ซม | (adv) lethargically, See also: drowsily, sleepily, lazily, Syn. ซึมเซา, เซื่องซึม, ซึม, Ant. กระฉับกระเฉง, กระปรี้กระเปร่า, Example: เขานอนซมเพราะพิษไข้, Thai Definition: อาการอย่างเป็นไข้ในระยะรุนแรงถึงกับนอนจนไม่อยากลืมตา |
ซม. | (clas) centimetre, See also: cm, centimeter, Syn. เซนติเมตร |
ซม. | (clas) centimeter, See also: cm., Syn. เซนติเมตร, Example: พระพุทธนวราชบพิตร หน้าตักกว้างถึง 23 ซม. สูง 40 ซม., Thai Definition: อักษรย่อของ เซนติเมตร เป็นชื่อมาตราวัดตามวิธีเมตริก มีอัตราเท่ากับหนึ่งในร้อยของหนึ่งเมตร |
โซม | (v) drench, See also: wet through, soak, Syn. อาบ, ทา, ชโลม, Example: เด็กๆ วิ่งเล่นจนเหงื่อโซมตัว, Thai Definition: เปียกทั่ว |
ซมซาน | (v) be ignominious, See also: be in strait, Syn. ซานซม, Example: เมื่อไม่มีใครแล้ว พ่อถึงได้ซมซานมาหาแม่, Thai Definition: กระเสือกกระสนไปอย่างสิ้นท่าหรือสิ้นคิด |
นอนซม | (v) lie helpless, See also: sleep helplessly, Example: เด็กที่เป็นไข้เลือดออกจะนอนซมไม่กินน้ำไม่กินอาหาร, Thai Definition: นอนอยู่อย่างนั้นไม่อยากลุกขึ้นเพราะมีอาการไข้หนักหรือเจ็บป่วยเป็นต้น |
อาเซม | (n) ASEM, See also: Asia-Europe Meeting, Syn. การประชุมเอเชีย-ยุโรป, Thai Definition: การประชุมระดับสุดยอดของประเทศต่างๆ ในเอเชียและยุโรปรวม 25 ประเทศ โดยเป็นประเทศในแถบเอเชีย 10 ประเทศ และประเทศจากยุโรปอีก 15 ประเทศ |
ซ่อมแซม | (v) repair, See also: mend, restore, renovate, Syn. ซ่อม, ปฏิสังขรณ์, ปรับปรุง, บูรณะ, แก้ไข, Example: เขาเป็นอาสาสมัครช่วยทำงานด้านต่างๆ เช่น ซ่อมแซมอาคาร, Thai Definition: แก้ไขปรับปรุงของที่ชำรุดให้กลับคืนสู่สภาพเดิม |
เอนไซม์ | (n) enzyme, Example: ต่อมที่อยู่ในระบบทางเดินอาหารจะทำหน้าที่หลั่งเอนไซม์ เพื่อการย่อย, Count Unit: ชนิด, Thai Definition: สารอินทรีย์ที่มีโครงสร้างซับซ้อนประเภทโปรตีน มีปรากฏอยู่ในเซลล์ที่มีชีวิตของพืชและสัตว์ ทำหน้าที่เป็นตัวเร่งปฏิกิริยาเคมีของกรรมวิธีต่างๆ ทางชีววิทยา, Notes: (อังกฤษ) |
โครโมโซม | (n) chromosome, Example: ความผิดปกติของโครโมโซมแบ่งออกเป็น 2 ประเภท, Count Unit: โครโมโซม, Thai Definition: ส่วนหนึ่งของนิวเคลียสของเซลล์ มีลักษณะเป็นท่อนหรือเป็นเส้น ประกอบขึ้นด้วยสารดีเอ็นเอ (DNA = deoxyribonucleic acid) เชื่อมกับโปรตีน ทำหน้าที่สำคัญในการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม ทั้งควบคุมการทำงานของเซลล์และการแบ่งเซลล์ |
การซ่อมแซม | (n) repair, See also: fixing, mending, renewal, restoration, revival, reestablishment, Syn. การบูรณะ, Example: วัดนี้อยู่ในระหว่างการซ่อมแซม, Thai Definition: การแก้ไขปรับปรุงของที่ชำรุดให้กลับคืนสู่สภาพเดิม |
ช่างซ่อมแซม | (n) repairman, Count Unit: คน |
กั้นซู่รั้วไซมาน | น. เครื่องมือชนิดหนึ่งใช้จับปลา ลักษณะเป็นถุงตาข่ายยาว ใช้หลักขนาดใหญ่ ๒ ต้น ปักห่างกันประมาณ ๖ เมตร เพื่อกางปากถุงไว้ใต้น้ำสำหรับดักปลาที่ว่ายตามกระแสน้ำลง มีไม้จริงขนาดเล็กหรือไม้รวกปักเป็นระยะออกจากปากถุงเป็นปีก ๒ ข้าง ให้ปีกกางเฉียงออกทำมุมประมาณ ๔๕-๙๐ องศา, ซู่กั้นรั้วไซมาน หรือ รั้วไซมาน ก็เรียก. |
โครโมโซม | น. ส่วนหนึ่งของนิวเคลียสของเซลล์ มีลักษณะเป็นท่อนหรือเป็นเส้น ประกอบขึ้นด้วยสารดีเอ็นเอ (DNA = deoxyribonucleic acid) เชื่อมกับโปรตีน ทำหน้าที่สำคัญในการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม ทั้งควบคุมการทำงานของเซลล์และการแบ่งเซลล์. |
ซม | ว. อาการอย่างเป็นไข้ในระยะรุนแรงถึงกับนอนจนไม่อยากลืมตา เรียกว่า นอนซม. |
ซมซาน | ก. ไปหาที่พึ่งหรือที่พักพิง เพราะความบอบช้ำ หมดแรงหรือหมดหนทาง เช่น ในที่สุดเขาก็ซมซานกลับบ้านเกิด, ซาน หรือ ซานซม ก็ว่า. |
ซมซาน | ว. งมงาย, ไม่รู้อะไร, เช่น โง่ซมซาน, ซานซม ก็ว่า. |
ซ่อมแซม | ก. แก้ไขปรับปรุงเพิ่มเติมของที่ชำรุดให้กลับคืนสู่สภาพเดิม. |
ซานซม | ก. ไปหาที่พึ่งหรือที่พักพิง เพราะความบอบช้ำ หมดแรงหรือหมดหนทาง เช่น ในที่สุดเขาก็ซานซมกลับบ้านเกิด, ซาน หรือ ซมซาน ก็ว่า. |
ซานซม | ว. งมงาย, ไม่รู้อะไร, เช่น โง่ซานซม, ซมซาน ก็ว่า. |
ซู่กั้นรั้วไซมาน | น. เครื่องมือชนิดหนึ่งใช้จับปลา ลักษณะเป็นถุงตาข่ายยาว ใช้หลักขนาดใหญ่ ๒ ต้น ปักห่างกันประมาณ ๖ เมตร เพื่อกางปากถุงไว้ใต้น้ำสำหรับดักปลาที่ว่ายตามกระแสน้ำลง มีไม้จริงขนาดเล็กหรือไม้รวกปักเป็นระยะออกจากปากถุงเป็นปีก ๒ ข้าง ให้ปีกกางเฉียงออกทำมุมประมาณ ๔๕-๙๐ องศา, กั้นซู่รั้วไซมาน หรือ รั้วไซมาน ก็เรียก. |
แซม | ก. แทรกขึ้นมาในระหว่าง เช่น ฟันแซม ขนแซม, เสียบเข้าไปในระหว่าง เช่น เด็ดดอกไม้แซมผม, เอาสิ่งใดสิ่งหนึ่งเหน็บแทรกหรือสอดเข้าไปเพื่อแทนสิ่งที่ชำรุดให้ดีขึ้น เช่น แซมกระบุง แซมหลังคา. |
แซม | น. เรียกม้าที่มีขนสีอื่นแทรกขึ้นมาในระหว่างขนที่เป็นพื้น ว่า ม้าแซม. |
โซม ๑ | ก. เปียกทั่ว เช่น เหงื่อโซมตัว. |
โซม ๒ | น. คำบอกให้ช้างย่อตัว. |
รั้วไซมาน | น. เครื่องมือชนิดหนึ่งใช้จับปลา ลักษณะเป็นถุงตาข่ายยาว ใช้หลักขนาดใหญ่ ๒ ต้น ปักห่างกันประมาณ ๖ เมตร เพื่อกางปากถุงไว้ใต้น้ำสำหรับดักปลาที่ว่ายตามกระแสน้ำลง มีไม้จริงขนาดเล็กหรือไม้รวกปักเป็นระยะออกจากปากถุงเป็นปีก ๒ ข้าง ให้ปีกกางเฉียงออกทำมุมประมาณ ๔๕-๙๐ องศา, กั้นซู่รั้วไซมาน หรือ ซู่กั้นรั้วไซมาน ก็เรียก. |
