จับกุม | (v) arrest, See also: capture, seize, catch, Syn. จับ, จับตัว, ยึดตัว, Ant. ปล่อย, Example: เจ้าหน้าที่ตำรวจไม่สามารถจับกุมผู้ต้องหาอีกสองคนที่เหลือได้, Thai Definition: จับยึดตัวเอาไว้ |
การจับกุม | (n) arresting, See also: seizure, apprehension, Example: การจับกุมผู้ร้ายได้ยุติลงแล้ว |
จับกุม | ก. เกาะกุมตัวไว้ไม่ให้หนี เช่น จับกุมผู้ร้าย, (กฎ) เกาะกุมตัวไว้โดยเจ้าพนักงานผู้มีอำนาจตามกฎหมาย, จับ ก็ว่า. |
เข้าปิ้ง | อยู่ในความลำบากแก้ไขยาก, (ปาก) ถูกจับกุมคุมขัง, เข้าข่ายมีความผิดไปด้วย. |
คุมตัว | ก. ควบคุมไว้หรือจับกุมไว้ เช่น ตำรวจคุมตัวผู้ร้าย. |
จับ | เกาะกุมตัวไว้ไม่ให้หนี เช่น จับผู้ร้าย, (กฎ) เกาะกุมตัวไว้โดยเจ้าพนักงานผู้มีอำนาจตามกฎหมาย, จับกุม ก็ว่า |
ชิงทรัพย์ | น. เป็นฐานความผิดอาญา ที่ผู้กระทำ ลักทรัพย์ โดยใช้กำลังประทุษร้าย หรือขู่เข็ญว่าในทันใดนั้นจะใช้กำลังประทุษร้าย เพื่อ (๑) ให้ความสะดวกแก่การลักทรัพย์หรือการพาทรัพย์นั้นไป (๒) ให้ยื่นให้ซึ่งทรัพย์นั้น (๓) ยึดถือเอาทรัพย์นั้นไว้ (๔) ปกปิดการกระทำความผิดนั้น หรือ (๕) ให้พ้นจากการจับกุม. |
ตำรวจ | (-หฺรวด) น. เจ้าหน้าที่ของรัฐ มีหน้าที่ตรวจตรารักษาความสงบ จับกุม และปราบปรามผู้กระทำผิดกฎหมาย เรียกชื่อตามหน้าที่ที่รับผิดชอบ เช่น ตำรวจสันติบาล ตำรวจกองปราบ ตำรวจนํ้า ตำรวจรถไฟ ตำรวจป่าไม้. |
ตำรวจนครบาล | น. ตำรวจผู้มีหน้าที่รักษาความสงบเรียบร้อยและจับกุมผู้กระทำผิดกฎหมายในเขตกรุงเทพมหานคร. |
ตำรวจภูธร | น. ตำรวจผู้มีหน้าที่รักษาความสงบเรียบร้อยและจับกุมผู้กระทำผิดกฎหมายนอกกรุงเทพมหานคร. |
นำจับ | ก. นำความมาแจ้งต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ให้ทำการจับกุมผู้กระทำความผิด. |
ปล้ำ, ปล้ำปลุก | (ปฺลํ้า, -ปฺลุก) ก. ใช้แขนกอดรัดจับกุมเพื่อจะให้อีกฝ่ายหนึ่งล้ม หรือให้อยู่ในอำนาจที่จะทำได้ตามใจตน, โดยปริยายหมายความว่า พยายามทำกิจการอย่างเต็มกำลัง, ปลุกปลํ้า ก็ว่า. |
ผู้นำจับ | น. บุคคลผู้มิใช่พนักงานเจ้าหน้าที่ซึ่งนำความมาแจ้งต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ให้ทำการจับกุมผู้กระทำความผิด. |
พนักงานฝ่ายปกครองหรือตำรวจ | น. เจ้าพนักงานซึ่งกฎหมายให้มีอำนาจและหน้าที่รักษาความสงบเรียบร้อยของประชาชน ซึ่งรวมถึงพัศดี เจ้าพนักงานกรมสรรพสามิต กรมศุลกากร กรมเจ้าท่า พนักงานตรวจคนเข้าเมือง และเจ้าพนักงานอื่น ๆ ในเมื่อทำการอันเกี่ยวกับการจับกุมปราบปรามผู้กระทำผิดกฎหมาย ซึ่งตนมีหน้าที่ต้องจับกุมหรือปราบปราม. |
ลอยนวล | ว. ตามสบาย, ไม่มีผู้ขัดขวางจับกุม, เช่น ผู้ร้ายหนีไปอย่างลอยนวล |
ละม่อม | โดยไม่มีการขัดขืน (ใช้แก่การจับกุม) เช่น ตำรวจจับผู้ร้ายได้โดยละม่อม. |
ศาลเตี้ย | น. เรียกการที่คนหรือกลุ่มคนที่ไม่มีอำนาจดำเนินคดีตามกฎหมายจับกุมคนมาชำระตัดสินความโดยพลการ ว่า ตั้งศาลเตี้ย. |
สารวัตรทหาร | น. ทหารที่ได้รับคำสั่งจากผู้มีอำนาจสั่งใช้ให้ปฏิบัติหน้าที่ เช่น สอดส่อง ตรวจตรา ตักเตือน จับกุมทหาร ข้าราชการพลเรือนและคนงานสังกัดกระทรวงกลาโหมที่กระทำความผิดหรือไม่อยู่ในระเบียบวินัยซึ่งอยู่ภายนอกที่ตั้งหน่วยทหาร. |
หมายค้น | น. หนังสือสั่งการที่ศาลสั่งให้เจ้าหน้าที่ตรวจค้น เพื่อยึดสิ่งของหรือจับกุมบุคคลซึ่งมีหมายให้จับ หรือเพื่อช่วยบุคคลซึ่งถูกหน่วงเหนี่ยวหรือกักขังโดยมิชอบด้วยกฎหมาย. |
หมายจับ | น. หนังสือสั่งการที่ศาลสั่งให้เจ้าหน้าที่จับกุมผู้ต้องหาหรือจำเลย. |
lawful arrest | การจับกุมที่ชอบด้วยกฎหมาย [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
resisting arrest | ขัดขืนการจับกุม [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
arrest, resisting | ขัดขืนการจับกุม [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
