ติว | (v) cram for an examination, See also: study, mug up, swot, Syn. กวดวิชา, Example: ดวงดอมไม่ได้ไปติว แต่ไปหาซื้อคู่มือการสอบมาอ่านเอง, Thai Definition: เรียนเพิ่มเติมจากที่เรียนมาแล้ว |
ชาติวุฒิ | (n) good background, Syn. ชาติกำเนิด, Example: ชีวิตของหล่อนมีเกียรติมีศักดิ์มีศรีทั้งด้วยชาติวุฒิ คุณวุฒิ และวัยวุฒิมากยิ่งกว่าเขามาก |
ปกติวิสัย | (n) normality, See also: nature, common, regularity, Syn. ธรรมดา, ปกติ, สามัญ, Ant. ผิดวิสัย, Example: การนันทนาการตลอดจนความสนุกสนานรื่นเริงต่างๆ เป็นสิ่งที่เป็นไปตามปกติวิสัยหรือทำอยู่เป็นประจำ, Thai Definition: ลักษณะที่เป็นไปตามที่เคย |
สติวิปลาส | (v) be insane, See also: be mad, be crazy, be mentally ill, be out of one's mind, be crazed, unhinge, Syn. ฟั่นเฟือน, วิปลาส, สติฟั่นเฟือน, บ้า, วิกลจริต, Ant. สติดี, Example: คนโบราณเชื่อว่าอำนาจทางไสยศาสตร์ทำให้สติวิปลาส, Thai Definition: สติผิดปกติไป |
สันติวิธี | (n) peaceful means, See also: peaceful way, Example: รัฐบาลควรหาทางออกด้วยสันติวิธี, Thai Definition: วิธีที่ไม่ต้องใช้กำลัง |
สันติวิธี | (n) peaceful means, See also: peaceful way, Example: รัฐบาลควรหาทางออกด้วยสันติวิธี, Thai Definition: วิธีที่ไม่ต้องใช้กำลัง |
สันตติวงศ์ | (n) royal succession, Example: รัฐบาลกราบบังคมทูล ขอพระราชทานอัญเชิญพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอานันทมหิดลขึ้นเถลิงถวัลยราชสมบัติสืบสันตติวงศ์ตามกฏมฌเฑียรบาล เป็นรัชกาลที่ 8 แห่งพระบรมราชจักรีวงศ์, Thai Definition: การสืบต่อตระกูลของพระมหากษัตริย์โดยเชื้อสาย, Notes: (บาลี/สันสกฤต) |
สันตติวงศ์ | (n) royal succession, Example: รัฐบาลกราบบังคมทูล ขอพระราชทานอัญเชิญพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอานันทมหิดลขึ้นเถลิงถวัลยราชสมบัติสืบสันตติวงศ์ตามกฏมฌเฑียรบาล เป็นรัชกาลที่ ๘ แห่งพระบรมราชจักรีวงศ์, Thai Definition: การสืบต่อตระกูลของพระมหากษัตริย์โดยเชื้อสาย, Notes: (บาลี/สันสกฤต) |
สืบราชสันตติวงศ์ | (v) succeed to the throne, See also: enthrone, Syn. สืบราชสมบัติ, สืบสาย, สืบตระกูล |
กฎมณเฑียรบาลว่าด้วยการสืบราชสันตติวงศ์ | น. กฎหมายที่วางหลักเกณฑ์เกี่ยวกับการสืบราชสมบัติ. |
นิติวิทยาศาสตร์ | น. วิชาที่ว่าด้วยการนำหลักวิทยาศาสตร์สาขาต่าง ๆ มาประยุกต์เพื่อแก้ปัญหาทางกฎหมาย และการพิสูจน์ข้อเท็จจริงเกี่ยวกับคดีความ. |
ปติวัตร | น. ความประพฤติต่อผัว, ความจงรักในผัว. |
พฤหัสปติวาร | น. วันพฤหัสบดี, คุรุวาร หรือ ชีววาร ก็ว่า. |
ราชสันตติวงศ์ | น. ลำดับชั้นพระบรมราชวงศ์ในการสืบราชสมบัติตามกฎมณเฑียรบาลว่าด้วยการสืบราชสันตติวงศ์ พ.ศ. ๒๔๖๗. |
สติวินัย | น. วิธีระงับอนุวาทาธิกรณ์ของสงฆ์โดยไม่ต้องพิจารณา เพียงแต่สวดกรรมวาจาประกาศความไม่มีโทษของจำเลยไว้ซึ่งเรียกว่า ให้สติวินัย แล้วยกฟ้องของโจทก์เสีย. |
สติวิปลาส | (-วิปะลาด) ว. มีสติฟั่นเฟือนคล้ายคนบ้า, สัญญาวิปลาส ก็ว่า. |
สันติวิธี | น. วิธีที่จะก่อให้เกิดความสงบ เช่น เจรจาสงบศึกโดยสันติวิธี. |
สืบราชสันตติวงศ์ | ก. ครองราชสมบัติสืบต่อจากพระมหากษัตริย์พระองค์ก่อนซึ่งอยู่ในราชวงศ์เดียวกัน เช่น กฎมณเฑียรบาลว่าด้วยการสืบราชสันตติวงศ์ พ.ศ. ๒๔๖๗, สืบสันตติวงศ์ ก็ว่า. |
สืบสันตติวงศ์ | ก. ครองราชสมบัติสืบต่อจากพระมหากษัตริย์พระองค์ก่อนซึ่งอยู่ในราชวงศ์เดียวกัน, สืบราชสันตติวงศ์ ก็ว่า. |
อิติวุตตกะ | น. ชื่อคัมภีร์ในพระพุทธศาสนา เป็น ๑ ใน ๙ ส่วนของคัมภีร์นวังคสัตถุศาสน์. (ป.). (ดู นวังคสัตถุศาสน์ ประกอบ). |
กฎธรรมดา | น. ความเป็นไปตามปรกติวิสัยของมนุษย์และสังคม. |
กามวิตถาร | (กามวิดถาน) น. การประกอบกามกิจที่ผิดปรกติวิสัย เช่น รักร่วมเพศ, การทรมานตนหรือผู้อื่นก่อนหรือในระหว่างร่วมเพศ. |
ขวางโลก | ว. แปลกไปจากคนอื่น, ผิดจากปรกติวิสัย. |
คดีอาญา | น. คดีที่เกี่ยวกับการกระทำที่กฎหมายบัญญัติว่า เป็นความผิดและมีโทษทางอาญา. |
คุรุวาร | น. วันครู คือ วันพฤหัสบดี, ชีววาร หรือ พฤหัสปติวาร ก็ว่า. |
คู่โค | น. นาที่ต้องเสียค่านาตามหน้าโฉนดทุก ๆ ปี ผิดกับนาฟางลอย ซึ่งต้องเสียค่านาแต่เฉพาะในปีที่ปลูกข้าว. [ “ที่เรียกว่า นาคู่โค เพราะวิธีเก็บหางข้าวนาชนิดนี้นับจำนวนโค (กระบือ) ที่ใช้ทำนาในที่นั้น ๆ ด้วยถือเป็นยุติว่า โคคู่หนึ่งคงจะทำนาในที่เช่นนั้นได้ผลประมาณปีละเท่านั้น เอาเกณฑ์จำนวนโคขึ้นตั้งเป็นอัตราหางข้าวที่จะต้องเสีย เพราะฉะนั้น นาคู่โค ถึงจะทำหรือมิทำจึงต้องเสียหางข้าว” พงศ. ร. ๒ ]. |