เอนไซม์ | น. สารอินทรีย์ที่มีโครงสร้างซับซ้อนประเภทโปรตีน มีปรากฏอยู่ในเซลล์ที่มีชีวิตของพืชและสัตว์ ทำหน้าที่เป็นตัวเร่งปฏิกิริยาเคมีของกรรมวิธีต่าง ๆ ทางชีววิทยา เช่น การย่อยอาหาร การหมัก. |
กระทิง ๑ | น. ชื่อวัวป่าขนาดใหญ่ที่สุดชนิด Bos gaurus Smith ในวงศ์ Bovidae ขนสีดำหรือดำแกมน้ำตาลแซมด้วยขนยาวสีเทาหรือเทาอมดำ ยกเว้นบริเวณหน้าผากมีขนสีเทา และครึ่งล่างของขาทั้ง ๔ เป็นขนสีขาวอมเหลือง ขนเหล่านี้อาจเห็นเป็นสีเหลืองทอง เนื่องจากเหงื่อที่เป็นน้ำมันที่ขับออกมา. |
กว่าง | (กฺว่าง) น. ชื่อแมลงพวกด้วงหลายชนิดหลายสกุล ในวงศ์ Scarabaeidae ตัวผู้มีเขาที่หลังอก ตัวเมียไม่มีเขา เช่น ชนิด Xylotrupes gideon Linn. ตัวผู้ที่มีขนาดใหญ่เรียกว่า กว่างโซ้งหรือกว่างชน มีเขาที่หลังอกยื่นยาวเป็นจะงอยเรียวไปทางด้านหน้าและโค้งลง ตรงปลายเป็น ๒ แฉก กับที่หัวมีเขาเล็กยื่นออกไปเป็นเขาเดี่ยว โค้งขึ้นคล้ายนอแรด แต่ปลายแยกเป็น ๒ แฉก ตัวผู้ที่มีขนาดย่อมมีเขาสั้นเรียก กว่างกิหรือกว่างแซม ตัวเมียไม่มีเขาเรียก กว่างแม่หรือกว่างอีลุ่ม. |
กอย | น. คนป่าพวกหนึ่ง รูปร่างต่ำเตี้ย ตัวดำ ผมหยิก อยู่ในแหลมมลายู ได้แก่ พวกเซมัง และซาไกหรือเซนอย, เงาะ ก็เรียก. |
กั้นซู่ | น. ส่วนประกอบของเครื่องมือชนิดหนึ่งใช้จับปลา มีลักษณะเป็นไม้ซึ่งปักเป็นปีกออกไป ๒ ข้างของปากไซมาน. |
ก๊าซเฉื่อย, แก๊สเฉื่อย | น. ธาตุที่เป็นแก๊ส มีสมบัติไม่ไวต่อปฏิกิริยาเคมี ได้แก่ ฮีเลียม นีออน อาร์กอน คริปทอน ซีนอน และเรดอน, ปัจจุบันเรียก ก๊าซมีตระกูลหรือแก๊สมีตระกูล (noble gases) ก๊าซหายากหรือแก๊สหายาก (rare gases). |
เก้ง | น. ชื่อกวางในสกุล Muntiacusวงศ์ Cervidae เป็นกวางขนาดเล็ก ขนสีนํ้าตาลอมเหลืองจนถึงนํ้าตาลเข้ม หน้าผากเป็นสันเห็นได้ชัดเจน ตัวผู้มีเขาและเขี้ยว ในประเทศไทยมี ๒ ชนิด คือ อีเก้งหรือฟาน [ M. muntjak (Zimmermann) ] และเก้งหม้อ เก้งดำ ฟานดำ หรือกวางจุก [ M. Feae (Tomas & Doria) ] ตัวโตกว่าชนิดแรก ขนสีนํ้าตาลแก่เกือบดำ หัวมีขนลักษณะคล้ายจุกสีเหลืองแซมดำ. |
ข้าวละมาน | น. ชื่อไม้ล้มลุกชนิด Oryza minuta J. Presl et C. Presl ในวงศ์ Gramineae เป็นข้าวป่าชนิดหนึ่ง มักขึ้นแซมต้นข้าว, หญ้าละมาน ก็เรียก. |
ขุนทอง | น. ชื่อนกขนาดกลางชนิด Gracula religiosa Linn. ในวงศ์ Sturnidae ปากสีส้ม ที่ท้ายทอยและหางตาทั้ง ๒ ข้างมีแผ่นเนื้อสีเหลือง ขนลำตัวสีดำเลื่อมเป็นมัน ที่ปีกมีขนสีขาวแซม ตีนสีเหลืองจัด ร้องเลียนเสียงคนหรือเสียงอื่น ๆ บางอย่างได้ ในประเทศไทยมี ๒ ชนิดย่อย คือ ขุนทองเหนือ ( G. r. intermediaHay) แผ่นเนื้อต่อเนื่องกัน และขุนทองใต้หรือขุนทองควาย ( G. r. religiosa Linn.) ซึ่งมีขนาดใหญ่กว่าชนิดย่อยแรก และแผ่นเนื้อไม่ต่อเนื่องกัน, พายัพเรียก เอี้ยงคำ. |
งวง ๒ | น. ชื่อไก่ขนาดใหญ่ชนิด Meleagris gallopavo Linn. ในวงศ์ Meleagrididae ปากสั้นเรียวบาง หัวสีฟ้า หัวและคอเปลือยมีหนังตะปุ่มตะป่ำ ตัวผู้บริเวณหน้าผากเหนือจะงอยปากบนมีหนังสีแดงอมส้มห้อยยาวคล้ายงวงช้าง ยืดหดได้ ขนลำตัวสีเขียวอมน้ำเงินแซมด้วยสีเหลืองทอง ตัวเมียหนังที่ห้อยอยู่บริเวณหน้าผากเล็กและสั้นกว่าตัวผู้ ขนลำตัวสีน้ำตาลเรียงกันคล้ายเกล็ดปลา กินเมล็ดพืช ใบไม้ และสัตว์เล็ก ๆ มีถิ่นกำเนิดในทวีปอเมริกาเหนือ. |
เงาะ ๑ | น. คนป่าพวกหนึ่ง รูปร่างตํ่าเตี้ย ตัวดำ ผมหยิก ในตระกูลนิกริโต (Negrito) และตระกูลออสโตรเนเชียน (Austronesian) อยู่ในแหลมมลายู เรียกตัวเองว่า กอย ได้แก่ พวกเซมัง และซาไกหรือเซนอย, โดยปริยายเรียกคนที่มีรูปร่างเช่นนั้น. |
โชรม | (ชะโรม) ก. โซม เช่น ด้วยให้โกยกัลออม บางแช่ชอมโชรมอาบ (ม. คำหลวง กุมาร) |
ซาน | ก. ไปหาที่พึ่งหรือที่พักพิง เพราะความบอบช้ำ หมดแรงหรือหมดหนทาง, ซมซาน หรือ ซานซม ก็ว่า. |
เซนติเมตร | น. ชื่อมาตราวัดตามวิธีเมตริก มีอัตราเท่ากับ ๑ ใน ๑๐๐ ของ ๑ เมตร, อักษรย่อว่า ซม., (ปาก) เรียกสั้น ๆ ว่า เซ็นต์. |
โซรม | (โซม) ก. รุมกัน, ช่วยกัน, เช่น จึ่งจะรุมโรมโซรมปรทยด (ม. คำหลวง ชูชก), เลือดไหลคือโชรเซราะธาร ยักษาพลพาน โซรมก็ผาดผลาญผลง (อนิรุทธ์). |
ฐาปน-, ฐาปนา | (ถาปะนะ-, ถาปะนา) น. การก่อสร้าง, การแต่งตั้ง, การซ่อมแซม, การตั้งขึ้น. |
ตั้วสิว | ก. ซ่อมแซม เช่น ต้องตั้วสิวสำเภาเอาเข้าอู่ (เพลงยาวของกรมหลวงภูวเนตรนรินทรฤทธิ์). |
ทะนุบำรุง | ซ่อมแซมรักษา, อุดหนุนให้เจริญขึ้น, เช่น ทะนุบำรุงวัด |
ทำนุบำรุง | ซ่อมแซมรักษา, อุดหนุนให้เจริญขึ้น, เช่น ทำนุบำรุงวัด |
โทรม | (โซม) ก. เสื่อมสภาพเดิม เช่น เรือนหลังนี้โทรมมาก ปีนี้เธอดูโทรมลงไปมาก ไฟโทรมแล้ว ผักโทรม |
นาคราช ๒ | น. ชื่อเฟินหลายชนิดในสกุล Davallia วงศ์ Davalliaceae ลำต้นสีนํ้าตาลแซมดำเป็นเกล็ดคล้ายเกล็ดงู ใช้ทำยาได้ เช่น ชนิด D. denticulata (Burm.f.) Mett. ex Kuhn. |
น้ำดี | น. ของเหลวสีเขียว สร้างจากตับแล้วเก็บไว้ในถุงน้ำดี มีหน้าที่ทำให้ไขมันขนาดใหญ่แตกเป็นก้อนเล็ก ๆ เพื่อให้เอนไซม์สามารถย่อยได้ง่ายขึ้น. |
แนม | แทรกแซมหรือแซงเข้าไป เช่น เอาลิ่มแนมให้แน่น, เรือตะเข้แนมทังสองข้าง (สามดวง) |
บุรณะ | (บุระ-) ก. บูรณะ, ซ่อมแซมทำให้กลับคืนดีเหมือนเดิม เช่น บุรณะวัด, มักใช้เข้าคู่กับ ปฏิสังขรณ์ เป็น บุรณปฏิสังขรณ์. |
บูรณะ | ก. ซ่อมแซมทำให้กลับคืนดีเหมือนเดิม เช่น บูรณะวัด, มักใช้เข้าคู่กับ ปฏิสังขรณ์ เป็น บูรณปฏิสังขรณ์. |
ปฏิการ-, ปฏิการะ | การซ่อมแซม. |
ปฏิสังขรณ์ | ก. ซ่อมแซมทำให้กลับคืนดีเหมือนเดิม (มักใช้เฉพาะวัดวาอาราม) เช่น ปฏิสังขรณ์วัด. |