arrestable offence | ความผิดที่ให้จับกุมได้ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
arrested person | ผู้ถูกจับกุม, ผู้ถูกจับ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
arrester; arrestor | ผู้จับกุม [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
arrestor; arrester | ผู้จับกุม [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
arrests, restraints and detainments | การจับกุม หน่วงเหนี่ยว และกักขัง [ประกันภัย ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] |
arrest | จับกุม, การจับกุม [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
arrest record | บันทึกการจับกุม (ของตำรวจ) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
malicious arrest | การจับกุมโดยมิชอบด้วยกฎหมาย [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
capture and seizure | การจับกุมและยึดเอา [ประกันภัย ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] |
citizen's arrest | การจับกุมผู้กระทำผิดโดยราษฎร (ป. วิ. อาญา) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
free of capture and seizure clause | ข้อกำหนดยกเว้นการจับกุมยึดหน่วง [ประกันภัย ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] |
false arrest | การจับกุมโดยไม่มีอำนาจตามกฎหมาย [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
escape from arrest | รอดพ้นจากการจับกุม [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
Arrest | การจับกุม [TU Subject Heading] |
Arrest (Police methods) | การจับกุม (วิธีการของตำรวจ) [TU Subject Heading] |
Kidnapping | การจับกุมตัวเรียกค่าไถ่ [TU Subject Heading] |
Trials (Kidnapping) | การพิจารณาและตัดสินคดี (การจับกุมตัวเรียกค่าไถ่) [TU Subject Heading] |
Diplomatic Pouch | ถุงเมล์ทางการทูตที่บรรจุหนังสือโต้ตอบทางราชการ ระหว่างกระทรวงการต่างประเทศของรัฐบาล กับสถานเอกอัครราชทูตต่าง ๆ ใน ต่างประเทศ ถุงเมล์ทูตจะถูกปิดประทับตราของทางราชการ และผู้ใดจะล่วงละเมิดมิได้ แม้แต่เจ้าหน้าที่ศุลกากรก็ขอตรวจไม่ได้ คือได้รับการละเว้นจากการแทรกแซงใด ๆ ทั้งสิ้นเรื่องถุงเมล์ทางการทูตนี้ อนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางการทูตได้บัญญัติไว้ในข้อ 27 ว่า?1. ในรัฐผู้รับจะอนุญาตและคุ้มครองการสื่อสารโดยเสรีในส่วนของคณะผู้แทน เพื่อความมุ่งประสงค์ทั้งมวลในการติดต่อกับคณะรัฐบาลและกับคณะผู้แทน และสถานกงสุลอื่นของรัฐผู้ส่งไม่ว่าตั้งอยู่ที่ใด คณะผู้แทนอาจใช้วิถีทางเหมาะสมทั้งมวลได้ รวมทั้งผู้สื่อสารทางการทูต และสารเป็นรหัสหรือประมวล อย่างไรก็ดี คณะผู้แทนอาจติดตั้งและใช้เครื่องส่งวิทยุได้ด้วยความยินยอมของรัฐผู้รับ เท่านั้น 2. หนังสือโต้ตอบทางการทูตของคณะผู้แทนจะถูกละเมิดมิได้ หนังสือโต้ตอบทางการทูตหมายถึง หนังสือโต้ตอบทั้งมวลที่เกี่ยวกับคณะผู้แทนและภารกิจหน้าที่ของคณะผู้แทน 3. ถุงเมล์ทางการทูตจะไม่ถูกเปิดหรือถูกกักไว้ 4. หีบห่อซึ่งรวมเป็นถุงทางการทูตจะต้องมีเครื่องหมายติดไว้ภายนอกที่เห็น ชัดเจน แสดงลักษณะของถุงทางการทูตและอาจบรรจุเอกสารหรือสิ่งของทางการทูต ซึ่งได้เจตนาเพื่อใช้ในทางการเท่านั้น 5. ผู้ถือสารทางการทูต (Diplomatic courrier) จะได้รับเอกสารทางการ แสดงสถานภาพของตนและจำนวนหีบห่อ ซึ่งรวมเป็นถุงทางทูตนั้น ให้ได้รับความคุ้มครองจากรัฐผู้รับในการปฏิบัติการตามหน้าที่ของตน ให้ผู้ถือสารทางการทูตได้อุปโภคความละเมิดมิได้ และจะต้องไม่ถูกจับกุมหรือกักในรูปใด 6. รัฐผู้ส่งหรือคณะผู้แทนอาจแต่งตั้งผู้ถือสารทางการทูตเฉพาะกรณีได้ในกรณีที่ ว่านี้ให้นำบทแห่งวรรค 