ชิงสุกก่อนห่าม | ก. ทำสิ่งที่ยังไม่สมควรแก่วัยหรือยังไม่ถึงเวลา (มักหมายถึงการลักลอบได้เสียกันก่อนแต่งงาน), ใช้เป็นคำสอนหรือเตือนสติว่า อย่าชิงสุกก่อนห่าม. |
ชีววาร | น. วันพฤหัสบดี, คุรุวาร หรือ พฤหัสปติวาร ก็ว่า. |
ญัตติ | ข้อเสนอเพื่อลงมติ เช่น ผู้แทนราษฎรเสนอญัตติเข้าสู่สภาเพื่อขอให้ที่ประชุมลงมติว่าจะเห็นชอบด้วยหรือไม่ |
ญัตติ | หัวข้อโต้วาที เช่น โต้วาทีในญัตติว่า ขุนช้างดีกว่าขุนแผน. |
ต่างว่า | สัน. เหมือนว่า, เปรียบว่า, สมมุติว่า. |
ตำหนิ | ก. ติว่าบกพร่อง. |
ติ๊งต่าง, ติ๋งต่าง | ก. ต่างว่า, สมมุติว่า, ติ๊ต่าง ตี๊ต่าง หรือ ตี๋ต่าง ก็ว่า. |
ตีเสียว่า | ก. กะเอาว่า, สมมุติว่า. |
เทวาลัย, เทวาวาส | น. ที่ซึ่งสมมุติว่าเป็นที่อยู่ของเทวดา. |
นมาซ | น. การปฏิบัติศาสนกิจในศาสนาอิสลามเพื่อชำระจิตใจให้บริสุทธิ์ ปฏิบัติวันละ ๕ เวลา, ละหมาด ก็เรียก. |
นวังคสัตถุศาสน์ | (นะวังคะสัดถุสาด) น. คำสอนของพระศาสดา คือ พระพุทธเจ้า มีองค์ประกอบ ๙ อย่าง คือ สุตตะ เคยยะ เวยยากรณะ คาถา อุทาน อิติวุตตกะ ชาดก อัพภูตธรรม เวทัลละ. |
ปรนนิบัติ | (ปฺรนนิบัด) ก. เอาใจใส่คอยปฏิบัติรับใช้, ปรนนิบัติวัตถาก ก็ว่า. |
ประวัติ, ประวัติ- | (ปฺระหฺวัด, ปฺระหฺวัดติ-, ปฺระหวัด-) น. เรื่องราวว่าด้วยความเป็นไปของคน สถานที่ หรือสิ่งใดสิ่งหนึ่ง เช่น ประวัติศรีปราชญ์ ประวัติวัดมหาธาตุ. |
ปลาจีน | น. ชื่อปลานํ้าจืดขนาดใหญ่หลายชนิดในวงศ์ Cyprinidae มีประวัติว่าชาวจีนได้นำเข้ามาเลี้ยงจากประเทศจีนเพื่อใช้เป็นอาหาร เช่น เฉาฮื้อหรือปลาเฉา [ Ctenopharyngodon idellus (Cuvier) ] เล่งฮื้อหรือปลาเล่ง [ Hypophthalmichthys molitrix (Cuvier) ] ซ่งฮื้อหรือปลาซ่ง ( H. nobilisRichardson) ทั้งยังอาจหมายถึงปลาหลีฮื้อหรือปลาไน [ Cyprinus carpio (Linn.) ] ด้วย. |
ปั๊ม | น. เรียกเครื่องยนต์สำหรับสูบน้ำ ว่า เครื่องปั๊มน้ำ, เรียกเครื่องยนต์สำหรับสูบลมหรือแก๊ส ว่า เครื่องปั๊มลม, เรียกเครื่องอุปกรณ์ที่ช่วยทำให้หัวใจกลับเต้นเป็นปรกติว่า เครื่องปั๊มหัวใจ |
เปรตวิษัย, เปรตวิสัย | (เปฺรดตะ-) น. ภูมิหรือขอบเขตที่อยู่แห่งเปรต, เปตวิสัย ก็ใช้. (ส. ไปตฺรฺย + วิษฺย; ป. เปตฺติวิสย). |
เผื่อว่า | สัน. ถ้าว่า, สมมุติว่า, หากว่า, เช่น เผื่อว่ามากันมาก ๆ จะได้มีที่นั่ง, เผื่อ ก็ใช้. |
มกุฎราชกุมาร | (มะกุดราดชะ-) น. ตำแหน่งรัชทายาทที่จะสืบราชสันตติวงศ์ซึ่งพระมหากษัตริย์ทรงสถาปนา. |
มหัศจรรย์ | (มะหัดสะจัน) ว. แปลกประหลาดมาก, น่าพิศวงมาก, ผิดปรกติวิสัยของธรรมชาติ. |
มิจฉาวาจา | น. “การเจรจาถ้อยคำผิด” คือ ประพฤติวจีทุจริต. |
ร้อนวิชา | เร่าร้อนอยากจะแสดงวิชาความรู้พิเศษหรือคาถาอาคมจนผิดปรกติวิสัย. |
รากษส | (รากสด) น. ยักษ์ร้าย, ผีเสื้อนํ้า, ชื่อพวกอสูรชั้นต่ำ มีนิสัยดุร้าย ในคัมภีร์โลกทีปกสารว่า เป็นบริวารของพญายม, ในคัมภีร์โลกบัญญัติว่า เป็นบริวารของพระวรุณ, ใช้ รากโษส ก็มี. |
ละหมาด | น. การปฏิบัติศาสนกิจในศาสนาอิสลามเพื่อชำระจิตใจให้บริสุทธิ์ ปฏิบัติวันละ ๕ เวลา, นมาซ ก็เรียก. |
แล้วก็แล้วไป | ว. อาการที่พูดปลอบใจหรือให้สติว่า เมื่อเหตุการณ์สิ้นสุดหรือยุติลงแล้ว ก็ไม่ควรเก็บมาเป็นกังวลหรือรื้อฟื้นขึ้นมาอีก. |
วางวาย | ก. ตาย เช่น นรชาติวางวาย มลายสิ้นทั้งอินทรีย์ (กฤษณา), วายวาง ก็ว่า. |
วิกลจริต | (วิกนจะหฺริด) ว. มีความประพฤติหรือกิริยาผิดปรกติเพราะสติวิปลาส เช่น เขาเป็นคนวิกลจริต ร้องไห้บ้างหัวเราะบ้างโดยไม่มีสาเหตุ, เป็นบ้า. |
วิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง | น. การเตรียมการและการดำเนินการของเจ้าหน้าที่เพื่อจัดให้มีคำสั่งทางปกครองหรือกฎ และรวมถึงการดำเนินการใด ๆ ในทางปกครองตามกฎหมายว่าด้วยพระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง. |
วินิบาต | ภพที่ต้องโทษ, ภพที่รับทุกข์, เช่น ทุคติวินิบาต. |
วิบัติ | น. พิบัติ, ความฉิบหาย, ความหายนะ, ความเป็นอัปมงคล, เช่น ทรัพย์สมบัติวิบัติ |
วิปลาส | (วิปะลาด, วิบปะลาด) ก. คลาดเคลื่อนไปจากธรรมดาสามัญ เช่น สติวิปลาส ตัวอักษรวิปลาส สัญญาวิปลาส. |
วิปัสสนายานิก | น. ผู้มีวิปัสสนาเป็นยาน, ผู้ปฏิบัติวิปัสสนาล้วน ๆ โดยมิได้เคยฝึกหัดเจริญสมาธิใด ๆ มาก่อน. |