โป๊ | ก. ส่งเสริมสิ่งที่บกพร่อง เช่น ยาโป๊, ทำสิ่งยังบกพร่องอยู่ให้สมบูรณ์ เช่น เอาสีโป๊ตรงที่เป็นช่องเป็นรู ก่อนทาสีเอาปูนโป๊รอยที่ชำรุด. (จ. โป้ว ว่า ปะชุนเสื้อผ้า, ซ่อมแซม, บำรุงร่างกาย). |
ฟูม | ว. อาบ, โซม, ท่วม, อูม |
มอลโทส | น. นํ้าตาลชนิดหนึ่งประเภทไดแซ็กคาไรด์ ลักษณะเป็นของแข็งสีขาว หลอมละลายที่ ๑๖๐ °-๑๖๕ °ซ. องค์ประกอบเป็นกลูโคส ๒ โมเลกุลเชื่อมกัน เกิดขึ้นเนื่องจากเอนไซม์ไดแอสเทส ซึ่งมีในข้าวมอลต์ ทำปฏิกิริยากับแป้ง มีรสหวานน้อยกว่านํ้าตาลทราย. |
โย้เย้ | ว. รวนหรือซวนเซมีอาการจะหลุดหรือทลายลง เช่น ฟันโย้เย้ เรือนโย้เย้, ไม่ตรงรูป เช่น เขียนหนังสือโย้เย้. |
เลา ๑ | เรียกผมที่หงอกขาวและมีสีดำแซมอยู่บ้าง ว่า ผมสีดอกเลา. |
เลียงผา ๑ | น. ชื่อสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมชนิด Capricornis sumatraensis (Bechstein) ในวงศ์ Bovidae เป็นสัตว์เคี้ยวเอื้อง รูปร่างคล้ายแพะ ขนสีดำ บางตัวมีสีขาวแซม มีต่อมนํ้ามันตรงส่วนหน้าของตาทั้ง ๒ ข้าง มีเขาทั้งตัวผู้และตัวเมีย ขายาวและแข็งแรง อาศัยอยู่ตามภูเขาหรือหน้าผาสูง ๆ เป็นสัตว์ป่าสงวนของไทย, กูรำ โครำ เยือง หรือ เยียงผา ก็เรียก. |
อาบ | ไหลโซม เช่น เหงื่ออาบหน้า. |
อู | น. ชื่อไก่ชนิด Gallus gallus (Linn.) ตัวผู้บริเวณหน้า หงอน และเหนียงสีแดงจัด ขนคอยาว สีน้ำตาลแดง ขนปีกสีดำเหลือบเขียวเป็นมัน ขนตะโพกสีเหลือง ขนหางยาวเป็นมันสีดำเหลือบเขียว อาจมีขนสีเหลืองหรือขาวแซม ลำตัวล่ำ ช่วงไหล่ใหญ่ น่องใหญ่ล่ำ แข้งกลมเรียวมีเกล็ดขนาดใหญ่สีเหลืองอ่อน เทา หรือเหลืองอมแดง มีเดือยข้างละ ๑ อัน ลักษณะยาวปลายโค้งแหลม ตัวเมียรูปร่างเล็กกว่า ขนตามลำตัวส่วนมากมีสีดำ หรือดำประขาว มีหลายพันธุ์ เช่น ประดู่หางดำ เหลืองหางขาว. |
peroxisome | เพอร์ออกซิโซม [พฤกษศาสตร์ ๑๘ ก.พ. ๒๕๔๕] |
proteolytic | ๑. -สลายโปรตีน๒. เอนไซม์ย่อยโปรตีน [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
polysome | พอลิโซม [ มีความหมายเหมือนกับ polyribosome ] [พฤกษศาสตร์ ๑๘ ก.พ. ๒๕๔๕] |
phragmosome | แพร็กโมโซม [พฤกษศาสตร์ ๑๘ ก.พ. ๒๕๔๕] |
polyploid | มีโครโมโซมหลายชุด [พฤกษศาสตร์ ๑๘ ก.พ. ๒๕๔๕] |
polyribosome | พอลิไรโบโซม [ มีความหมายเหมือนกับ polysome ] [พฤกษศาสตร์ ๑๘ ก.พ. ๒๕๔๕] |
lysosome | ไลโซโซม [พฤกษศาสตร์ ๑๘ ก.พ. ๒๕๔๕] |
ribosome | ไรโบโซม [พฤกษศาสตร์ ๑๘ ก.พ. ๒๕๔๕] |
refect | ทำให้ฟื้น, ซ่อมแซม [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
refection | การฟื้น, การซ่อมแซม [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
refection | การซ่อมแซม [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
rale; crackle | เสียงแซมหายใจ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
repair | ซ่อมแซม [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
SAM (sequential access method) | แซม (วิธีเข้าถึงโดยลำดับ) [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
synapsis | การจับคู่โครโมโซมเพศ [ มีความหมายเหมือนกับ syndesis ๒ ] [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
synapsis | การจับคู่ของโครโมโซม [พฤกษศาสตร์ ๑๘ ก.พ. ๒๕๔๕] |
sima | ไซมา [ธรณีวิทยา๑๔ ม.ค. ๒๕๔๖] |
substrate | ตัวถูกเปลี่ยน (วิทยาเอนไซม์), ซับสเตรต [ มีความหมายเหมือนกับ substratum ๑ ] [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
substrate | ๑. ที่ซึ่งสิ่งมีชีวิตขึ้น [ มีความหมายเหมือนกับsubstratum ]๒. สารตั้งต้น [ ในปฏิกิริยาเอนไซม์ ] [พฤกษศาสตร์ ๑๘ ก.พ. ๒๕๔๕] |
substratum | ๑. ตัวถูกเปลี่ยน (วิทยาเอนไซม์) [ มีความหมายเหมือนกับ substrate ]๒. ชั้นใต้ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
spherosome | สเฟียโรโซม [พฤกษศาสตร์ ๑๘ ก.พ. ๒๕๔๕] |
sub-dryobalanoid | -เส้นใบแซมสั้น [พฤกษศาสตร์ ๑๘ ก.พ. ๒๕๔๕] |
syndesis | ๑. การตรึงข้อ [ มีความหมายเหมือนกับ arthroclisis; arthrokleisis ๒ และ arthrodesia; arthrodesis ]๒. การจับคู่โครโมโซมเพศ [ มีความหมายเหมือนกับ synapsis ] [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
sequential access method (SAM) | วิธีเข้าถึงโดยลำดับ (แซม) [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
sex chromosome; allosome; heterochromosome | โครโมโซมเพศ [พฤกษศาสตร์ ๑๘ ก.พ. ๒๕๔๕] |
sex linkage | การมียีนบนโครโมโซมเพศ [พฤกษศาสตร์ ๑๘ ก.พ. ๒๕๔๕] |
sibilus | เสียงแซม(หายใจ)แหลม, เสียงแซม(หายใจ)หวีดหวือ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
osteosis | การแทรกแซมด้วยเนื้อเยื่อกระดูก [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
azymia | ภาวะไร้เอนไซม์ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
analcime | อะนาลไซม์ [ธรณีวิทยา๑๔ ม.ค. ๒๕๔๖] |
antienzyme | สารต้านเอนไซม์ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
allosome; heterochromosome; sex chromosome | โครโมโซมเพศ [พฤกษศาสตร์ ๑๘ ก.พ. ๒๕๔๕] |
assemble | แปลภาษาแอสเซมบลี [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
assemble | แปลภาษาแอสเซมบลี [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
assembler | แอสเซมเบลอร์ [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
assembler | แอสเซมเบลอร์ [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
assembly language | ภาษาแอสเซมบลี [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