5 ของข้อนี้มาใช้ด้วย เว้นแต่ว่าความคุ้มกันที่กล่าวไว้ในวรรคนั้นให้ยุติไม่ใช้ เมื่อผู้ถือสารนี้ได้ส่งถุงทางการทูตในหน้าที่ของตนให้แก่ผู้รับแล้ว 7. ถุงทางการทูตอาจจะมอบหมายไว้แก่ผู้บังคับการของเครื่องบินพาณิชย์ ซึ่งได้มีพิกัดจะลง ณ ท่าเข้าเมืองที่ได้รับอนุญาตแล้วได้ ให้ผู้บังคับบัญชาของเครื่องบินพาณิชย์รับเอกสารทางการ แสดงจำนวนหีบห่อซึ่งรวมเป็นถุง แต่ไม่ให้ถือว่าผู้บังคับการของเครื่องบินพาณิชย์เป็นผู้ถือสารทางการทูต คณะผู้แทนอาจส่งบุคคลหนึ่งในคณะผู้แทนไปรับมอบถุงทางการทูตได้โดยตรงและโดย เสรีจากผู้บังคับการของเครื่องบิน?คำว่าถุงทางการทูตนี้ กระทรวงการต่างประเทศอังกฤษเรียกว่า ?Diplomatic bag? ส่วนในภาษาฝรั่งเศสใช้คำว่า ?Valise Diplomatique? [การทูต] |
Diplomatic Privileges and Immunities | เอกสิทธิ์และความคุ้มกันทางการทูต เอกสิทธิ์และความคุ้มกันทางการทูตที่ได้ให้แก่เจ้า หน้าที่ทางการทูต โดยถือว่าบุคคลดังกล่าวเป็นผู้แทนส่วนตัวของประมุขของรัฐ เหตุผลที่ให้มีการคุ้มกันทางการทูต ก็เพราะถือว่ารัฐบาลหนึ่งใดก็ตามจะถูกกีดกันขัดขวางด้วยการจับกุม หรือกีดกันมิให้ผู้แทนของรัฐบาลนั้นปฏิบัติหน้าที่ในความสัมพันธ์ระหว่าง ประเทศนั้นมิได้ ถ้าหากเห็นว่าผู้แทนนั้นมีพฤติกรรมหรือพฤติการณ์ที่ก้าวร้าวซึ่งรัฐผู้รับ ไม่อาจรับได้ก็ชอบที่รัฐผู้รับจะขอร้องให้รัฐผู้ส่งเรียกตัวผู้แทนของตนกลับ ประเทศได้ อนึ่ง การที่สถานเอกอัครราชทูตได้รับความคุ้มกันจากอำนาจศาลของรัฐผู้รับ เพราะต้องการให้บรรดาผู้แทนทางการทูตเหล่านั้น รวมทั้งบุคคลในครอบครัวของเขาได้มีโอกาสมากที่สุดเท่าที่จะทำได้ ในการปฏิบัติหน้าที่เป็นตัวแทนผลประโยชน์ของประเทศของเขาอนุสัญญากรุง เวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางการทูตมีบทบัญญัตินิยามคำว่า เอกสิทธิ์และความคุ้มกันทางการทูตในเรื่องต่างๆ ไว้มากพอสมควร เช่น เรื่องสถานที่ของคณะผู้แทนทางการทูต รวมทั้งบรรณสารและเอกสาร เรื่องการอำนวยความสะดวกให้แก่การปฏิบัติงานของคณะผู้แทน และเสรีภาพในการเคลื่อนย้ายรวมทั้งการคมนาคมติดต่อ เป็นต้น [การทูต] |
Freedom of Communication | เสรีภาพในการติดต่อและสื่อสาร ถือเป็นสิทธิทางกฎหมาย (ไม่ใช่เพียงเอกสิทธิ์เท่านั้น) ที่สำคัญอันหนึ่งของนักการทูตย่อมจะเห็นได้ชัดว่า คณะทูต จะไม่สามารถปฏิบัติหน้าที่ได้อย่างพึงพอใจ นอกจากจะมีอิสระอย่างสมบูรณ์ในการที่จะมีหนังสือหรือวิถีทางอื่นๆ เพื่อติดต่อกับรัฐบาลของตน หรือจะส่งและรับจดหมาย หรือหนังสือต่างๆ โดยเจ้าหน้าที่ถือสารพิเศษ หรือโดยถุงทางการทูต (Diplomatic pouch) สำหรับเรื่องนี้ อนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางการทูต ได้บัญญัติไว้ในข้อ 27 ดังนี้?1. ให้รัฐผู้รับอนุญาตและคุ้มครองการสื่อสารโดยเสรีในส่วนของคณะผู้แทน เพื่อความมุ่งประสงค์ในทางการทั้งมวลเพื่อการติดต่อกับรัฐบาล และกับคณะผู้แทนและสถานกงสุลอื่นของรัฐผู้ส่ง ไม่ว่าตั้งอยู่ ณ ที่ใด คณะผู้แทนอาจใช้วิถีทางที่เหมาะสมทั้งมวลได้ รวมทั้งผู้ถือสารทางการทูต และสารเป็นรหัสหรือประมวล อย่างไรก็ดี คณะผู้แทนอาจติดตั้งและใช้เครื่องส่งวิทยุได้ด้วยความยินยอมของรัฐผู้รับ เท่านั้น 2. หนังสือโต้ตอบทางการของคณะผู้แทนจะถูกละเมิดมิได้ หนังสือโต้ตอบทางการ หมายถึง หนังสือโต้ตอบทั้งมวลที่เกี่ยวกับคณะผู้แทนและภารกิจหน้าที่ของคณะผู้แทน 3. ถุงทางการทูต (Diplomatic Pouch) จะไม่ถูกเปิดหรือถูกกักไว้ 4. หีบห่อซึ่งรวมเป็นถุงทางการทูต จะต้องมีเครื่องหมายภายนอกที่เห็นได้ชัดเจน สามารถแสดงลักษณะของถุงทางการทูต ซึ่งอาจบรรจุเพียงเอกสารหรือสิ่งของทางการทูตที่เจตนาเพื่อใช้ในทางการเท่า นั้น 5. ผู้ถือสารทางการทูต (Diplomatic courrier) จะได้รับเอกสารทางการแสดงสถานภาพของตน และจำนวนหีบห่อซึ่งรวมเป็นถุงทางทูตนั้น