สงฆ์ | ภิกษุตั้งแต่ ๔ รูปขึ้นไปร่วมกันทำสังฆกรรม แต่จำนวนภิกษุที่เข้าร่วมสังฆกรรมแต่ละอย่างไม่เท่ากัน คือในสังฆกรรมทั่ว ๆ ไป เช่น ในการสวดพิธีธรรม สวดอภิธัมมัตถสังคหะ ประกอบด้วยภิกษุ ๔ รูป เรียกว่า สงฆ์จตุรวรรค ในการรับกฐิน สวดพระปาติโมกข์ ปวารณากรรม และอุปสมบทในถิ่นที่ขาดแคลนภิกษุ ต้องประกอบด้วยภิกษุ ๕ รูป เรียกว่า สงฆ์ปัญจวรรค ในการอุปสมบทในถิ่นที่มีภิกษุมาก ต้องประกอบด้วยภิกษุ ๑๐ รูป เรียกว่า สงฆ์ทสวรรค และในการสวดอัพภานระงับอาบัติสังฆาทิเสส ต้องประกอบด้วยภิกษุ ๒๐ รูป เรียกว่า สงฆ์วีสติวรรค, ภิกษุที่เข้าร่วมสังฆกรรมดังกล่าว ถ้ามากกว่าจำนวนที่กำหนดจึงจะใช้ได้ ถ้าขาดจำนวนใช้ไม่ได้. |
สมมต, สมมติ, สมมติ-, สมมุติ, สมมุติ- | (สมมด, สมมด, สมมดติ-, สมมุด, สมมุดติ-) สัน. ต่างว่า, ถือเอาว่า, เช่น สมมุติว่าได้มรดกสิบล้าน จะบริจาคช่วยคนยากจน สมมุติว่าถูกสลากกินแบ่งรางวัลที่ ๑ จะไปเที่ยวรอบโลก. |
Antivenins | แอนติวีนิน [TU Subject Heading] |
Forensic sciences | นิติวิทยาศาสตร์ [TU Subject Heading] |
Nettivibhavini | เนตติวิภาวิณี [TU Subject Heading] |
Pacific settlement of international disputes | การระงับข้อพิพาทระหว่างประเทศโดยสันติวิธี [TU Subject Heading] |
Sarvastivadins | นิกายสรวาสติวาท [TU Subject Heading] |
Spiritual biography | ชีวประวัติวิญญาณ [TU Subject Heading] |
United Nations Conference on Trade and Development | การประชุมสหประชาชาติว่าด้วยการค้าและการพัฒนา [TU Subject Heading] |
United Nations Convention Against Transnational Organized Crime (2000) | อนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการต่อต้านอาชญากรรมข้ามชาติที่จัดตั้งในลักษณะองค์กร (ค.ศ. 2000) [TU Subject Heading] |
United Nations Convention against Corruption (2003) | อนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการต่อต้านการทุจริต (ค.ศ. 2003) [TU Subject Heading] |
United Nations Convention on Contracts for the International Sale of Goods (1980) | อนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยสัญญาซื้อขายระหว่างประเทศ (ค.ศ.1980) [TU Subject Heading] |
United Nations Convention on the Law of the Sea (1982) | อนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยกฎหมายทะเล (ค.ศ. 1982) [TU Subject Heading] |
United Nations Convention on the Carriage of Goods by sea (1978) | อนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการขนส่งของทางทะเล (ค.ศ. 1978) [TU Subject Heading] |
United Nations Framework Convention on Climate Change (1992). Protocols, etc., 1997 Dec. 11. | อนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (ค.ศ.1992). พิธีสาร (11 ธ.ค. ค.ศ. 1997) [TU Subject Heading] |
Vinayapitaka Vimativinodanitika | วิมติวิโนทนีฏีกา [TU Subject Heading] |
United Nations Conference on Trade and Development | ที่ประชุมสหประชาชาติว่าด้วยการค้าและการพัฒนา, Example: องค์การระหว่างประเทศถือกำเนิดขึ้นจากข้อมติ ของสมัชชาใหญ่สหประชาชาติ เมื่อ พ.ศ. 2507 เพื่อแก้ไขปัญหาการค้าระหว่างประเทศของประเทศกำลังพัฒนา โดยเฉพาะในปัญหาที่แกตต์ (ดู GATT) ไม่สามารถแก้ไขได้อย่างมีประสิทธิภาพ อังค์แทดเป็นเวทีการประชุมระหว่างประเทศ ที่เปิดโอกาสให้ประเทศพัฒนาแล้วและกำลังพัฒนา ปรึกษาหารือร่วมกันแก้ไขปัญหาการค้าและการพัฒนาเศรษฐกิจ ซึ่งมีผลให้ประเทศกำลังพัฒนาสามารถรวมกลุ่มกัน ใช้เป็นเวทีเรียกร้องให้ประเทศพัฒนาแล้วผ่อนคลาดมาตรการที่เป็นอุปสรรคต่อ การค้าของประเทศกำลังพัฒนา รวมถึงให้ประเทศกำลังพัฒนามีบทบาทร่วมในการตัดสินใจ เกี่ยวกับนโยบายและการจัดระบบเศรษฐกิจของโลกมากขึ้น ผลงานสำคัญของที่ประชุมสหประชาชาติว่าด้วยการค้าและการพัฒนา เช่น จีเอสพี (ดู GSP) โครงการร่วมโภคภัณฑ์ (ดู Commodity Stabilization Agreements) และจีเอสทีพี (ดู GSTP) อังค์เทดมีสำนักงานอยู่ที่นครเจนีวา ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ มีสมาชิกรวม 168 ประเทศ แบ่งออกเป็น 3 กลุ่ม คือ ประเทศที่พัฒนาแล้ว ประเทศสังคมนิยมยุโรปตะวันออก และกลุ่มประเทศกำลังพัฒนา [สิ่งแวดล้อม] |