assembly language | ภาษาแอสเซมบลี [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
assembly program | โปรแกรมภาษาแอสเซมบลี [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
autosome | ออโตโซม [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
autosome | ออโตโซม [พฤกษศาสตร์ ๑๘ ก.พ. ๒๕๔๕] |
amylase | เอนไซม์ย่อยแป้ง, แอมีเลส [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
mesosome | มีโซโซม [พฤกษศาสตร์ ๑๘ ก.พ. ๒๕๔๕] |
crackle; rale | เสียงแซมหายใจ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
centrosome | เซนโทรโซม [ มีความหมายเหมือนกับ central apparatus ] [พฤกษศาสตร์ ๑๘ ก.พ. ๒๕๔๕] |
Chernozems | เชอร์โนเซม [ธรณีวิทยา๑๔ ม.ค. ๒๕๔๖] |
coenzyme | โคเอนไซม์ [พฤกษศาสตร์ ๑๘ ก.พ. ๒๕๔๕] |
chondriosome | คอนดริโอโซม [ มีความหมายเหมือนกับ mitochondria ] [พฤกษศาสตร์ ๑๘ ก.พ. ๒๕๔๕] |
chromosome | โครโมโซม [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] |
chromosome | โครโมโซม [พฤกษศาสตร์ ๑๘ ก.พ. ๒๕๔๕] |
Enzyme | เอนไซม์ โปรตีนที่ทำหน้าที่เร่งปฏิกิริยาเคมี [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Chemical inhibitor | สารยับยั้งเอนไซม์ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Fragile X syndrome | กลุ่มอาการโครโมโซมเอ็กซ์เปราะ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Non-associated Gas | ก๊าซธรรมชาติที่ประกอบด้วยก๊าซมีเทนเกือบทั้งหมดไม่มีน้ำมันปนอยู่ด้วย [ปิโตรเลี่ยม] |
Barrel per Day | ปริมาณน้ำมันที่กลั่นออกมาได้ในรอบปี หารด้วยจำนวนวันที่ปฏิบัติงานจริง, ปริมาณน้ำมันที่กลั่นออกมาได้ในรอบปี หารด้วยจำนวนวันที่ปฏิบัติงานจริง (ไม่นับวันที่หยุดและซ่อมแซมอุปกรณ์) (ความหมายในแง่การกลั่น) [ปิโตรเลี่ยม] |
Wildcat | หลุมแรกเจาะสำรวจหาน้ำมัน และก๊าซธรรมชาติ, หลุมแรกเจาะสำรวจหาน้ำมัน และก๊าซธรรมชาติในพื้นที่ที่ไม่เคยเจาะพบน้ำมันหรือก๊าซมาก่อน [ปิโตรเลี่ยม] |
Manure gase | ก๊าซมูลสัตว์ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Assembler | ตัวแปลภาษาแอสเซมบลี, Example: โปรแกรมประเภทหนึ่งซึ่งทำหน้าที่แปลโปรแกรมภาษาแอสเซมบลีไปเป็นภาษาเครื่อง [คอมพิวเตอร์] |
Assembly language | ภาษาแอสเซมบลี ภาษาระดับต่ำสำหรับใช้เขียนโปรแกรม, Example: แต่ละคำสั่งจะตรงกับคำสั่งภาษาเครื่องหนึ่งคำสั่ง ภาษาเครื่องนั้นปกติเป็นตัวเลขฐานสองหรือ 0 กับ 1 ซึ่งยากที่จะจำ ส่วนภาษาแอสเซมบลีนั้นเปลี่ยนเลข 0 กับ 1 ให้เป็นคำที่จำได้ง่าย เช่น A แทนคำว่า Add หรือบวก s แทน Subtract หรือลบ ทำให้เขียนโปรแกรมได้ง่ายกว่าการท่องจำเลข 0 กับ 1 ภาษาแอสเซมบลีนี้มักจะแตกต่างกันไปตามประเภทและรุ่นของตัวประมวลผล (processor) และใช้ร่วมกันไม่ได้ [คอมพิวเตอร์] |
Intercropping | การปลูกพืชแซม [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Chromosome mutation | การกลายของโครโมโซม, การเปลี่ยนแปลงที่โครงสร้างหรือจำนวนโครโมโซม [นิวเคลียร์] |
Spontaneous mutations | การกลายพันธุ์เกิดเอง, การเปลี่ยนแปลงของสารพันธุกรรมหรือดีเอ็นเอ (DNA) ของเซลล์สิ่งมีชีวิต ที่เกิดขึ้นจากปัจจัยต่างๆ ที่มีอยู่ในธรรมชาติ เช่น แสงแดด อุณหภูมิ หรือเกิดจากความผิดพลาดในกระบวนการสร้างและซ่อมแซมดีเอ็นเอของสิ่งมีชีวิตนั้น [นิวเคลียร์] |
Chromosome | โครโมโซม, Example: <p>ดีเอ็นเอของคนซึ่งประกอบด้วยยีนจำนวนมากซึ่งกำหนดลักษณะที่แสดงออก มีความยาวมากถ้าเอามาทำเป็นเส้นตรงจะมีความยาวมากกว่าเซลล์ ดังนั้นจะต้องมีวิธีบรรจุดีเอ็นเอทั้งหมดเข้าไปในเซลล์ วิธีที่ใช้คือให้เดีเอ็นเอซึ่งมีประจุลบเนื่องจากมีหมู่ฟอสเฟตยื่นออกมาโดยรอบทบกันไปมา แต่เนื่องจากประจุลบนั้นผลักกันเอง ทำให้เซลล์ต้องใช้โปรตีนที่มีประจุบวกเรียกว่า histone มาเป็นแกนกลางในการพันทบกัน ซึ่งดีเอ็นเอจะพันทบกันไปมาหลายชั้นอย่างแน่นมากจนได้เป็นแท่งของดีเอ็นเอที่มีขนาดพอที่จะบรรจุในเซลล์เรียกว่า โครโมโซม <br> <br>แหล่งข้อมูล<br> สุดสงวน ชูสกุลธนะชัย. “ดีเอ็นเอ: รหัสแห่งชีวิต” ในดีเอ็นเอ : ปริศนาลับรหัสชีวิต. หน้า 19-38. ปทุมธานี : ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ, 2546. [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Plant chromosome | โครโมโซมพืช [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Semiconductor chip | เซมิคอนดัคเตอร์ชิป [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Trypanosomiasis in animals | ทริปาโนโซมิเอซิสในสัตว์ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Angiotensin-converting enzyme inhibitors | สารยับยั้งแอนจิโอเท็นซิน-คอนเวิร์ตติง เอนไซม์ [TU Subject Heading] |
Art, Luxembourg | ศิลปะลักเซมเบิร์ก [TU Subject Heading] |
Art, Zambian | ศิลปะแซมเบีย [TU Subject Heading] |
Assembler language (Computer program language) | แอสเซมเบลอร์ (ภาษาคอมพิวเตอร์) [TU Subject Heading] |
Chromosome abnormalities | โครโมโซมผิดปกติ [TU Subject Heading] |
Chromosomes | โครโมโซม [TU Subject Heading] |
Chromosomes, Human | โครโมโซมมนุษย์ [TU Subject Heading] |
Clemens, Samuel Langhorne, 1835-1910 | คลีเมนส์, แซมมวล แลงฮอร์น, ค.ศ. 1835-1910 [TU Subject Heading] |
Enzyme-linked immunosorbent assay | เอนไซม์-ลิงค์ อิมมูโนซอร์เบนท์ แอสเซย์ [TU Subject Heading] |