ให้ได้รับความคุ้มครองจากรัฐผู้รับ ในการปฏิบัติการตามหน้าที่ของตน ให้ผู้ถือสารทางการทูตได้อุปโภคความละเมิดมิได้ ส่วนบุคคลจะต้องไม่ถูกจับกุมหรือกักขังในรูปใด 6. รัฐผู้ส่งหรือคณะผู้แทนอาจแต่งตั้งผู้ถือสารทางการทูตเฉพาะกรณีได้ ในกรณีที่ว่านี้ให้นำบทแห่งวรรค 5 ของข้อนี้มาใช้ด้วย เว้นแต่ว่าความคุ้มกันที่กล่าวไว้ในวรรคนั้นให้ยุติไม่ใช้ เมื่อผู้ถือสารนี้ได้ส่งถุงทางการทูตในหน้าที่ของตนให้แก่ผู้รับแล้ว 7. ถุงทางการทูตอาจจะมอบหมายไว้แก่ผู้บังคับการของเครื่องบินพาณิชย์ ซึ่งได้มีพิกัดจะลง ณ ท่าเข้าเมืองที่ได้รับอนุญาตแล้วได้ ให้ผู้บังคับบัญชาของเครื่องบินพาณิชย์รับเอกสารทางการแสดงจำนวนหีบห่อซึ่ง รวมเป็นถุง แต่ไม่ใช่ถือว่าผู้บังคับการของเครื่องบินพาณิชย์เป็นผู้ถือสารทางทูต คณะผู้แทนอาจส่งบุคคลหนึ่งในคณะผู้แทนไปรับมอบถุงทางการทูตได้โดยตรง และโดยเสรีจากผู้บังคับการของเครื่องบิน? [การทูต] |
Immunity from Jurisdiction of Diplomatic Agents | ความคุ้มกันจากอำนาจศาลของตัวแทนทางการทูต ในเรื่องนี้ อนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางการทูตได้บัญญัติไว้ในมาตรา 31 ว่า?1. ให้ตัวแทนทางการทูตได้อุปโภคความคุ้มกันจากอำนาจศาลทางอาญาของรัฐผู้รับ ตัวแทนทางการทูตยังจะได้อุปโภคความคุ้มกันจากอำนาจศาลทางแพ่ง และทางการปกครองของรัฐผู้รับด้วย เว้นแต่ในกรณีของก) การดำเนินคดีกรรมสิทธิ์หรือสิทธิครอบครองเกี่ยวกับอสังหาริมทรัพย์ส่วนตัว ที่ตั้งอยู่ในอาณาเขตของรัฐผู้รับนอกจากตัวแทนทางการทูตครอบครองไว้ในนามของ รัฐผู้ส่งเพื่อความมุ่งประสงค์ของคณะผู้แทนข) การดำเนินคดีเกี่ยวกับการสืบมรดกซึ่งเกี่ยวพันถึงตัวแทนทางการทูตในฐานะผู้ จัดการมรดกโดยพินัยกรรม ผู้จัดการมรดกโดยศาลตั้งทายาท หรือผู้รับมรดกในฐานะเอกชน และมิใช่ในนามของรัฐผู้ส่งค) การดำเนินคดีเกี่ยวกับกิจกรรมใดในทางวิชาชีพ หรือพาณิชย์ ซึ่งตัวแทนทางการทูตได้กระทำในรัฐผู้รับ นอกเหนือจากการหน้าที่ทางการของตน 2. ตัวแทนทางการทูตไม่จำเป็นต้องให้การในฐานะพยาน 3. มาตรการบังคับคดี ไม่อาจดำเนินได้ในส่วนที่เกี่ยวกับตัวแทนทางการทูต เว้นแต่ในกรณีซึ่งอยู่ภายใต้อนุวรรค (ก) (ข) และ (ค) ของวรรค 1 ของข้อนี้ และโดยมีเงื่อนไขว่ามาตรการที่เกี่ยวข้องอาจดำเนินไปได้โดยปราศจากการละเมิด ความละเมิดมิได้ในตัวบุคคลของตัวผู้แทนทางการทูต หรือที่อยู่ของตัวแทนทางการทูต 4. ความคุ้มกันของตัวแทนทางการทูตจากอำนาจศาลของรัฐผู้รับ ไม่ยกเว้นตัวแทนทางการทูตจากอำนาจศาลของรัฐผู้ส่ง?เกี่ยวกับความคุ้มกันตัว แทนทางการทูตจากขอบเขตของอำนาจศาลทางแพ่ง อาจกล่าวได้อย่างกว้างๆ ว่า ตัวแทนทางการทูตนั้นได้รับการยกเว้นจากอำนาจของศาลแพ่งในท้องถิ่นคือตัวแทน ทางการทูตนั้นได้รับการยกเว้นจากอำนาจของศาลแพ่งในท้องถิ่นคือตัวแทนทางการ ทูตจะถูกฟ้องมิได้ และถูกจับกุมมิได้เกี่ยวกับหนี้สิน รวมทั้งทรัพย์สินของเขา เช่น เครื่องเรือน รถยนต์ ม้า และสิ่งอื่นๆ ทำนองนั้นก็จะถูกยืดเพื่อใช้หนี้มิได้ ตัวแทนทางการทูตจะถูกกีดกันมิให้ออกไปจากรัฐผู้รับในฐานะที่ยังมิได้ชดใช้ หนี้สินของเขานั้นก็มิได้เช่นกัน อนึ่ง นักกฎมายบางกลุ่มเห็นว่า ตัวแทนทางการทูตจะถูกหมายศาลเรียกตัว (Subpoenaed) ไม่ได้ หรือแม้แต่ถูกขอร้องให้ไปปรากฎตัวเป็นพยานในศาลแพ่งหรือศาลอาญาก็ไม่ได้ อย่างไรก็ดี ถ้าหากตัวแทนทางการทูตสมัครใจที่จะไปปรากฏตัวเป็นพยานในศาล ก็ย่อมจะทำได้ แต่จะต้องขออนุมัติจากรัฐบาลในประเทศของเขาก่อน [การทูต] |