Act on Consular Privileges and Immunities B.E. 2541 | พระราชบัญญัติว่าด้วยเอกสิทธิ์และความคุ้มกันทางกงสุล พ.ศ. 2541 [การทูต] |
Act on Diplomatic Privileges and Immunities B.E. 2527 | พระราชบัญญัติว่าด้วยเอกสิทธิ์และความคุ้มกันทางทูต พ.ศ. 2527 [การทูต] |
Bangkok Process | เป็นการประชุมอย่างไม่เป็นทางการในระดับรัฐมนตรี เพื่อแลกเปลี่ยน ข้อคิดเห็นระหว่างกันอย่างตรงไปตรงมาและสร้างสรรค์เกี่ยวกับแนวทางในการสนับ สนุนกระบวนการสร้างความปรองดองภายในชาติและการพัฒนาประชาธิปไตยในพม่าตาม ?Roadmap towards Democracy in Myanmar? เดิมเรียกว่า Forum on International Support for National Reconciliation in Myanmar ประเทศไทยได้เป็นเจ้าภาพจัดการประชุม Bangkok Process ครั้งแรกเมื่อ 15 ธันวาคม 2546 ที่กระทรวงการต่างประเทศ โดยมีรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศหรือผู้แทนพิเศษของรัฐมนตรีว่าการ กระทรวงการต่างประเทศจาก 12 ประเทศ ได้แก่ ออสเตรเลีย ออสเตรีย จีน ฝรั่งเศส เยอรมนี อินเดีย อินโดนีเซีย อิตาลี ญี่ปุ่น พม่า สิงคโปร์ และไทย รวมทั้งนาย Razali Ismail เป็นผู้แทนพิเศษของเลขาธิการสหประชาชาติว่าด้วยพม่าเข้าร่วม [การทูต] |
Break of Diplomatic Relations | การตัดความสัมพันธ์ทางการทูต เมื่อสองรัฐตัดความสัมพันธ์ทางการทูตซึ่งกันและกัน เพราะมีการไม่ลงรอยกันอย่างรุนแรง หรือเพราะเกิดสงคราม จึงไม่มีหนทางติดต่อกันได้โดยตรง ดังนั้น แต่ละรัฐมักจะขอให้มิตรประเทศที่เป็นกลางแห่งใดแห่งหนึ่ง ซึ่งเป็นที่ยอมรับของรัฐอีกฝ่ายหนึ่ง ช่วยทำหน้าที่พิทักษ์ดูแลผลประโยชน์ของตนในอีกรัฐหนึ่ง โดยเฉพาะอย่างยิ่งให้ช่วยดูแลคนชาติของรัฐนั้น ตัวอย่างเช่น ในตอนที่สหรัฐอเมริกากับคิวบาได้ตัดความสัมพันธ์ทางการทูตกดัน สหรัฐอเมริกาได้ขอให้คณะผู้แทนทางการทูตของสวิส ณ กรุงฮาวานา ช่วยพิทักษ์ดูแลผลประโยชน์ของสหรัฐฯ ในประเทศคิวบา ในขณะเดียวกัน สถานเอกอัครราชทูตเช็คโกสโลวาเกียในกรุงวอชิงตัน ก็ได้รับการขอจากประเทศคิวบา ให้ช่วยพิทักษ์ดูแลผลประโยชน์ของตนในสหรัฐอเมริกาถึงสังเกตว่า การตัดความสัมพันธ์ทางการทูตนี้ มิได้หมายความว่าความสัมพันธ์ทางกงสุลจะต้องตัดขาดไปด้วย มาตรา 45 ของอนุสัญญากรุงเวียนนาได้บัญญัติว่า ?ถ้าความสัมพันธ์ทางการทูตระหว่างสองรัฐขาดลง หรือถ้าคณะผู้แทนถูกเรียกกลับเป็นการถาวรหรือชั่วคราวก. แม้ในกรณีการขัดแย้งกันด้วยอาวุธ รัฐผู้รับจะต้องเคารพและคุ้มครองสถานที่ของคณะผู้แทน รวมทั้งทรัพย์สินและบรรณสารของคณะผู้แทนด้วยข. รัฐผู้ส่งอาจมอบหมายการพิทักษ์สถานที่ของคณะผู้แทน รวมทั้งทรัพย์สินและบรรณสารของคณะผู้แทน ให้แก่รัฐที่สามซึ่งเป็นที่ยอมรับแก่รัฐผู้รับก็ได้ค. รัฐผู้ส่งอาจมอบหมายการอารักขาผลประโยชน์ของคนและคนชาติของตน แก่รัฐที่สามซึ่งเป็นที่ยอมรับได้แก่รัฐผู้รับก็ได้ [การทูต] |
Exclusive Economic Zone | เขตเศรษฐกิจจำเพาะ คือ บริเวณที่อยู่เลยไปจากและประชิดกับทะเลอาณาเขต สิทธิและเขตอำนาจของรัฐชายฝั่งและสิทธิเสรีภาพของรัฐอื่นถูกกำหนดโดยบท บัญญัติที่เกี่ยวข้องของอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยกฎหมายทะเล พ.ศ. 2525 [การทูต] |
European Union | สหภาพยุโรป สหภาพยุโรปได้มีวิวัฒนาการมาเป็นลำดับ นับแต่การก่อตั้งประชาคมถ่านหินและเหล็กกล้า (European Coal and Steal Community) ในปี พ.ศ. 2494 ต่อมาในปี พ.ศ. 2500 ได้มีการจัดทำสนธิสัญญากรุงโรม (Treaty of Rome) ได้มีการก่อตั้งประชาคมเศรษฐกิจยุโรป (European Economic Community : EEC) และประชาคมพลังงานปรมาณู (Euratom) ในช่วงเวลานั้นจึงเรียกชื่อกันว่าประชาคมเศรษฐกิจยุโรป (EEC) ต่อมาได้มีการรวม 3 ประชาคมเข้าด้วยกันและได้มีกฎหมายยุโรปตลาดเดียว (Single European Act) ซึ่งมีผลบังคับใช้ในปี พ.ศ. 2530 เพื่อให้ประชาคมเศรษฐกิจยุโรปเข้าสู่ขั้นตอนการเป็นตลาดร่วมและตลาดเดียวที่ สมบูรณ์ในปี พ.ศ. 2535 ดังนั้นในทางปฏิบัติจึงเปลี่ยนมาเรียกชื่อเป็นประชาคมยุโรป (European Communities : EC) ตั้งแต่ พ.ศ. 2530 ต่อมาเมื่อสนธิสัญญามาสทริชท์ (Maastricht Treaty) มีผลบังคับใช้เมื่อวันที่ 1 พฤศจิกายน 2536 ซึ่งได้กำหนดเป้าหมายและขั้นตอนให้ประชาคมยุโรปพัฒนาไปสู่การเป็นสหภาพยุโรป จึงได้เปลี่ยนมาเรียกชื่อในทางปฏิบัติว่า สหภาพยุโรป (European Union : EU) ตั้งแต่ พ.ศ. 2536 เป็นต้นมา ปัจจุบันมีสมาชิก 15 ประเทศ ได้แก่ สหราชอาณาจักร ฝรั่งเศส เยอรมนี อิตาลี สเปน โปรตุเกส เนเธอร์แลนด์ เบลเยี่ยม ลักเซมเบิร์ก เดนมาร์ก สวีเดน ไอร์แลนด์ กรีซ ฟินแลนด์ ออสเตรีย [การทูต] |