Enzymes | เอนไซม์ [TU Subject Heading] |
Enzymology | เอนไซม์วิทยา [TU Subject Heading] |
Immunoenzyme techniques | เทคนิคทางอิมมูโนเอนไซม์ [TU Subject Heading] |
Liposomes | ไลโปโซม [TU Subject Heading] |
Magic, Semitic | ไสยศาสตร์เซมิทิค [TU Subject Heading] |
Maintenance and repair | การบำรุงรักษาและการซ่อมแซม [TU Subject Heading] |
NAD (Coenzyme) | เอนเอดี (ตัวกระตุ้นเอนไซม์) [TU Subject Heading] |
Karyotype | คารีโอไทป์ การนำโครโมโซมขนาดต่างๆ มาเรียงกัน, Example: การนำโครโมโซมขนาดต่างๆ มาเรียงกัน โดยจำแนกตามรูปร่างลักษณะ ขนาด และตำแหน่งของเซนโทรเมียร์ที่เหมือนกัน [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Proteasome endopeptidase complex | สารเชิงซ้อนโปรติเอโซม เอ็นโดเปปติเดส [TU Subject Heading] |
Proteolytic enzymes | เอนไซม์โพรทิโอลิททิค [TU Subject Heading] |
Repair and reconstruction | การซ่อมแซมและการสร้างใหม่ [TU Subject Heading] |
Repairing | การซ่อมแซม [TU Subject Heading] |
Saemaul Undong | แซมาอึล อุนดง [TU Subject Heading] |
Samba (Dance) | แซมบ้า (การเต้นรำ) [TU Subject Heading] |
Sambas | ดนตรีแซมบ้า [TU Subject Heading] |
Sex chromosome disorders | โครโมโซมเพศผิดปกติ [TU Subject Heading] |
Repair | การซ่อมแซม, Example: การซ่อมแซมสิ่งของเพื่อให้อยู่ในสภาพที่ใช้งาน ได้อีก [สิ่งแวดล้อม] |
Analcime | อะนาลไซม์, Example: แหล่ง - ในประเทศไทย พบทั่ว ๆ ไปในหินภูเขาไฟชนิดบะซอลต์ ประโยชน์ - สะสมไว้เพื่อศึกษา [สิ่งแวดล้อม] |
Asia-Europe Business Forum | สภาธุรกิจเอเชีย-ยุโรป เป็นกลไกหนึ่งภายใต้ความร่วมมืออาเซม(ASEM) ประกอบด้วยผู้แทนจากภาคเอกชนของประเทศสมาชิกอาเซม เริ่มดำเนินการเมื่อปี พ.ศ. 2540 [การทูต] |
Asia-Europe Cooperation Framework | กรอบความร่วมมือเอเชีย-ยุโรป เป็นเอกสารที่กำหนดแนวทางความร่วมมือด้านเศรษฐกิจ การเมือง สังคมและวัฒนธรรมในกรอบอาเซม ซึ่งได้รับรองในที่ประชุมผู้นำอาเซม ครั้งที่ 2 ที่กรุงลอนดอน [การทูต] |
Asia-Europe Environmental Technology Centre | ศูนย์เทคโนโลยีสิ่งแวดล้อมเอเชีย-ยุโรป เป็นกลไกหนึ่งภายใต้อาเซม เพื่อส่งเสริมความร่วมมือด้านสิ่งแวดล้อมของประเทศสมาชิก [การทูต] |
Asia-Europe Vision Group | กลุ่มวิสัยทัศน์เอเชีย-ยุโรป เป็นกลุ่มผู้ทรงคุณวุฒิซึ่งจัดตั้งภายหลังจากการประชุมผู้นำเอเชีย-ยุโรป (อาเซม) ครั้งที่ 2 ที่กรุงลอนดอน เพื่อระดมความคิดเกี่ยวกับอนาคตของกระบวนการอาเซม [การทูต] |
ASEM Trust Fund | กองทุนอาเซม " เป็นกองทุนที่จัดตั้งขึ้นในธนาคารระหว่างประเทศเพื่อการฟื้นฟูและ การพัฒนา (World Bank) โดยได้รับการสนับสนุนจากประเทศสมาชิกอาเซม เพื่อให้ความช่วยเหลือแก่ประเทศในเอเชียที่ประสบกับวิกฤตการณ์ทางเศรษฐกิจ " [การทูต] |
Asia-Europe Foundation | เป็นกลไกหนึ่งภายใต้อาเซม เพื่อส่งเสริมการแลกเปลี่ยนทางวิชาการ วัฒนธรรม และประชาชนกับประชาชน ระหว่างประเทศสมาชิก [การทูต] |
Asia Europe Meeting | การประชุมเอเชีย-ยุโรป " เป็นการประชุมระดับผู้นำจากเอเชีย 10 ประเทศ คือ ไทย มาเลเซีย อินโดนีเซีย สิงคโปร์ เวียดนาม ฟิลิปปินส์ บรูไน ดารุสซาลาม จีน สาธารณรัฐเกาหลี ญี่ปุ่น ผู้นำจากยุโรป 15 ประเทศ คือ สหราช- อาณาจักร ฝรั่งเศส เยอรมนี อิตาลี สเปน โปรตุเกส เนเธอร์แลนด์ เบลเยี่ยม ลักเซมเบิร์ก เดนมาร์ก สวีเดน ไอร์แลนด์ กรีซ ฟินแลนด์ ออสเตรีย และประธานคณะกรรมาธิการยุโรป การประชุมครั้งแรกมีขึ้น ที่กรุงเทพฯ เมื่อปี พ.ศ. 2539 " [การทูต] |
bodge | (vt) ทำหรือซ่อมแซมได้ไม่ดีเท่าที่ควรจะเป็น, Syn. botch |
botch | (vt) ซ่อมแซมอย่างลวกๆ, See also: งานหยาบ |
catch crop | (n) พืชโตเร็วที่ปลูกแซมระหว่างแถวของพืชอื่น, Syn. quick-growing crop |
chromosome | (n) โครโมโซม |
do over | (phrv) ซ่อมแซม |
do up | (phrv) ซ่อมแซม (คำไม่เป็นทางการ) |
fit up | (phrv) ตระเตรียมให้พร้อมสำหรับ, See also: ซ่อมแซม, แก้ไขให้พร้อมสำหรับ |
fix over | (phrv) ซ่อมแซม, See also: ปรับปรุง |
fix up | (phrv) ซ่อมแซม, See also: ปรับปรุง |
fix with | (phrv) ซ่อมแซมด้วย, See also: ซ่อมด้วย |
disrepair | (n) ความชำรุดทรุดโทรม, See also: การขาดการซ่อมแซม, สภาพชำรุดทรุดโทรม, Syn. collapse, ruination |
doctor | (vt) ซ่อม, See also: ซ่อมแซม |
elephant folio | (n) ขนาดของหนังสือที่มีความสูงประมาณ 61 - 63.5 ซม. (24 - 25 นิ้ว) |
enzyme | (n) เอนไซม์, See also: โปรตีนที่ควบคุมปฏิกริยาทางชีวเคมีในร่างกาย |
ferment | (n) เชื้อหมัก, See also: เอนไซม์, เชื้อฟู, เชื้อที่ทำส่าเหล้า |
fix | (vt) ซ่อมแซม, See also: ซ่อม, แก้, Syn. repair, mend, correct, Ant. damage, spoil |
go over | (phrv) ทำความสะอาด, See also: ซ่อมแซม |
gas-guzzler | (n) รถที่ต้องใช้น้ำมันหรือแก๊ซมาก |
germanium | (n) ธาตุโลหะใช้ทำเซมิคอนดักเตอร์และอัลลอยส์ (สัญลักษณ์ย่อGe) |
hatter | (n) คนที่ทำ ขาย และซ่อมแซมหมวก |
hemophilia | (n) โรคเลือดไหลไม่หยุด เกี่ยวกับความผิดปกติของยีนส์ในโครโมโซม X โรคนี้มักจะเกิดกับคนเพศชาย |
hoarding | (n) รั้วไม้ที่กั้นรอบตึกเป็นการชั่วคราวเมื่อมีการก่อสร้างหรือซ่อมแซมตึก |
under construction | (idm) กำลังซ่อมแซม, See also: กำลังสร้าง |
imp | (vt) ซ่อมแซมขนปีกให้นกอินทรีหรือเหยี่ยว |
insert | (vt) แซม, See also: แทรก, แทรกเข้า, Syn. enter, include |