Personal Inviolability of Diplomatic Agents | หมายถึง ตัวบุคคลของตัวแทนทางทูตจะถูกละเมิดมิได้ กล่าวคือ มาตรา 29 ของอนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางการทูต ได้บัญญัติในเรื่องนี้ไว้ว่า ?ตัวบุคคลของตัวแทนทางการทูตจะถูกละเมิดมิได้ ตัวแทนทางการทุตจะไม่ถูกจับกุมหรือกักขังในรูปใด ๆ ให้รัฐผู้รับปฏิบัติต่อตัวแทนทางการทูตด้วยความเคารพตามสมควร และดำเนินการที่เหมาะสมทั้งมวลที่จะป้องกันการประทุษร้ายใด ๆ ต่อตัวบุคคล เสรีภาพ หรือเกียรติของตัวแทนทางการทูต?ตัวบุคคลของตัวแทนทางการทูตจะถูกละเมิดมิได้ นั้น ได้ถือเป็นปัจจัยหลักในการที่ให้ผู้แทนทางการทูตได้รับสิทธิและความคุ้มกัน ทั้งมวล ถึงกับมีการพูดกันว่า ผู้ใดประทุษร้ายต่อตัวเอกอัครราชทูต จักถือว่าเป็นการทำร้ายต่อประมุขของประเทศซึ่งผู้แทนทางการทูตผู้นั้นเป็น ตัวแทนอยู่ ทั้งยังถือว่าเป็นการยังผลร้ายต่อความปลอดภัยและสวัสดิภาพของประชาชาติทั้ง มวลด้วยตัวอย่างเช่น เมื่อวันที่ 24 มีนาคม ค.ศ. 1964 ชายหนุ่มญี่ปุ่นคนหนึ่งซึ่งมีจิตวิปลาส ได้ใช้มีดแทง นายเอ็ดวิน โอไรส์ชาวเออร์ เอกอัครราชทูตสหรัฐฯ ประจำประเทศญี่ปุ่น ในเขตนอกสถานเอกอัครราชทูตสหรัฐฯ ในกรุงโตเกียว รัฐมนตรีว่าการกระทวงมหาดไทยญี่ปุ่นได้ลาออกจากตำแหน่งทันทีและรุ่งขึ้นใน วันที่ 25 มีนาคม ค.ศ. 1964 นายอิเคดะ นายกรัฐมนตรีญี่ปุ่นในสมัยนั้น ได้ทำการขอโทษต่อประชาชนชาวอเมริกันทางวิทยุโทรทัศน์ ซึ่งนับเป็นครั้งแรกที่ได้มีการดำเนินการในทำนองนี้ และการที่นายกรัฐมนตรีอิเคดะได้ปฏิบัติดังกล่าวได้แสดงให้เห็นว่า การที่ตัวบุคคลของผู้แทนทางการทูตจะถูกละเมิดมิได้นั้น มีความสำคัญมากเพียงใดตัวแทนทางการทูตจะถูกจับ ถูกฟ้องศาล หรือถูกลงโทษฐานประกอบอาชญากรรมนั้นไม่ได้ เพราะถือว่าผู้แทนทางการทูตมิได้อยู่ในอำนาจศาลของรัฐผู้รับ อย่างไรก็ดี หากผู้แทนทางการทูตกระทำความผิดอย่างโจ่งแจ้ง รัฐผู้รับอาจขอให้รัฐผู้ส่งเรียกตัวกลับไปยังประเทศของเขาได้ในทันที [การทูต] |
Work of the United Nations on Human Rights | งานขององค์การสหประชาชาติว่าด้วยสิทธิมนุษยชน งานสำคัญชิ้นหนึ่งของสหประชาชาติคือ วควมมปรารถนาที่จะให้ประเทศทั้งหลายต่างเคารพและให้ความคุ้มครองแก่สิทธิ มนุษยชนตลอดทั่วโลก ดังมาตรา 1 ในกฎบัตรของสหประชาติได้บัญญัติไว้ว่า?1. เพื่อธำรงไว้ซึ่งสันติภาพและความมั่นคงระหว่างประเทศ และมีเจตนามุ่งมั่นต่อจุดหมายปลายทางนี้ จะได้ดำเนินมาตรการร่วมกันให้บังเกิดผลจริงจัง เพื่อการป้องกันและขจัดปัดเป่าการคุกคามต่อสันติภาพ รวมทังเพื่อปราบปรามการรุกรานหรือการล่วงละเมิดอื่น ๆ ต่อสันติภาพ ตลอดจนนำมาโดยสันติวิธี และสอดคล้องกับหลักแห่งความยุติธรรมและกฎหมายระหว่างประเทศ ซึ่งการปรับปรุงหรือระงับกรณีพิพาทหรือสถานการณ์ระหว่างประเทศ อันจะนำไปสู่การล่วงละเมิดสันติภาพได้ 2. เพื่อพัฒนาสัมพันธไมตรีระหว่างประชาชาติทั้งปวงโดยยึดการเคารพต่อหลักการ แห่งสิทธิเท่าเทียมกัน และการกำหนดเจตจำนงของตนเองแห่งประชาชนทั้งปวงเป็นมูลฐานและจะได้ดำเนิน มาตรการอันเหมาะสมอย่างอื่น เพื่อเป็นกำลังแก่สันติภาพสากล 3. เพื่อทำการร่วมมือระหว่างประเทศ ในอันที่จะแก้ปัญหาระหว่างประเทศในทางเศรษฐกิจ การสังคม วัฒนธรรม และมนุษยธรรม รวมทั้งการส่งเสริมสนับสนุนการเคารพสิทธิมนุษยชนและอิสรภาพ อันเป็นหลักมูลฐานสำหรับทุก ๆ คนโดยปราศจากความแตกต่างด้านเชื้อชาติ เพศ ภาษา หรือศาสนา 4. เพื่อเป็นศูนย์กลางและประสานการดำเนินงานของประชาชาติทั้งปวงในอันที่จะ บรรลุจุดหมายปลายทางเหล่านี้ร่วมกันด้วยความกลมกลืน"ดังนั้น เมื่อวันที่ 10 ธันวาคม ค.