International Conference on Financing for Development | การประชุมนานาชาติว่าด้วยการสนับสนุนทางการเงิน สำหรับการพัฒนา [การทูต] |
Inviolability of Residence and Property of Diplomatic Agents | หมายถึง ความละเมิดมิได้ของทำเนียบและทรัพย์สินของตัวแทนทางการทูต ในเรื่องนี้ อนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางการทูต ได้บัญญัติไว้ในมาตรา 30 ว่า ?1. ให้ที่อยู่ส่วนตัวของตัวแทนทางการทูต ได้อุปโภคความละเมิดมิได้และความคุ้มครอง เช่นเดียวกับสถานที่ของคณะผู้แทน 2. ให้กระดาษเอกสาร หนังสือโต้ตอบ และยกเว้นที่ได้บัญญัติไว้ในวรรค 3 ของข้อ 31 ทรัพย์สินของตัวแทนทางการทูตได้อุปโภคและละเมิดมิได้เช่นกัน?วรรค 3 ของข้อ 31 ในอนุสัญญากรุงเวียนนาได้บัญญัติว่า มาตรการบังคับคดีไม่อาจดำเนินได้ในส่วนที่เกี่ยวกับตัวแทนทางการทูต (เว้นแต่ในกรณีซึ่งอยู่ภายใต้อนุวรรค (ก) (ข) และ (ค) ของวรรค 1 ของข้อนี้ และโดยเงื่อนไขว่า มาตรการที่เกี่ยวข้องอาจดำเนินไปได้ โดยปราศจาการละเมิด) หรือที่อยู่ของตัวแทนทางการทูต [การทูต] |
Organization of American States | คือองค์การของรัฐในสหรัฐอเมริกา เมื่อวันที่ 2 กันยายน ค.ศ. 1947 สหรัฐอเมริกา และประเทศต่าง ๆ ในละตินอเมริกา ยกเว้นประเทศนิคารากัวและอีเควดอร์ ได้ตกลงทำสนธิสัญญาระหว่างรัฐในอเมริกาด้วยกัน ณ กรุงริโอเดจาเนโร เพื่อให้ความช่วยเหลือซึ่งกันและกัน ซึ่งเรียกกันทั่วไปว่า สนธิสัญญาริโอ ประเทศเหล่านั้นต่างมุ่งมั่นที่จะให้ความช่วยเหลือกันอย่างมีประสิทธิผล ถ้าหากรัฐในอเมริกาหนึ่งใดถูกโจมตีด้วยกำลังอาวุธหรือถูกคุกคามจาการรุกราน ต่อมาในเดือนเมษายน ค.ศ. 1948 ได้มีการจัดตั้งองค์การของรัฐอเมริกัน (Organization of American States) ขึ้น ณ กรุงโบโกตา ประเทศโบลิเวีย ประกอบด้วยรัฐต่าง ๆ ในอเมริการวม 21 ประเทศ ยกเว้นประเทศแคนาดา เพื่อดำเนินการให้เป็นผลตามสนธิสัญญาริโอ และจัดวางระบบการรักษาความมั่นคงร่วมกันขึ้น กฎบัตร (Charter) ขององค์การได้มีผลบังคับให้เมื่อวันที่ 13 ธันวาคม ค.ศ. 1951องค์การโอเอเอสนี้ เป็นองค์การส่วนภูมิภาคแห่งหนึ่ง ภายในกรอบของสหประชาชาติ ประเทศสมาชิกต่างปฏิญาณร่วมกันที่จะทำการธำรงรักษากระชับสันติภาพ ตลอดจนความมั่นคงในทวีปอเมริกา เพื่อป้องกันมิให้เกิดเหตุแห่งความยุ่งยากใด ๆ และต้องการระงับกรณีพิพาทที่อาจเกิดขึ้นได้ในระหว่างประเทศสมาชิกด้วยกันโดย สันติวิธี อนึ่ง ถ้าหากมีการรุกรานเกิดขึ้นก็จะมีการปฏิบัติการร่วมกัน นอกจากนี้ ยังจะหาทางระงับปัญญาหาทางการเมือง ทางการศาล และทางเศรษฐกิจ ที่อาจเกิดขึ้นได้ในระหว่างประเทศสมาชิก พร้อมทั้งจะพยายามร่วมกัน ในการหาหนทางส่งเสริมพัฒนาการทางเศรษฐกิจสังคม และวัฒนธรรม สำนักงานใหญ่ขององค์การโอเอเอสตั้งอยู่ ณ กรุงวอชิงตันดีซี นครหลวงของสหรัฐอเมริกา [การทูต] |
Open Diplomacy | คือการทูตแบบเปิดเผย อดีตประธานาธิบดีวูดโรว์ วิลสัน แห่งสหรัฐอเมริกา เป็นบุคคลที่สนับสนุนและเผยแพร่วิธีการทูตแบบเปิดเผยอย่างเต็มที่ หวังจะให้ชุมชนนานาชาติพร้อมใจกันสนับสนุนการทูตนี้เช่นเดียวกัน เมื่อวันที่ 8 มกราคม ค.ศ. 1918 วูดโรว์ วิลสัน ได้ประกาศให้โลกทราบนโยบายของท่าน 14 ข้อ ข้อหนึ่งในจำนวนนั้นท่านปรารถนาว่า ในอนาคตประเทศต่าง ๆ ควรจะทำความตกลงกันเกี่ยวกับเรื่องสันติภาพอย่างเปิดเผย และต่อไปไม่ควรจะมีการเจรจาทำความตกลงระหว่างประเทศแบบลับเฉพาะอย่างใดทั้ง สิ้นแม้ว่าโดยทั่วไปจะเห็นพ้องด้วยกับนโยบายข้อแรกของ วูดโรว์ วิลสัน คือ ความตกลงหรือสนธิสัญญาใด ๆ เมื่อตกลงเสร็จสิ้นแล้ว ให้ประกาศเปิดเผยให้โลกทราบ แต่สำหรับข้องสองคือการเจรจาในระหว่างทำสนธิสัญญาให้กระทำกันอย่างเปิดเผย นั้น ส่วนใหญ่ยังไม่ค่อยเห็นด้วย เพราะเห็นว่าลำพังการเจรจานั้น โดยสารัตถะสำคัญแล้วควรจะถือเป็นความลับไว้ก่อนจนกว่าจะเสร็จการเจรจา ทั้งนี้ เซอร์เดวิด เคลลี่ อดีตนักการทูตอังกฤษเคยให้ทรรศนะว่า การทูตแบบเปิดเผยนั้นเป็นถ้อยคำที่ขัดกันในตัว คือหากกระทำกันอย่างเปิดเผยเสียแล้วก็ไม่ใช่การทูตเกี่ยวกับเรื่องนี้ มาตรา 102 ของกฎบัตรสหประชาชาติได้บัญญัติว่า ?1. สนธิสัญญาทุกฉบับ และความตกลงระหว่างประเทศทุกฉบับ ซึ่งสมาชิกใด ๆ แห่งสหประชาชาติได้เข้าเป็นภาคี ภายหลังที่กฎบัตรปัจจุบันได้ใช้บังคับ จักต้องจดทะเบียนไว้กับสำนักเลขาธิการโดยเร็วที่สุดเท่าที่จะทำได้ และจักได้พิมพ์ขึ้นโดยสำนักงานนี้ 2. ภาคีแห่งสนธิสัญญา หรือความตกลงระหว่างประเทศเช่นว่าใด ซึ่งมิได้จดทะเบียนไว้ตามบทบัญญัติในวรรคหนึ่งข้อนี้ ไม่อาจยกเอาสนธิสัญญาหรือความตกลงนั้น ๆ ขึ้นกล่าวอ้างต่อองค์กรใด ๆ ของสหประชาชาติ? [การทูต] |