knit up | (phrv) ซ่อมแซม, See also: ทำให้เข้าคืนสู่สภาพที่ดี, ทำให้ใช้การได้ |
lay up | (phrv) นอนซมบนเตียงเพราะเจ็บป่วย |
lie up | (phrv) (เรือ) จอดเทียบท่า (เพื่อซ่อมแซม, ใช้งาน), Syn. put up |
lurch | (vi) เดินโซเซ, See also: เซไปเซมา, เซถลา, Syn. reel, totter, lunge |
Luxembourg | (n) ประเทศลักเซมเบิร์ก |
Luxembourg | (n) ลักเซมเบิร์ก |
mend | (vt) แก้ไข, See also: ปะชุน, ซ่อมแซม, Syn. repair, improve, correct |
mendable | (adj) ซึ่งซ่อมแซมได้, Syn. curable |
mender | (n) ผู้ซ่อมแซม, Syn. repairer |
mending | (n) เสื้อผ้าซึ่งเย็บซ่อมแซม, Syn. restoring, renovating, repairing |
methane | (n) ก๊าซธรรมชาติชนิดหนึ่งไม่มีสีและกลิ่น ไวไฟ, See also: ก๊าซมีเทน |
mongolism | (n) ภาวะผิดปกติแต่กำเนิดเนื่องจากความผิดปกติของโครโมโซม, See also: ดาวน์ซินโดรม, Syn. Down's syndrome |
pepsin | (n) เอนไซม์เพ็บซินใช้ย่อยโปรตีนให้เป็น peptides |
patch up | (phrv) ซ่อมแซม |
piece up | (phrv) ซ่อมแซม, See also: ซ่อม, ปะ |
put right | (phrv) ซ่อมแซม, Syn. set right |
recondition | (vt) ซ่อมแซม, See also: ปรับปรุง, Syn. repair, renovate |
rehabilitate | (vt) ทำให้ตึกหรืออาคารกลับสู่สภาพเดิม, See also: ซ่อมแซม, ปฏิสังขรณ์, Syn. reestablish, restitue |
renew | (vt) เปลี่ยนใหม่, See also: ซ่อมแซม, Syn. repair, upgrade |
rennin | (n) เอนไซม์ที่ช่วยให้นมเป็นก้อน |
renovate | (vt) ปฏิสังขรณ์, See also: ทำให้มีสภาพดีเหมือนเดิม, ซ่อมแซมใหม่, บูรณะ, Syn. rebuild, repair, restore |
renovation | (n) การปฏิสังขรณ์, See also: การทำให้มีสภาพดีเหมือนเดิม, การบูรณะ, การซ่อมแซมใหม่, Syn. renewal, reparation |
repair | (vt) ซ่อมแซม, See also: แก้ไข, Syn. fix, heal, mend |
repair | (n) การซ่อมแซม, See also: การแก้ไข, Syn. amendment, mend |
repairable | (adj) ซึ่งซ่อมแซมใหม่ |
accessory chromosome | โครโมโซม x ที่ไม่ได้รวมคู่ในเพศหนึ่ง |
accouchement | (อะดูซมาน) fr. ระยะเก็บตัวในวัยเด็ก, การคลอด |
acentric chromosome | เศษชิ้นส่วนของโครโมโซมที่ปราศจาก centromere |
acetolase | เอนไซม์ที่กระตุ้นการเปลี่ยนแปลงแอลกอฮอลล์เป็น acetic acid |
acetylcholinesterase | เอนไซม์ที่กระตุ้น hydrolysis ของ acetyl choline |
acetyltransferase | เอนไซม์ที่กระตุ้นการย้าย acetyl group |
adenase | เอนไซม์ที่พบในม้ามและตับอ่อนที่ทำให้ adenine เปลี่ยนเป็น hypoxanthine และ ammonia |
air station l | นามบินที่มีเครื่องบินซ่อมแซมและบริการสำหรับเครื่องบิน |
albumose | (แอล' บูโมส) n. lารประกอบที่ได้จากโปรตีนโดยฤทธิ์ของเอ็นไซม์ (derived from proteins) |
amine oxidase | ซึ่งเป็นเอนไซมที่ deaminase tysamine และ tryptamine โดย oxidation เป็น aldehyde และปล่อย ammonia ออก |
aminoacidopathy | โรคที่เกิดจากความผิดปกติในการย่อยของเอนไซม์ใน metabolic pathway ชองกรดอมิโนแอซิด |
aminoacylase | เอนไซม์ในไตซึ่งกระตุ้นการเปลี่ยนแปลง hippuric acid เป็น benzoic acid และ glycine |
amitosis | (แอมมิโท' ซิส) n. วิธีการแบ่งเซลล์โดยตรง มีลักษณะที่มีการแบ่งตัวนิวเคลียส์ โดยไม่เกิดโครโมโซม. -amitotic adj. |
amphidiploid | (แอมไฟดิพ' ลอยดฺ) n. พืชที่มีจำนวนโครโมโซมรวมสองพันธุ์พ่อและแม่ |
amylase | (แอม' มิเลส) n. เอ็นไซม์ย่อมแป้งชนิดหนึ่ง |
amylopsin | (แอมมิลพ' ซิน) n. เอ็นไซม์ของน้ำย่อยตับอ่อน มันสามารถเปลี่ยนแป้งเป็นน้ำตาล |
anaphase | (แอน' นะเฟส) n.เป็นระยะที่สี่ของการแบ่งตัวแบบ miptosis เป็นระยะที่ chromatid ถูกดึงแยกออกจากกันเป็นสองส่วนแล้วเคลื่อนที่ไปในทิศทางตรงข้ามและไปหยุดที่ขั้วทั้งสองของเซลล์ ทำให้ spindle fibre ที่อยู่ระหว่างโครมาติดยาวมากขึ้น chromatid ที่แยกออกจากกันนี้แล้ว จะเป็นโครโมโซมที่สมบูรณ์ |
anisometropia | (แอนนิโซมิโทร' เพีย) n. อำนาจการหักเหแสงของนัยต์ตาสองข้างไม่เท่ากัน |
anti-semite | (แอนทีเซม' ไมท) n. ผู้ต่อต้านยิว. -anti-Semitic (al) adj. -anti-Semitism n. |
apoenzyme | (แอพโพเอน'ไซม) n. ส่วนประกอบโปรตีนร่วมกับ coenzyme เป็นเอ็นไซม์ที่สมบูรณ์ |
armorer | n. ผู้สร้างและซ่อมแซมอาวุธ, ทหารฝ่ายสรรพาวุธ, ผู้ผลิตอาวุธ |
armourer | n. ผู้สร้างและซ่อมแซมอาวุธ, ทหารฝ่ายสรรพาวุธ, ผู้ผลิตอาวุธ |
assam | (แอสแซม') n. รัฐอัสสัมในอินเดีย |
assemblage | (อะเซม'เบลจฺ) n. กลุ่มคน, กลุ่มสิ่งของ, การรวบรวม, ภาวะที่รวมกัน, Syn. combination, assembly |
assemble | (อะเซม'เบิล) vt. รวบรวม, ประชุม, รวมเข้า. -assembler n., Syn. combine, collect, Ant. disperse, separate แปล ภาษาแอสเซมบลี หมายถึงแปลโปรแกรมที่เขียนด้วยภาษาแอสเซมบลีให้เป็นภาษาเครื่อง machine language เพื่อให้คอมพิวเตอร์เข้าใจและปฏิบัติตามคำสั่งนั้น ๆ ได้ |
assembler | แอสเซมเบลอร์ตัวแปลภาษาแอสเซมบลีหมายถึง โปรแกรมที่ใช้เพื่อทำหน้าที่แปลโปรแกรมภาษาแอสเซมบลีเป็นภาษาเครื่อง (machine language) ซึ่งจะทำให้คอมพิวเตอร์อ่านแล้วเข้าใจ และปฏิบัติตามคำสั่งได้ ดู assembly language |
assembly | (อะเซม'บลี) n. ชุมนุมชน, การชุมนุม, การมั่วสุม, ที่ประชุมสภา, สมัชชา, สัญญาณรวมพล, การเคลื่อน (รถถังหรือทหาร) , เข้าสู่บริเวณหนึ่ง, ประกอบชิ้นส่วนต่าง ๆ ของเครื่องจักร, Syn. collection, meeting, Ant. dispersal, separation |