ศ. 1948 สมัชชาแห่งสหประชาชาติจึงได้ลงข้อมติรับรองปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน ซึ่งนับเป็นครั้งแรกในประวัติศาสตร์ชุมชนระหว่างประเทศ ที่ได้ยอมรับผิดชอบที่จะให้ความคุ้มครอง และเคารพปฏิบัติตามสิทธิมนุษยชนปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน ประกอบด้วยข้อความรวม 30 มาตรา กล่าวถึง1. สิทธิของพลเมืองทุกคนที่จะมีเสรีภาพ และความเสมอภาค รวมทั้งสิทธิทางการเมือง2. สิทธิทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม มาตรา 1 และ 2 เป็นมาตราที่กล่าวถึงหลักทั่วไป เช่น มนุษย์ปุถุชนทั้งหลายต่างเกิดมาพร้อมกับ อิสรภาพ และทรงไว้ซึ่งศักดิ์ศรีและสิทธิเท่าเทียมกัน ดังนั้น ทุกคนย่อมมีสิทธิและอิสรภาพตามที่ระบุในปฏิญญาสากล โดยไม่คำนึงถึงความแตกต่างใด ๆ เชื้อชาติ เพศ ภาษา ศาสนา ความเห็นทางการเมือง หรืออื่น ๆ ต้นกำเนิดแห่งชาติหรือสังคม ทรัพย์สินหรือสถานภาพอื่น ๆ ส่วนสิทธิของพลเมืองและสิทธิทางการเมืองนั้น ได้รับการรับรองอยู่ในมาตร 3 ถึง 21 ของปฏิญญาสากล เช่น รับรองว่าทุกคนมีสิทธิที่จะมีชีวิตอยู่ มีเสรีภาพและความมั่นคงปลอดภัย มีอิสรภาพจากความเป็นทาสหรือตกเป็นทาสรับใช้ มีเสรีภาพจากการถูกทรมาน หรือการถูกลงโทษอย่างโหดร้าย สิทธิที่จะได้รับการรับรองเป็นบุคคลภายใต้กฎหมาย ได้รับความคุ้มครองเท่าเทียมกันภายใต้กฎหมาย มีเสรีภาพจากการถูกจับกุม กักขัง หรือถูกเนรเทศโดยพลการ มีสิทธิที่จะเคลื่อนย้ายไปไหนมาไหนได้ สิทธิที่จะมีสัญชาติ รวมทั้งสิทธิที่จะแต่งงานและมีครอบครัว เป็นต้นส่วนมาตรา 22 ถึง 27 กล่าวถึงสิทธิทางเศรษฐกิจ ทางสังคม และทางวัฒนธรรม เช่น มีสิทธิที่จะอยู่ภายใต้การประกันสังคม สิทธิที่จะทำงาน สิทธิที่จะพักผ่อนและมีเวลาว่าง สิทธิที่จะมีมาตรฐานการครองชีพสูงพอที่จะให้มีสุขภาพอนามัย และความเป็นอยู่ที่ดี สิทธิที่จะได้รับการศึกษาและมีส่วนร่วมในชีวิตความเป็นอยู่ตามวัฒนธรรมของ ชุมชน มาตรา 28 ถึง 30 กล่าวถึงการรับรองว่า ทุกคนมีสิทธิที่จะมีขีวิตอยู่ท่ามกลางความสงบเรียบร้อยของสังคมและระหว่าง ประเทศ และขณะเดียวกันได้เน้นว่า ทุกคนต้องมีหน้าที่และความรับผิดชอบต่อชุมชนด้วยสมัชชาสหประชาชาติได้ประกาศ ให้ถือปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชนนี้ เป็นมาตรฐานร่วมกันที่ทุกประชาชาติจะต้องปฏิบัติตามให้ได้ และเรียกร้องให้รัฐสมาชิกของสหประชาชาติช่วยกันส่งเสริมรับรองเคารพสิทธิและ เสรีภาพตามที่ปรากฎในปฏิญญาสากลโดยทั่วกัน โดยเล็งเห็นความสำคัญในเรื่องสิทธิมนุษยชนนี้ สมัชชาสหประชาชาติจึงลงมติเมื่อวันที่ 4 ธันวาคม ค.ศ. 1950 ให้ถือวันที่ 10 ธันวาคมของทุกปี เป็นวันสิทธิมนุษยชนทั่วโลก [การทูต] |
จับกุม | [japkum] (v) EN: arrest ; capture ; seize ; catch ; grab ; apprehend FR: saisir ; attraper ; arrêter ; appréhender ; capturer |
การจับกุม | [kān japkum] (n) EN: arresting ; seizure ; apprehension |
ถูกตำรวจจับกุม | [thūk tamrūat japkum] (v, exp) EN: get arrested by the police |
apprehend | (vt) จับกุม, See also: เกาะกุม |
arrest | (n) การจับกุม, Syn. imprisonment, confinement, seizure, Ant. freeing, release |
arrest | (vt) จับกุม, See also: จับ, Syn. take charge of, apprehend, hold |
at large | (idm) ลอยนวล, See also: ยังไม่ถูกจับกุม |
bring in | (phrv) นำตัวไปสถานีตำรวจ, See also: จับกุม, ควบคุมตัว |
captor | (n) ผู้จับ, See also: ผู้ที่จับกุมผู้อื่นหรือสัตว์อื่น |
capture | (vt) จับกุม, Syn. seize, take, apprehend |
get away | (phrv) หลุดรอดจากการจับกุม |
pick-up | (n) การจับกุม (คำไม่เป็นทางการ), See also: การควบคุมตัวไว้ โดยเจ้าหน้าที่ตำรวจ |
pinch | (vt) กักขัง (คำไม่เป็นทางการ), See also: จับกุม, Syn. arrest, catch |
prize | (n) การจับกุม |
bagged | (sl) ถูกจับ, See also: โดนจับกุม |
busted | (sl) ถูกจับ, See also: โดนจับกุม |
clipped | (sl) ถูกจับ, See also: โดนจับกุม |
clouted | (sl) ถูกจับ, See also: โดนจับกุม |
collared | (sl) ถูกจับ, See also: โดนจับกุม |
cop | (sl) จับ, See also: จับกุม |
copped | (sl) ถูกจับ, See also: โดนจับกุม |
dropped | (sl) ถูกจับ, See also: โดนจับกุม |
flagged | (sl) ถูกจับ, See also: โดนจับกุม |
