phobic disorder | (จิตเวช.) โรคกลัว [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
psychiatry | จิตเวชศาสตร์ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
psychiatry | จิตเวชศาสตร์ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
psychiatry | จิตเวชศาสตร์ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
psychiatry, forensic | นิติจิตเวชศาสตร์ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
psychiatry, forensic | นิติจิตเวชศาสตร์ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
psychiatric | -จิตเวช [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
psychotropic drug | ยาทางจิตเวช [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
precipitate | ๑. ตกตะกอน๒. ตะกอน๓. ฉับพลัน, ทันที๔. (จิตเวช.) กระตุ้น [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
rehabilitation | ๑. การฟื้นสภาพ [ มีความหมายเหมือนกับ restitution ๑ ]๒. (จิตเวช.) การฟื้นสมรรถภาพ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
rigidity | ๑. สภาพแข็งเกร็ง, สภาพแข็งทื่อ, สภาพแข็งงอ [ มีความหมายเหมือนกับ rigor ๒ ]๒. (จิตเวช.) ความไม่ยืดหยุ่น [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
stupor | ๑. (จิตเวช.) อาการเงียบงัน๒. ภาวะกึ่งโคม่า [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
stress | ๑. (จิตเวช.) ความเครียด๒. ความเค้น๓. การบีบ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
syndrome, organic brain | กลุ่มอาการจิตเวชเหตุสมอง [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
syndrome, organic mental | กลุ่มอาการจิตเวชเหตุพยาธิสภาพทางกาย [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
organic mental syndrome | กลุ่มอาการจิตเวชเหตุพยาธิสภาพทางกาย [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
oneirogmus; dream, wet; emission | (จิตเวช.) ฝันเปียก [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
organic brain syndrome | กลุ่มอาการจิตเวชเหตุสมอง [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
apathy; apathy, mental | (จิตเวช.) ไร้อารมณ์ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
apathy, mental; apathy | (จิตเวช.) ไร้อารมณ์ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
anxiety, free-floating | (จิตเวช.) อาการวิตกกังวลโดยไม่รู้สาเหตุ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
adjustment | ๑. การปรับแก้๒. (จิตเวช.) การปรับตัวได้ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
affect, blunted; affect, flat | (จิตเวช.) อารมณ์เฉยเมย, อารมณ์ทื่อ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
affect, flat; affect, blunted | (จิตเวช.) อารมณ์เฉยเมย, อารมณ์ทื่อ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
blunted affect; affect, flat | (จิตเวช.) อารมณ์เฉยเมย, อารมณ์ทื่อ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
megalomania; grandiosity | (จิตเวช.) ภาวะหลงผิดตนเขื่อง [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
mental apathy; apathy | (จิตเวช.) ไร้อารมณ์ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
concentration | ๑. ความเข้มข้น๒. (จิตเวช.) สมาธิ, เพ่ง [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
climacteric; climacterium | ๑. ระยะเริ่มหมดประจำเดือน๒. วัยสมรรถนะทางเพศถดถอย (ชาย)๓. (จิตเวช.) วัยต่อ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
climacterium; climacteric | ๑. ระยะเริ่มหมดประจำเดือน๒. วัยสมรรถนะทางเพศถดถอย (ชาย)๓. (จิตเวช.) วัยต่อ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
disorder | ๑. ความพิการ, การเสียระเบียบ๒. (จิตเวช.) โรค, ความผิดปรกติ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
delusion | (จิตเวช.) อาการหลงผิด [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
delusion of grandeur; delusion, grandiose | (จิตเวช.) อาการหลงผิดคิดตนเขื่อง [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
delusion, fixed | (จิตเวช.) อาการหลงผิดตายตัว [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
delusion, grandiose; delusion of grandeur | (จิตเวช.) อาการหลงผิดคิดตนเขื่อง [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
delusion, hypochondriacal | (จิตเวช.) อาการหลงผิดคิดตนป่วย [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
dream, wet; emission; oneirogmus | (จิตเวช.) ฝันเปียก [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
drug, psychotropic | ยาทางจิตเวช [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
disorder, phobic | (จิตเวช.) โรคกลัว [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
drive | ๑. แรงผลักดัน๒. (จิตเวช.) แรงขับ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