assembly language | ภาษาแอสเซมบลีหมายถึง ภาษาที่ใช้ในการเขียนโปรแกรมภาษาหนึ่งซึ่งจะตรงเข้าไปจัดการกับตัวไมโครโพรเซสเซอร์ หรือ "ตัวประมวลผล" ของเครื่องคอมพิวเตอร์ และจะทำการประมวลผลโดยตรงได้เลย โดยปกติ ภาษานี้จะเรียนยากและต้องเขียนยาวกว่าภาษา C หรือภาษา BASIC แต่จะทำให้ได้ผลลัพธ์ (result) เร็วกว่า และใช้เนื้อที่เก็บน้อยกว่าโปรแกรมภาษาอื่นมาก นิยมใช้ภาษานี้เมื่อต้องการประหยัดเวลาทำงานของเครื่องคอมพิวเตอร์ และเพิ่มประสิทธิภาพของโปรแกรม โดยไม่ต้องพะวงถึงความชัดเจนมากนัก และที่สำคัญก็คือ โปรแกรมภาษานี้จะเขียนขึ้นมาเพื่อใช้เฉพาะกับเครื่องใดเครื่องหนึ่ง หากจะนำไปใช้กับเครื่องคนละรุ่น ก็จะต้องมีการปรับแก้ก่อน (ขึ้นกับหน่วยประมวลผลหรือ CPU) |
assemblyman | (อะเซม'บลีเมิน) n. สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร |
autolysis | (ออทอส'ลิซิส) n. การสลายตัวของเนื้อเยื่อพืชหรือสัตว์โดยเอ็นไซม์ (enzyme) ที่มีอยู่ในเนื้อเยื่อนั้น. -autolytic adj. |
autosome | (ออ'โทโซม) n. โครโมโซมที่ไม่ใช้โครโมโซมเพศ., Syn. euchromosome |
basophils | เป็นเม็ดเลือดขาวที่มีแกรนูล มีจำนวนน้อยมากประมาณ 0-1.6 % มีหน้าที่ในการซ่อมแซมเนื้อเยื่อ เกี่ยวกับการอักเสบ มีความสำคัญต่อปฏิกริยา antigen antibody คือจะทำให้ basophils แตกออกแล้วปล่อย histamine ออกมา |
blink | (บลิงคฺ) vi., vt. กะพริบตา, หยีตา, เมินเฉย, ส่องแสงเป็นระยะ, ให้สัญญาณไฟกะพริบ -n. การกะพริบตา, การมองแวบเดียว, แสงริบหรี่ -Phr. (on the blinkใช้การไม่ได้ ต้องการซ่อมแซม) |
botch | (บอทชฺ) { botched, botching, botches } vt., vi. ทำเสียอย่างลวก ๆ , ซ่อมแซมอย่างลวก -n. งานลวก, งานหยาบ, งานปุปะ , ตุ่มบนผิวหนัง |
c | (ซี) n. พยัญชนะอังกฤษตัวที่3, ตัวเลข100ของโรมัน, สัญลักษณ์ทางเคมีของธาตุคาร์บอน ภาษาซีเป็นภาษาระดับสูง (high level language) ภาษาหนึ่ง ที่ใช้ในการเขียนโปรแกรม ภาษานี้เริ่มต้นมาจากห้องปฏิบัติการของบริษัท Bell ในช่วงทศวรรษ 1970 ภาษาซีนี้ เป็นภาษาที่ใช้ทั่วไปเทียบเคียงได้กับภาษาเบสิก (BASIC) หรือภาษาปาสกาล (Pascal) ความที่ภาษาซีเป็นภาษาที่ใช้ง่ายและสะดวก โปรแกรมสำเร็จรูปที่มีชื่อเสียงเป็นที่รู้จักกันอย่างดี เช่น Lotus 1-2-3 และ Microsoft FoxPro ก็เขียนด้วยภาษาซี ภาษาซีได้เปรียบภาษาอื่น ๆ อย่างน้อย 3 ประการด้วยกัน คือ 1. ภาษาซีง่ายในการเขียน และเรียนรู้ได้ง่ายเกือบจะเท่ากับภาษาเบสิก2. โปรแกรมภาษาซีใช้เวลาของเครื่อง (คอมพิวเตอร์) น้อยมาก พอ ๆ กับภาษาแอสเซมบลี (Assembly) แต่เขียนได้ง่ายกว่ากันมาก3. ภาษาซีใช้ได้กับคอมพิวเตอร์ทุกเครื่องทุกยี่ห้อ ไม่ว่าจะเป็นแมคอินทอชหรือไอบีเอ็ม (แทบจะไม่ต้องแก้ไขดัดแปลงอะไรเลย ผิดกับภาษาเบสิกและภาษาปาสกาล ซึ่งหากนำไปใช้กับเครื่องต่างตระกูลกันแล้ว จะต้องแก้ไขมากจนเรียกได้ว่าไม่คุ้ม |
cd | abbr. ธาตุ cadmium, แผ่นซีดี ย่อมาจาก compact disk แปลตามตัวอักษรว่า จานบันทึกอัดแน่น มีลักษณะเป็นแผ่นจานกลม ๆ ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 12 ซม. ใช้เป็นที่เก็บข้อมูล จานบันทึกนี้มีความจุสูงมาก (ประมาณ 600ล้านตัวอักษร) ปัจจุบันมีอุปกรณ์ใช้อ่านข้อมูลจากจานบันทึกนี้ได้ แต่การบันทึกข้อมูลลง ยังทำไม่ได้ง่าย ๆ ต้องมีเครื่องพิเศษเฉพาะ บันทึกได้ทั้งข้อมูลธรรมดา เพลง ภาพยนตร์ ปัจจุบันเป็นที่นิยมใช้มาก เพราะราคาถูก ความจุสูง แต่ยังติดขัดในปัญหาบางประการในเรื่องการบันทึกข้อมูลลง ดู CD ROM ประกอบ 2. ย่อมาจากคำ Change Directory เป็นคำสั่งในระบบดอสที่สั่งให้เข้าไปในสารบบ (directory) ใดสารบบหนึ่ง หรือออกจากสารบบใดสารบบหนึ่ง เช่น C:/>CD <ชื่อสารบบ> \ (หมายความว่าให้เข้าไปในสารบบชื่อนั้น) C:> CD\ (หมายความว่า ให้ออกจากสารบบที่อยู่) |
cementery | (เซม'มิเทอรี) n. ป่าช้า, สุสาน, See also: cementerial adj. ดูcementery |
chiasma | (ไคแอซ'มะ) n.การแลกเปลี่ยนส่วนของโครโมโซม, การตัดสลับกัน., See also: chiasmal, chiasmic, chiasmatic adj. |
chromosome | (โคร'มะโซม) n. โครโมโซม ซึ่งเป็นตัวกำหนดลักษณะทางกรรมพันธุ์ |
clout | (เคลาทฺ) { clouted, clouting, clouts } n. การตี, การต่อย, การตบ, การตีลูกไกล, อิทธิพลของความคิด, ปาฏิหาริย์, เป้า, ลูกกระสุนที่ถูกเป้า, เศษผ้าปะ, เศษของที่ใช้ซ่อมแซม, เศษผ้า, ผ้าขี้ริ้ว. vt. พันผ้า, ปะ, ซ่อมแซม, ตอกตะปูเสริม, ตี, ต่อย, Syn. blow, wal |
computer language | ภาษาคอมพิวเตอร์หมายถึงภาษาที่ใช้กับเครื่องคอมพิวเตอร์ หรือใช้เพื่อสื่อสารให้คอมพิวเตอร์เข้าใจ และสามารถปฏิบัติตามคำสั่งได้ โดยปกติเราแบ่งภาษาที่ใช้กับคอมพิวเตอร์ออกเป็น 2 ชนิด คือ1. ภาษาเครื่อง (machine language) คำสั่งที่เขียนด้วยภาษานี้เครื่องจะรับรู้และปฏิบัติตามได้ทันที ผู้ออกแบบคอมพิวเตอร์แต่ละแบบก็จะคิดแบบของภาษาที่ใช้กับเครื่องนั้น ๆ ขึ้นเป็นภาษาเฉพาะของเครื่องลักษณะของภาษาประเภทนี้จะเป็นตัวเลขฐานต่าง ๆ ขึ้นอยู่กับการออกแบบ ฉะนั้นจึงเป็นการยากสำหรับผู้เขียนโปรแกรม ซึ่งต้องเรียนรู้รายละเอียดของเครื่องนั้น ๆ ก่อน จึงจะใช้ภาษาได้2. ภาษาแนวมนุษย์ (human oriented language) หมายถึงภาษาที่มนุษย์เข้าใจ (แต่เครื่องไม่เข้าใจ) เนื่องจากภาษาเครื่องยุ่งยากและสับสน จึงมีการคิดภาษาหนังสือซึ่งมนุษย์เราเคยชินกันอยู่แล้วขึ้น แล้วใช้ตัวแปล (translator) แปลเป็นภาษาเครื่องอีกทีหนึ่ง เครื่องจึงจะดำเนินการได้ ภาษาแนวมนุษย์นี้แบ่งออก ได้เป็น 2 ระดับ คือ2.1 ภาษาระดับต่ำ (low - level language) เช่น