gaffled | (sl) ถูกจับ, See also: โดนจับกุม |
glommed | (sl) ถูกจับ, See also: โดนจับกุม |
glued | (sl) ถูกจับ, See also: โดนจับกุม |
guzzled | (sl) ถูกจับ, See also: โดนจับกุม |
nabbed | (sl) ถูกจับ, See also: โดนจับกุม |
nailed | (sl) ถูกจับ, See also: โดนจับกุม |
nicked | (sl) ถูกจับ, See also: โดนจับกุม |
popped | (sl) ถูกจับ, See also: โดนจับกุม |
safe-conduct | (n) เอกสารอนุญาตให้ผ่านได้โดยเฉพาะช่วงสงคราม, See also: หนังสือเดินทาง, สิทธิในการผ่าน, บัตรอนุญาตให้พ้นการจับกุม, Syn. license, permit, pass, ticket |
seize | (vt) จับกุม, See also: ควบคุมตัว, รวบตัว, บุกจับ, Syn. arrest, capture, catch, snatch |
seizer | (n) ผู้จับกุม, See also: ผู้ยึด, ผู้คว้า |
seizing | (n) การจับ, See also: การจับกุม, การยึด, การฉวย, การยึดครอง, Syn. capture, seizure |
seizor | (n) ผู้จับกุม, See also: ผู้ยึด, ผู้คว้า |
seizure | (n) การจับกุม, See also: การเข้าควบคุม, การฉกฉวย, การบุกจู่โจม, Syn. arrest, capture, taking |
swoop on | (phrv) ร่อนลงจับ (มักใช้กับนกจับเหยื่อ), See also: เข้าจับกุมทันที |
swoop upon | (phrv) ร่อนลงจับ (มักใช้กับนกจับเหยื่อ), See also: เข้าจับกุมทันที |
unhand | (vt) ปล่อยตัวไป, See also: ปล่อยจากการจับกุม, Syn. let go |
yank in | (phrv) รวบตัว, See also: จับกุม, Syn. bring in, pull in, take in |
apprehension | (แอพพริเฮน'เชิน) n. ความสงสัย, ความกลัว, ความหวาดหวั่น, ความเข้าใจ, การหยั่งรู้, ความคิดเห็น, การจับกุม, Syn. dread, alarm, capture, comprehension |
arrest | (อะเรสทฺ') vt. จับ, จับกุม, ดึงดูด, ทำให้หยุด, กั้น, ยับยั้ง, เกาะตัว. -n. การจับกุม, ภาวะที่ถูกจับกุม, การหยุดยั้ง, ภาวะที่ถูกหยุดยั้ง. -arrester n. -arrestment n., Syn. stop, halt |
arresting | (อะเรส'ทิง) adj. ซึ่งดึงดูดความสนใจ, ซึ่งจับกุม, Syn. striking, notable, Ant. dull |
arrestive | (อะเรส'ทิฟว) adj.มักจับกุม, ดึงดูดความสนใจ (tending to arrest) |
attach | (อะแทชฺ') vt. ผูกมัด, ผูกติด, ติด, แนบ, ปิด, ประกอบ, มีพร้อม, วางอยู่ใน, ส่งไปประจำ, อายัด, จับกุม. -vi. ผูกมัด, ติด, เป็นของ, Syn. fasten, join, secure, Ant. detach, quit |
bailiff | (เบ'ลิฟ) n. ตำรวจศาล, พนักงานส่งหมายจับกุม/ยึดทรัพย์, ผู้ดูแลผลประโยชน์ของเจ้าของที่ดิน, ปลัดอำเภอ, See also: bailiffship n. |
bust | (บัสทฺ) { busted, busting, busts } n. รูปปั้นครึ่งตัว (หัวและไหล่) , ทรวงอก, อก, ความล้มเหลว, การตี, การต่อย, ภาวะลดต่ำลง, การจับกุม adj. ล้มละลาย, ไร้เงิน vi., vt. (ทำให้) แตกออก, ล้มละลาย, ล้มลง, จับกุม, ต่อย, ต |
captor | (แคพ'เทอะ) n. ผู้จับกุม, ผู้ยืดได้ |
corral | (คะแรล') { corraled, corraling, corrals } n. คอก, เพนียด, เล้า, กรง. vt. ใส่ไว้ในคอก (เพนียด/เล้า/กรง) , จับกุม |
corsair | (คอร์'แซร์) n. เรือส่วนตัวที่ได้รับอนุญาตจากรัฐบาลให้ทำการจับกุมข้าศึกได้, โจรสลัด |
ensnare | vt. จับกุม, ทำให้ติดบ่วง, หลอกลวง, ดัก., See also: ensnarer n. |
nab | (แนบ) vt. จับ, ยึด, จับกุม, Syn. bag |
nick | (นิค) n. ร่อง, ช่อง, บาก, -Phr. (in the nick of time ในช่วงเวลาที่สำคัญ) . vt. ทำร่อง, ทำช่อง, ทำบาก, ตัด, ผ่า, ตีเบา ๆ , ต่อยเบา ๆ , โกง, หลอกลวง, จับกุม |
pinch | (พินชฺ) vt. หยิก, หนีบ, บีบ, บิด, บีบ, คลึง, ทำให้แสบ, ลดลง, ฉกฉวย, ทำให้กลุ้ม, กระเบียดกระเสียน, เด็ดทิ้ง, ตัดแต่ง, ขโมย, ทำให้หดเหี่ยว, ปล้น, กักขัง, จับกุม. vi. (รองเท้า) รัด, ทำให้กลัดกลุ้ม, กระเบียดกระเสียน, ประหยัด, เหน็บแนม. -Id. (pinch pennies ประหยัด) n. การหยิก, การหนีบ, จำนวนนิดเดียว, ความขัดสน, สถานการณืที่ลำบาก, ความกดดัน |