pacific settlement of disputes | การระงับข้อพิพาทด้วยสันติวิธี [การทูต] |
Pacific Settlement of International Disputes | หมายถึง การระงับข้อพิพาทระหว่างประเทศโดยสันติวิธี คงจะจำกันได้ว่า ในตอนเสร็จสงครามโลกครั้งที่สอง ประเทศในโลกฝ่ายเสรีซึ่งเป็นผู้ชนะ ต่างมีเจตนาอันแน่วแน่ที่จะหาทางมิให้เกิดสงครามขึ้นอีกในโลก จึงตกลงร่วมกันก่อตั้งองค์การสหประชาชาติ (Charter of the United Nations)ดังนั้น ข้อ 2 ของกฎบัตรสหประชาชาติจึงได้กำหนดให้ประเทศสมาชิกมีพันธกรณีที่จะต้องหาทางระ งังกรณีพิพาทระหว่างประเทศโดยสันติวิธี และข้อ 33 ของกฎบัตรก็ได้บัญญัติไว้ว่า ?1. ผู้เป็นคู่กรณีฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งในกรณีพิพาทใด ๆ ซึ่งหากดำเนินอยู่ต่อไป น่าจะเป็นอันตรายแก่การธำรงไว้ซึ่งสันติภาพและความมั่นคงระหว่างประเทศ ก่อนอื่นจักต้องแสวงหาการแก้ไขโดยการเจรจา ไต่สวน ไกล่เกลี่ย ประนีประนอม อนุญาโตตุลาการ การระงับโดยทางศาล การหันเข้าอาศัยทบวงการตัวแทน การตกลงส่วนภูมิภาค หรือสันติวิธีประการอื่นใดที่คู่กรณีจะพึงเลือก 2. เมื่อเห็นว่าจำเป็น คณะมนตรีความมั่นคงจักเรียกร้องให้คู่พิพาทระงับกรณีพิพาทของตนโดยวิธีเช่น ว่านั้น? [การทูต] |
peace making | การทำให้เกิดสันติภาพ เป็นการดำเนินการทางการทูตโดยมักใช้วิธีไกล่เกลี่ย และเจรจาเพื่อยุติความขัดแย้งโดยสันติวิธี [การทูต] |
Treaty of Amity and Cooperation | สนธิสัญญาไมตรีและความร่วมมือในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ " เป็นสนธิสัญญาที่จัดทำขึ้นโดยอาเซียนเมี่อปี พ.ศ. 2519 เพื่อกำหนด หลักการดำเนินความสัมพันธ์ในภูมิภาค โดยมีหลักการที่สำคัญได้แก่ การเคารพในอำนาจอธิปไตย ความเท่าเทียมกัน บูรณภาพแห่งดินแดน การไม่แทรกแซงกิจการภายใน การแก้ไขปัญหาโดยสันติ การไม่ใช้หรือขู่ว่าจะใช้กำลัง และการส่งเสริมความร่วมมือระหว่างกัน รวมทั้งมีมาตราเกี่ยวกับแนวทางยุติความขัดแย้งโดยสันติวิธี โดยอาศัยกลไกคณะอัครมนตรี (High Council) ปัจจุบันประเทศในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ทั้ง 10 ประเทศ เป็นภาคีสนธิสัญญาฯ " [การทูต] |
territorial sea | ทะเลอาณาเขต รัฐทุกรัฐมีสิทธิกำหนดความกว้างของทะเลอาณาเขตของตนได้จนถึงขอบเขตหนึ่งซึ่ง ไม่เกิน 12 ไมล์ทะเล โดยวัดจากเส้นฐานที่กำหนดขึ้นตามอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยกฎหมายทะเล พ.ศ. 2525 [การทูต] |
The Hague Peace Conferences | การประชุมสันติภาพ ณ กรุงเฮก ในประเทศเนเธอร์แลนด์ การประชุมนี้ได้กระทำกันเป็นครั้งแรกเมื่อปี ค.ศ. 1899 โดย พระเจ้าซาร์ นิโคลัสที่สอง ของประเทศรัสเซียเป็นผู้จัดให้มีขึ้น ณ กรุงเฮก เมื่อวันที่ 18 พฤษภาคม ค.ศ. 1899 ที่ประชุมได้รับรองอนุสัญญาว่าด้วยการระงับข้อพิพาทระหว่างประเทศโดยสันติ วิธี ได้ตกลงจัดตั้งศาลซึ่งตัดสินประเทศโดยสันติวิธี พร้อมทั้งได้ตกลงจัดตั้งศาลซึ่งตัดสินโดยอนุญาโตตุลาการเป็นการถาวร และเสนอแนะให้วางประมวลพิจารณาโดยอนุญาโตตุลาการ ทั้งยังได้ตกลงรับรองอนุสัญญาและปฏิญญาต่าง ๆ หลายฉบับ ในจำนวนนี้ ที่สำคัญที่สุดได้แก่ อนุสัญญาควบคุมกฎหมายและขนบประเพณีว่าด้วยการทำสงครามภาคพื้นดินการประชุม สันติภาพ ณ กรุงเฮกครั้งที่สอง หรือการประชุม ณ กรุงเฮกปี ค.ศ.1907 ตามคำขอร้องของรัฐบาลรัสเซีย ได้มีขึ้นเมื่อวันที่ 15 มิถุนายน ค.ศ.1907 วัตถุประสงค์สำคัญของการประชุมคือต้องการปรับปรุงและขยายข้อความในอนุสัญญา ต่าง ๆ ที่ทำไว้เมื่อปี ค.ศ. 1899 ว่าด้วยการระงับข้อพิพาทระหว่างประเทศโดยสันติวิธี รวมทั้งกฎหมายและขนบประเพณีเกี่ยวกับสงครามภาคพื้นดิน ตลอดจนรับรองอนุสัญญาเกี่ยวกับกฎหมายและขนมประเพณีของการทำสงครามทางทะเล การประชุม ณ กรุงเฮกครั้งที่สองนี้ยังได้เสนอแนะให้ที่ประชุมกำหนดให้ประเทศผู้ลงนาม รับรองและนำออกใช้ซึ่งร่างอนุสัญญาว่าด้วยการก่อตั้งศาลสถิตยุติธรรม เพื่อพิจารณาโดยอนุญาโตตุลาการอีกด้วย [การทูต] |
United Nations Conference on Environment and Development | การประชุมสหประชาชาติว่าด้วยการพัฒนาและสิ่งแวด ล้อม [การทูต] |
