่ง มีลักษณะพิเศษ คือทำให้ออกแบบง่าย และมีความสม่ำเสมอ |
paper tape | แถบกระดาษเทปกระดาษเป็นสื่อที่ใช้ในการบันทึกข้อมูลเข้าและส่งข้อมูลออกของคอมพิวเตอร์เมนเฟรมในสมัยแรก ๆ โดยทั่วไป แถบกระดาษที่เคยนิยมใช้มีขนาดกว้าง 0.75 ถึง 1 นิ้ว แถบกระดาษม้วนหนึ่ง ๆ ยาว 30 - 1000 ฟุต ม้วนอยู่บนล้อวงกลม ลักษณะการบันทึก ใช้วิธีการเจาะเป็นรูกลม ๆ มีความจุประมาณ 10 ล้านตัวอักขระต่อเทป 1 นิ้ว ปัจจุบัน ไม่มีใครรู้จักแล้ว เพราะแก้ไขยาก ใช้ซ้ำไม่ได้เลย ทำให้สิ้นเปลืองมาก ในการอ่านข้อมูลบนแถบกระดาษ ใช้เครื่องอ่านแถบกระดาษ เรียกว่า paper tape reader ในการบันทึก ใช้เครื่องเจาะแถบกระดาษ ซึ่งเรียกว่า paper tape punch ซึ่งจะทำงานเมื่อได้รับสัญญาณจากหน่วยประมวลผลกลาง สามารถเจาะได้ประมาณ 10 - 150 แถวต่อวินาที |
segment | (เซก'เมินทฺ) n. ส่วน, ตอน, ท่อน, ข้อ, ปล้อง, ซีก, เสี้ยว, ชั้น, กลีบ, ส่วนตัดของรูป vt., vi. แยกหรือแบ่งออกเป็นส่วน (ตอน, ท่อน, ข้อ...) เซ็กเมนต์หน่วยความจำในเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ที่มีขนาด 1 เมกะไบต์ จะถูกแบ่งออก เป็น 16 ส่วน แต่ละส่วนเรียกว่า "เซ็กเมนต์ " แต่ละเซ็กเมนต์จะมีความจุ 64 เคไบต์ (เฉพาะชิป (chip) 8088 หรือ 8086), See also: segmentary adj., Syn. part |