grandiose delusion; delusion of grandeur | (จิตเวช.) อาการหลงผิดคิดตนเขื่อง [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
grandiosity; megalomania | (จิตเวช.) ภาวะหลงผิดคิดตนเขื่อง [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
flight of ideas | (จิตเวช.) อาการความคิดแล่นเตลิด [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
fixed delusion | (จิตเวช.) อาการหลงผิดตายตัว [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
flexile; flexible | ๑. งอได้, คู้ได้๒. (จิตเวช.) ยืดหยุ่นได้ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
fillicide | (จิตเวช.) การฆ่าลูก, ปุตตฆาต [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
flexibility | ๑. ความงอได้, ความคู้ได้๒. (จิตเวช.) ความยืดหยุ่น [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
flexible; flexile | ๑. งอได้, คู้ได้๒. (จิตเวช.) ยืดหยุ่นได้ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
fugue | (จิตเวช.) ฟิวจ์ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
flat affect; affect, blunted | (จิตเวช.) อารมณ์เฉยเมย, อารมณ์ทื่อ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
Forensic psychiatry | นิติจิตเวชศาสตร์ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Adolescent psychiatry | จิตเวชศาสตร์วัยรุ่น [TU Subject Heading] |
Child psychiatry | จิตเวชศาสตร์เด็ก [TU Subject Heading] |
Communication in psychiatry | การสื่อสารทางจิตเวชศาสตร์ [TU Subject Heading] |
Community psychiatry | จิตเวชศาสตร์ชุมชน [TU Subject Heading] |
Emergency services, Psychiatric | บริการจิตเวชศาสตร์ฉุกเฉิน [TU Subject Heading] |
Forensic psychiatry | นิติจิตเวชศาสตร์ [TU Subject Heading] |
Geriatric psychiatry | จิตเวชศาสตร์ผู้สูงอายุ [TU Subject Heading] |
Interviewing in psychiatry | การสัมภาษณ์ทางจิตเวช [TU Subject Heading] |
Mental health personnel | บุคลากรทางจิตเวช [TU Subject Heading] |
Psychiatric hospital patients | ผู้ป่วยในโรงพยาบาลจิตเวช [TU Subject Heading] |
Psychiatric hospitals | โรงพยาบาลจิตเวช [TU Subject Heading] |
Psychiatric nurses | พยาบาลจิตเวช [TU Subject Heading] |
Psychiatric nursing | การพยาบาลจิตเวชศาสตร์ [TU Subject Heading] |
Psychiatric social work | สังคมสงเคราะห์ทางจิตเวช [TU Subject Heading] |
Psychiatry | จิตเวชศาสตร์ [TU Subject Heading] |
Psychiatry in art | จิตเวชศาสตร์ในศิลปะ [TU Subject Heading] |
Psychiatry in motion pictures | จิตเวชศาสตร์ในภาพยนตร์ [TU Subject Heading] |
Psychotherapy patients | ผู้ป่วยจิตเวช [TU Subject Heading] |
Adolescent Psychiatry | จิตเวชศาสตร์วัยรุ่น [การแพทย์] |
Biological Psychiatry | จิตเวชศาสตร์ชีวภาพ [การแพทย์] |
Child Psychiatric Disorders | ปัญหาทางจิตเวชในเด็ก [การแพทย์] |
Child Psychiatry | จิตเวชศาสตร์วัยเด็ก, จิตเวชศาสตร์เด็ก, จิตเวชเด็ก [การแพทย์] |
Community Psychiatry | จิตเวชศาสตร์ชุมชน, จิตเวชชุมชน [การแพทย์] |
Forensic Psychiatry | นิติจิตเวชศาสตร์ [การแพทย์] |
บริหารงานสุขภาพจิต | บริหารงานสุขภาพจิต, มุมมองการดำเนินงานในแง่การบริหารงานสุขภาพจิตของบุคลากรสาธารณสุข และเครือข่ายที่กระทำต่อกลุ่มเป้าหมายต่าง ๆ โดยอาจสอดแทรกในการส่งเสริมสุขภาพจิต การป้องกันปัญหาสุขภาพจิต การบำบัดรักษาปัญหาสุขภาพจิตและจิตเวช และการฟื้นฟูสมรรถภาพสุขภาพจิต เพื่อให้บรรลุวัถุประ [สุขภาพจิต] |
บำบัดรักษาปัญหาสุขภาพจิตและจิตเวช | บำบัดรักษาปัญหาสุขภาพจิตและจิตเวช, มุมมองการดำเนินงานที่เน้นการให้ผู้เชี่ยวชาญทางวิชาชีพเข้ามามีบทบาทในการ ช่วยเหลือแก้ไขปัญหาสุขภาพจิตและจิตเวชด้วยหลักวิชาการและแนวทางปฏิบัติที่ เหมาะสมตามวิชาชีพ เพื่อให้ผู้มีปัญหาสุขภาพจิตอย่างหนัก หรือผู้ป่วยจิตเวชมีอาการทุเลา หรือหายจากปัญหาหรือโรคที่ท [สุขภาพจิต] |
มิติงานสุขภาพจิต | มิติงานสุขภาพจิต, มุมมองการดำเนินงานสุขภาพจิตของบุคลากรสาธารณสุขที่กระทำต่อกลุ่มเป้าหมาย ที่มีความเสี่ยงของปัญหาสุขภาพจิตและจิตเวช ประกอบด้วย การส่งเสริมสุขภาพจิต การป้องกันปัญหาสุขภาพจิต การบำบัดรักษาปัญหาสุขภาพจิตและจิตเวช และการฟื้นฟูสมรรถภาพสุขภาพจิต ซึ่งอาจแตกต่างจากม [สุขภาพจิต] |
จิตเวช | จิตเวช, นัยที่หนึ่ง เป็นวิชาที่เกี่ยวกับจิตใจ อารมณ์ ความคิด และพฤติกรรมของมนุษย์ ที่มีความผิดปกติสลับซับซ้อนอย่างมาก ยากที่จะมองเห็นหรือพิสูจน์ได้อย่างเป็นรูปธรรม ต้องพิจารณาด้วยพยาธิสภาพทางกายหรือพฤติกรรมเป็นสิ่งสำคัญ ซึ่งคาบเกี่ยวกับวิชาอื่น ๆ เช่น จิตวิทยา สั, Example: ที่มา: ศาสตราจารย์นายแพทย์ฝน แสงสิงแก้ว. 2518. เรื่องของสุขภาพจิต., สมาคมจิตแพทย์แห่งประเทศไทย. 2520. ตำราจิตเวชศาสตร์., สุวัทนา อารีพรรค. 2524. ความผิดปกติทางจิต., กรมการแพทย์. 2536. DSM-III-R. [สุขภาพจิต] |
Geriatric Psychiatry | จิตเวชศาสตร์ผู้สูงอายุ [การแพทย์] |
Mental Health Problems | ปัญหาทางจิตเวช [การแพทย์] |
Mentally Ill Patient | ผู้ป่วยจิตเวช [การแพทย์] |
Military Psychiatry | จิตเวชศาสตร์ทหาร [การแพทย์] |