United Nations Conference on Trade and Development | การประชุมสหประชาชาติว่าด้วยการค้าและการพัฒนา (อังค์ถัด) " เป็นองค์กรของสหประชาชาติที่รับผิดชอบเรื่องการค้า การเงิน การ ลงทุน เทคโนโลยี และการพัฒนาแบบเบ็ดเสร็จ โดยมีหน้าที่เป็นเวทีประสานนโยบายระหว่างรัฐบาล ศึกษาวิเคราะห์สภาวะเศรษฐกิจโลกและให้ความช่วยเหลือทางวิชาการแก่ประเทศ กำลังพัฒนา ปัจจุบันมีรัฐสมาชิก 190 ประเทศ ประชุมระดับรัฐมนตรีปีละ 4 ครั้ง ประเทศไทยเป็นเจ้าภาพจัดการประชุมอังค์ถัดครั้งล่าสุด (ครั้งที่ 10) เมื่อเดือน กุมภาพันธ์ 2543 " [การทูต] |
Work of the United Nations on Human Rights | งานขององค์การสหประชาชาติว่าด้วยสิทธิมนุษยชน งานสำคัญชิ้นหนึ่งของสหประชาชาติคือ วควมมปรารถนาที่จะให้ประเทศทั้งหลายต่างเคารพและให้ความคุ้มครองแก่สิทธิ มนุษยชนตลอดทั่วโลก ดังมาตรา 1 ในกฎบัตรของสหประชาติได้บัญญัติไว้ว่า?1. เพื่อธำรงไว้ซึ่งสันติภาพและความมั่นคงระหว่างประเทศ และมีเจตนามุ่งมั่นต่อจุดหมายปลายทางนี้ จะได้ดำเนินมาตรการร่วมกันให้บังเกิดผลจริงจัง เพื่อการป้องกันและขจัดปัดเป่าการคุกคามต่อสันติภาพ รวมทังเพื่อปราบปรามการรุกรานหรือการล่วงละเมิดอื่น ๆ ต่อสันติภาพ ตลอดจนนำมาโดยสันติวิธี และสอดคล้องกับหลักแห่งความยุติธรรมและกฎหมายระหว่างประเทศ ซึ่งการปรับปรุงหรือระงับกรณีพิพาทหรือสถานการณ์ระหว่างประเทศ อันจะนำไปสู่การล่วงละเมิดสันติภาพได้ 2. เพื่อพัฒนาสัมพันธไมตรีระหว่างประชาชาติทั้งปวงโดยยึดการเคารพต่อหลักการ แห่งสิทธิเท่าเทียมกัน และการกำหนดเจตจำนงของตนเองแห่งประชาชนทั้งปวงเป็นมูลฐานและจะได้ดำเนิน มาตรการอันเหมาะสมอย่างอื่น เพื่อเป็นกำลังแก่สันติภาพสากล 3. เพื่อทำการร่วมมือระหว่างประเทศ ในอันที่จะแก้ปัญหาระหว่างประเทศในทางเศรษฐกิจ การสังคม วัฒนธรรม และมนุษยธรรม รวมทั้งการส่งเสริมสนับสนุนการเคารพสิทธิมนุษยชนและอิสรภาพ อันเป็นหลักมูลฐานสำหรับทุก ๆ คนโดยปราศจากความแตกต่างด้านเชื้อชาติ เพศ ภาษา หรือศาสนา 4. เพื่อเป็นศูนย์กลางและประสานการดำเนินงานของประชาชาติทั้งปวงในอันที่จะ บรรลุจุดหมายปลายทางเหล่านี้ร่วมกันด้วยความกลมกลืน"ดังนั้น เมื่อวันที่ 10 ธันวาคม ค.ศ. 1948 สมัชชาแห่งสหประชาชาติจึงได้ลงข้อมติรับรองปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน ซึ่งนับเป็นครั้งแรกในประวัติศาสตร์ชุมชนระหว่างประเทศ ที่ได้ยอมรับผิดชอบที่จะให้ความคุ้มครอง และเคารพปฏิบัติตามสิทธิมนุษยชนปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน ประกอบด้วยข้อความรวม 30 มาตรา กล่าวถึง1. สิทธิของพลเมืองทุกคนที่จะมีเสรีภาพ และความเสมอภาค รวมทั้งสิทธิทางการเมือง2. สิทธิทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม มาตรา 1 และ 2 เป็นมาตราที่กล่าวถึงหลักทั่วไป เช่น มนุษย์ปุถุชนทั้งหลายต่างเกิดมาพร้อมกับ อิสรภาพ และทรงไว้ซึ่งศักดิ์ศรีและสิทธิเท่าเทียมกัน ดังนั้น ทุกคนย่อมมีสิทธิและอิสรภาพตามที่ระบุในปฏิญญาสากล โดยไม่คำนึงถึงความแตกต่างใด ๆ เชื้อชาติ เพศ ภาษา ศาสนา ความเห็นทางการเมือง หรืออื่น ๆ ต้นกำเนิดแห่งชาติหรือสังคม ทรัพย์สินหรือสถานภาพอื่น ๆ ส่วนสิทธิของพลเมืองและสิทธิทางการเมืองนั้น ได้รับการรับรองอยู่ในมาตร 3 ถึง 21 ของปฏิญญาสากล เช่น รับรองว่าทุกคนมีสิทธิที่จะมีชีวิตอยู่ มีเสรีภาพและความมั่นคงปลอดภัย มีอิสรภาพจากความเป็นทาสหรือตกเป็นทาสรับใช้ มีเสรีภาพจากการถูกทรมาน หรือการถูกลงโทษอย่างโหดร้าย สิทธิที่จะได้รับการรับรองเป็นบุคคลภายใต้กฎหมาย ได้รับความคุ้มครองเท่าเทียมกันภายใต้กฎหมาย มีเสรีภาพจากการถูกจับกุม กักขัง หรือถูกเนรเทศโดยพลการ มีสิทธิที่จะเคลื่อนย้ายไปไหนมาไหนได้ สิทธิที่จะมีสัญชาติ รวมทั้งสิทธิที่จะแต่งงานและมีครอบครัว เป็นต้นส่วนมาตรา 22 ถึง 27 กล่าวถึงสิทธิทางเศรษฐกิจ ทางสังคม และทางวัฒนธรรม เช่น มีสิทธิที่จะอยู่ภายใต้การประกันสังคม สิทธิที่จะทำงาน สิทธิที่จะพักผ่อนและมีเวลาว่าง สิทธิที่จะมีมาตรฐานการครองชีพสูงพอที่จะให้มีสุขภาพอนามัย และความเป็นอยู่ที่ดี สิทธิที่จะได้รับการศึกษาและมีส่วนร่วมในชีวิตความเป็นอยู่ตามวัฒนธรรมของ ชุมชน มาตรา 28 ถึง 30 กล่าวถึงการรับรองว่า ทุกคนมีสิทธิที่จะมีขีวิตอยู่ท่ามกลางความสงบเรียบร้อยของสังคมและระหว่าง ประเทศ และขณะเดียวกันได้เน้นว่า ทุกคนต้องมีหน้าที่และความรับผิดชอบต่อชุมชนด้วยสมัชชาสหประชาชาติได้ประกาศ ให้ถือปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชนนี้ เป็นมาตรฐานร่วมกันที่ทุกประชาชาติจะต้องปฏิบัติตามให้ได้ และเรียกร้องให้รัฐสมาชิกของสหประชาชาติช่วยกันส่งเสริมรับรองเคารพสิทธิและ เสรีภาพตามที่ปรากฎในปฏิญญาสากลโดยทั่วกัน โดยเล็งเห็นความสำคัญในเรื่องสิทธิมนุษยชนนี้ สมัชชาสหประชาชาติจึงลงมติเมื่อวันที่ 4 ธันวาคม ค.ศ. 1950 ให้ถือวันที่ 10 ธันวาคมของทุกปี เป็นวันสิทธิมนุษยชนทั่วโลก [การทูต] |