roust | (เราซฺทฺ) vt. ไล่, ขับไล่, ขับออก, กระตุ้น, ปลุกให้ตื่น, จับกุม, ค้น vi. ขยันทำงานและรวดเร็ว, Syn. abundance, plenty |
sanctuary | (แรงค'ชุเออรี) n. สถานที่ศักดิ์สิทธิ์, ปูชนียสถาน, ที่ลี้ภัย, ที่หลบภัย, สิทธิในการให้ที่หลบภัย (เช่นในสถานทูต) และมิอาจถูกจับกุมได้, ถ้ำสัตว์, ที่ที่สัตว์ป่าสามารถผสมพันธุ์และหลบภัยจากการถูกล่า โดยนายพราน, Syn. shrine |
secure | (ซีเคียว'เออะ) adj. มั่นคง, มั่นใจ, แน่นหนา, ปลอดภัย, ไว้ใจได้, เชื่อถือได้, วางใจได้, ไร้กังวล, แน่นอน vt. ได้มา, เอามา, ทำให้ได้ผล, ทำให้มั่นใจ, ทำให้ปลอดภัย, รับรอง, รับประกัน, จับกุม, มัดให้แน่น. vi. กลายเป็นปลอดภัย, เข้าเวรประจำการ, See also: securable adj. |
seize | (ซีซ) vt., vi. จับ, จับกุม, จับตัว, ยึด, ฉวย, ถือเอา, ยึดครอง, ยึดถือ, ชิง, ครอบงำ, ครอบครอง, เข้าใจ, ถือโอกาส., See also: seizable adj. seizer n. seizor n., Syn. take, grasp, apprehend |
seizing | (ซี'ซิง) n. การจับ, การจับกุม, การยึด, การฉวย, การยึดครอง, การยึดถือ, วิธีการยึดถือ, วิธีการผูกมัด, ลักษณะของเงื่อนแบบหนึ่ง., Syn. seising |
seizure | (ซี'เซอะ) n. การจับ, การจับกุม, การยึด, การยึดถือ, การฉวย การยึดครอง, อาการปัจจุบันของโรค, การเป็นลม, การเกิดอาการโรคขึ้นอย่างกะทัน หัน., Syn. seisure, grasp, grip |
trap | (แทรพ) n. กับดัก, หลุมพราง, ตาข่าย, แร้ว, เครื่องดักสัตว์, ท่อโค้งเก็บน้ำ, ช่องมีฝาปิด, ปาก, ตำรวจ, นักสืบ. vt., vi.ทำให้ติดกับดัก, ทำให้ตกหลุมพราง, วางกับดัก, จับกุม, ยึดไว้., See also: traps n. เครื่องดนตรีประเภทตีหรือเคาะ, Syn. snar |
apprehend | (vi, vt) จับกุม, ขัง, เข้าใจความหมาย, กลัว, หวาดหวั่น |
apprehension | (n) การจับกุม, ความเข้าใจ, ความหวาดหวั่น, ความเกรงกลัว |
arrest | (n) การจับกุม, การหยุดยั้ง, การเหนี่ยวรั้ง, การยับยั้ง |
arrest | (vt) จับกุม, กั้น, ทำให้หยุด, ยับยั้ง, เหนี่ยวรั้ง, ทำให้ชะงัก |
captivity | (n) การถูกจับกุม, การคุมขัง, การต้องโทษ, การเป็นเชลย |
captor | (n) ผู้จับกุม, ผู้เข้ายึด |
capture | (n) การจับกุม, การเข้ายึด |
capture | (vt) จับกุม, เข้ายึด, จับขัง, ตีได้ |
corral | (vt) ใส่คอก, ล้อม, ขังกรง, ใส่กรง, ใส่เล้า, จับกุม |
ensnare | (vt) ดักด้วยแร้ว, ทำให้ตกหลุม, ทำให้ติดบ่วง, หลอกจับ, จับกุม |
imprison | (vt) ขังคุก, กักขัง, จองจำ, จับกุม |
imprisonment | (n) การขังคุก, การกักขัง, การจองจำ, การจับกุม |
secure | (vt) ทำให้มั่นคง, ทำให้แน่นหนา, ทำให้ปลอดภัย, จับกุม, รับรอง |
seize | (vt) ฉวย, ยึด, จับกุม, ครอบครอง, ถือโอกาส |
seizure | (n) การฉวย, การยึด, การจับกุม, การยึดครอง, การเป็นลม |
trap | (vt) ดัก, ทำให้ตกหลุม, ใส่บังเหียน, จับกุม |
Freeze | (vi) หยุด, อย่ากระดุกกระดิก (เป็นคำที่ตำรวจใช้ในการสั่งให้คนร้ายหยุดการเคลื่นไหวใดๆ ขณะเข้าจับกุม), See also: Don't move, Syn. Stop |
mirandize | (vt) แจ้งสิทธิ์แก่ผู้ถูกจับกุม |
逮捕 | [たいほ, taiho] (vt) จับกุม |
捕捉 | [ほそく, hosoku] (n, vt) 1.การจับ, การจับกุม 2.การจับใจข้อความ, การทำความเข้าใจ |
捕まる | [つかまる, tsukamaru] TH: ถูกจับกุม EN: to be arrested |
捕まえる | [つかまえる, tsukamaeru] TH: จับกุม EN: to arrest |
jmd./ein Tier geht jmdm. durch die Lappen. | (idiomatisch) คน หรือ สัตว์ รอดพ้นการล่าจับจากอีกคนหนึ่งได้ เช่น Die Gangster gingen der Polizei durch die Lappen. = กลุ่มโจรร้าย รอดพ้นการจับกุมจากเจ้าหน้าที่ตำรวจไปได้, Syn. jmd./ein Tier entkommt jmdm.. |
Verhaftung | [แฟ-ฮาฟ-ทุ่ง] (n) |die, pl. Verhaftungen| การจับกุม การควบคุมตัว |