ภาษาแอสเซมบลี (Assembly) 2.2 ภาษาระดับสูง (high - level language) เช่นภาษาฟอร์แทรน (FORTRAN) โคบอล (COBOL) ลักษณะของภาษาระดับสูงนี้ ได้มีการประดิษฐ์ขึ้นให้เหมาะสมกับงานเฉพาะอย่าง เช่น ภาษาฟอร์แทรน เหมาะกับงานทางคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และงานวิจัย ภาษาโคบอลและอาร์พีจี (RPG) เหมาะกับงานด้านธุรกิจ เป็นต้น นอกจากนี้ ก็ยังมีภาษาอื่นที่เป็นที่นิยมอีกมาก ภาษาเหล่านี้จะใช้ได้กับเครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนมาก เพราะในคอมพิวเตอร์ จะมีตัวแปล (translator) ซึ่งมีหน้าที่คอยแปลภาษาแนวมนุษย์ให้เป็นภาษาเครื่องอีกทีหนึ่ง การใช้ภาษาแนวมนุษย์นี้มีข้อดีคือ ใช้ง่ายกว่า มีความผิดพลาดน้อย แก้ไขตอนหนึ่งตอนใดได้ง่ายกว่า และเขียนได้สั้นกว่า เพราะบางทีคำสั่งเพียงคำสั่งเดียวก็มีผลเท่ากับหลาย ๆ คำสั่งของภาษาเครื่อง แต่ภาษาเครื่องก็มีส่วนดี ตรงที่ใช้เวลาของเครื่องน้อยกว่า เพราะไม่ต้องเสียเวลาในการแปล |
computer program | โปรแกรมคอมพิวเตอร์ชุดคำสั่งคอมพิวเตอร์หมายถึง คำสั่งคอมพิวเตอร์ชุดหนึ่ง ๆ ที่เขียนขึ้นเป็นภาษาคอมพิวเตอร์ภาษาใดภาษาหนึ่ง เช่น ภาษาซี (C) ภาษาโคบอล (COBOL) ภาษาเบสิก (BASIC) หรือ ภาษาแอสเซมบลี (Assembly) ฯ คำ "โปรแกรม" นี้ อาจจะเรียกเป็นชื่ออื่นก็ได้ เช่น ซอฟต์แวร์ (software) หรือ แอพพลิเคชัน (application) โปรแกรมนั้น แบ่งได้เป็นหลายประเภท ประเภทแรกคือประเภทที่ผู้ใช้เขียนขึ้นเองเพื่อให้ตรงกับความต้องการ กับอีกประเภทหนึ่งมีคนทำสำเร็จรูปไว้ขาย เช่น โปรแกรมสำหรับวาดภาพ (graphics) โปรแกรมประมวลผลคำ (word processing) โปรแกรมตารางจัดการ (spreadsheet) นอกจากนั้น ยังมีโปรแกรมระบบ (systems software) ซึ่งเป็นโปรแกรมที่ควบคุมการทำงานของเครื่องคอมพิวเตอร์ มีบางส่วนติดตั้งมาจากโรงงานที่ผลิตเลย และโปรแกรมระบบปฏิบัติการ (operating system) ที่จะทำหน้าที่เหมือนแม่บ้านคอยดูแลให้อุปกรณ์ต่าง ๆ ทำงานให้ประสานกัน สรุปว่า คอมพิวเตอร์สามารถทำงานได้ทุกอย่าง แต่คนเขียนคำสั่งต้องเข้าใจขั้นตอน วิธี (algorithm) และภาษาที่จะใช้เป็นอย่างดี จึงจะสามารถเขียนสั่งเครื่องให้ทำงานได้ |
connective tissue | เนื้อเยื่อเกี่ยวพัน เนื้อเยื่อชนิดนี้มีเซลล์น้อยแต่มี matrix มาก เนื้อเยื่อชนิดนี้พบได้ทั่วไปใปมากกว่าเนื้อเยื่อชนิดอื่นทำหน้าที่ให้เนื้อเยื่ออื่นยึดเกาะติดกัน รองรับและห่อหุ้มเนื้อเยื่ออื่น ๆ ช่วยให้อาหารให้แก่เนื่อเยื่อที่เกาะอยู่ ป้องกันและให้ความปลอดภัยแก่ร่างกายโดยทำหน้าที่ซึม ทำลายวัตถุที่แปลกปลอม ยังช่วยซ่อมแซมเนื้อเยื่อทีสึกหรอ แบ่งออกเป็น สองชนิดคือ 1.embryonic 1.1 mesenchyme เจริญมาจากชั้น mesoderm จะพบใน embryo และเจริญขึ้นอย่างรวดเร็วเป็น connective tissue ชนิดต่าง ๆ 1.2 mucous connective tissue ลักษณะคล้ายเมือกข้นที่ขับจากต่อมน้ำมูก (mucin) มีกลุ่มของอเส้นใยละเอียดสีขาว พบได้ที่สายสะดือเด็กเรียกว่า wharton's jelly 2. adult 2.1 เนื้อเยื่อเกี่ยวพันแท้ 2.2 เลือดและน้ำเหลือง 2.3 กระดูกอ่อน 2.4 กระดูกแข็ง |
cosmetician | (คอซมิทิช'เชิน) n. ผู้เชี่ยวชาญการทำเครื่องสำอางค์ , ผู้ขายเครื่องสำอางค์ |
cosmetology | (คอซมิทอล'ละจี) n. เครื่องสำอางค์วิทยา, See also: cosmetologist n. ดูcosmetology |
cosmogony | (คอซมอก'กะนี) n. ทฤษฎีการกำเนิดของจักรวาล., See also: cosmogonic adj. ดูcosmogony cosmogonist n. ดูcosmogony |
cosmology | (คอซมอล'ละจี) n. จักรวาลวิทยา, สาขาวิชาดาราศาสตร์ที่เกี่ยวกับโครงสร้างและการกำเนิดของจักรวาล, See also: cosmologic adj. ดูcosmology cosmological adj. ดูcosmology cosmologist n. ดูcosmology |
cosmopolis | (คอซมอพ'พะลิส) n. เมืองระหว่างประเทศที่สำคัญและเป็นที่อยู่ของคนหลายชาติหลายภาษา |
cosmopolitan | (คอซมะพอล'ลิเทิน) adj. เกี่ยวกับโลกทั้งหมด, เกี่ยวกับสากลนิยม, ซึ่งมีอยู่ทั่วโลกหรือทุกหนทุกแห่ง, ซึ่งประกอบด้วยหลายชาติหลายภาษา, ซึ่งไม่มีชาติหรือภาษาเป็นเครื่องผูกมัด, เกี่ยวกับพลเมืองโลก n. ผู้ที่ไม่มีชาติหรือภาษาเป็นเครื่องผูกมัด, See also: cosmopo |
cosmopolite | (คอซมอพ'พะไลทฺ) n., See also: cosmopolitism n. |
ferment | (n) เชื้อหมัก, ผงฟู, ความสับสนอลหม่าน, เอ็นไซม์ |
fix | (vt) กำหนด, เจาะจง, ซ่อมแซม, ทำให้คืนดี, ทำให้ติดแน่น, ตรึงตรา, จัดการ |
irredeemable | (adj) กลับคืนมาไม่ได้, ซ่อมแซมไม่ได้, ไร้ความหวัง |
irreparable | (adj) ไม่สามารถจะคืนดีได้, ไม่สามารถแก้ไขได้, ซ่อมแซมไม่ได้ |
mend | (vt) ซ่อมแซม, ปะ, แก้ไข, ทำให้ดีขึ้น |
mender | (n) ผู้ซ่อมแซม, ช่าง, ผู้แก้ไข |
rebuild | (vt) ซ่อมแซม, สร้างใหม่, ปรับปรุงใหม่ |
renew | (vt) ต่ออายุ, ทำใหม่, ซ่อมแซม, ฟื้นฟู, ทำให้เป็นหนุ่ม, สร้างใหม่ |
repair | (vt) แก้ไข, ซ่อมแซม, ชดใช้, ปฏิสังขรณ์, ฟื้นฟู, รักษา |
repairer | (n) ผู้ปฏิสังขรณ์, ผู้ซ่อมแซม, ผู้ฟื้นฟู |
reparable | (adj) แก้ไขได้, ซ่อมแซมได้, ปฏิสังขรณ์ได้ |
reparation | (n) การชดใช้, การซ่อมแซม, การฟื้นฟู, การปฏิสังขรณ์, ค่าทำขวัญ |
restitution | (n) การพักฟื้น, การชดใช้, การซ่อมแซม, การล้างบาป |
restoration | (n) การซ่อมแซม, การปฏิสังขรณ์, การบูรณะ, การสร้างใหม่ |
restorative | (adj) ซ่อมแซม, เป็นการบูรณะ, เป็นการปฏิสังขรณ์ |
retrieve | (vt) กอบกู้, ได้คืนมา, ทำให้กลับคืน, ช่วยชีวิต, ซ่อมแซม |
revamp | (vt) ซ่อมแซม, ปะ, ปรับปรุง, แก้ไข |
tinker | (vt) ซ่อมแซม, ปะ, บัดกรี |