Afferent Activity | กระตุ้นแอ็ฟเฟอเรนท์แอ็คติววิตี [การแพทย์] |
Alkyl Substitution | ซับสติวชันหมู่อัลคิล [การแพทย์] |
Allosteric Enzymes, Multivalent | เอ็นซัยม์อัลโลสเตอริกมัลติวาเลนต์ [การแพทย์] |
Antivenins | เซรุ่มแก้พิษงู, แอนติวีนิน [การแพทย์] |
Aromatic Acid Substitution | ซัปสติติวชันในกรดอะโรมาติค [การแพทย์] |
Aryl Substitution | ซับสติติวชันหมู่แอริล [การแพทย์] |
Conjunctiva | คอนจังไตว่า, เปลือกตาด้านใน, เยื่อบุตา, เยื่อตาขาว, เยื่อตาขาว, บริเวณตาขาว, บริเวณเยื่อตาขาว, เยื่อตาขาว, เยื่อนัยน์ตา, เยื่อบุนัยน์ตา, เยื่อตา, เยื่อบุลูกตา, คอนจังติวา, เยื่อบุนัยน์ตา, เยื่อบุตาขาว [การแพทย์] |
Dementia | จิตเสื่อม, อาการทางระบบประสาทคล้ายคนเสียสติ, อาการทางจิตและประสาท, เสื่อมพิการทางจิต, สมองเสื่อม, เฉื่อยชา, ปัญญาเสื่อม, อาการทางประสาท, สติวิปลาส, ความจำเสื่อม, อาการทางระบบประสาทคล้ายคนเสียสติ, จิตปรวนแปร, หลง, โรคสมองเสื่อม, โรควิกลจริตจิตเสื่อม [การแพทย์] |
Electronegativity | อิเล็กโตรเนกาติวิตี, การดึงดูดอีเล็คตรอน, มีความรักอีเล็กตรอนสูง, อิเล็คโตรเนกาติวิตี, อีเล็กโตรเนกาทิพวิตี, อิเลคโตรเนคกาทิวิตี้ [การแพทย์] |
Electrophilic Aromatic Substitution | อิเลกโตรฟิลิกอะโรมาติกซับสติติวชัน [การแพทย์] |
Elements, Multivalent | ธาตุมัลติวาเลนต์ [การแพทย์] |
Evaluation, Norm Referenced | การประเมินผลโดยเปรียบเทียบกับเกณฑ์ปกติวิสัย [การแพทย์] |
Forensic Sciences | นิติวิทยาศาสตร์ [การแพทย์] |
polar covalent bond | พันธะโคเวเลนต์มีขั้ว, พันธะโคเวเลนต์ระหว่างอะตอมที่มีค่าอิเล็กโตรเนกาติวิตีไม่เท่ากัน จึงทำให้เกิดอำนาจไฟฟ้าลบปรากฏอยู่ด้านอะตอมที่มีค่าอิเล็กโตรเนกาติวิตีสูงกว่า และอำนาจไฟฟ้าบวกปรากฏอยู่ด้านอะตอมที่มีค่าอิเล็กโทรเนกาติวิตีต่ำกว่า [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
electronegativity | อิเล็กโทรเนกาติวิตี, ความสามารถในการดึงดูดอิเล็กตรอนของธาตุต่าง ๆ ในโมเลกุลของสารประกอบที่ยึดกันด้วยพันธะโคเวเลนต์ [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
hydrogen bond | พันธะไฮโดรเจน, แรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลที่เกิดจากอะตอมไฮโดรเจนกับอะตอมของธาตุที่มีขนาดเล็กและมีค่าอิเล็กโทรเนกาติวิตีสูง เช่น F Cl N [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
anomalistic | (อะนอม' มะลิสทิค) adj. ซึ่งผิดปกติวิปริต, ไม่เป็นไปตามกฎเกณฑ์, ผิดหลัก, ผิดที่ |
ansi | (แอนซี) ย่อมาจาก American National Standards Institute ซึ่งราชบัณฑิตสถานบัญญัติว่า "สถาบันมาตรฐานแห่งชาติของสหรัฐอเมริกา" เป็นสถาบันเอกชน ที่จัดตั้งขึ้นเพื่อให้ทำหน้าที่กำหนดและควบคุมมาตรฐานของอุตสาหกรรมประเภทต่าง ๆ รวมทั้งอุตสาหกรรมคอมพิวเตอร์ โดยไม่หวังผลกำไรใด ๆ ทั้งสิ้นดู ANSI C, ANSI character set, ANSI graphics |
clan | (แคลน) n. เผ่า, เผ่าพันธุ์, วงศ์, วงศ์ตะกูล, ชาติวงศ์, ครอบครัว, กลุ่มคน, พวก, พ้อง |
ethnology | (เอธนอล'โลจี) n. ชาติวงศ์วิทยา, ชาติพันธุ์วิทยา, ชนชาติวิทยา., See also: ethnologic adj. ดูethnology ethnological adj. ดูethnology ethnologist n. ดูethnology |
gens | (เจนซฺ) n. ชาติวงศ์, ครอบครัวหมู่คน -pl. gentes |
ideology | (ไอดิออล'ละจี) n. มโนคติวิทยา, ความคิดที่เป็นไปไม่ได้, ระบบความนึกคิด |
if | (อิฟ) conj. ถ้า, ถ้าหมก, เผื่อ, สมมุติว่า, หาก n. ความไม่แน่นอน, ข้อสมมุต |
insanity | (อินแซน'นิที) n. ความมีสติที่ไม่ปกติ, ภาวะสติวิปลาส, ความวิกลจริต, Syn. mania |
micro | ไมโครหมายถึง คำที่ใช้นำหน้าคำอื่น มีค่าเท่ากับ 1 /ล้าน เช่น microsecond หรือ ไมโครวินาที ก็เท่ากับ 1 /ล้านวินาที (10 -6) คำ "micro" นั้นแปลแต่เพียงว่า ขนาดเล็กจิ๋ว เช่น microproces sor ราชบัณฑิตยสถานบัญญัติว่า ตัวประมวลแบบจุลภาค เมื่อนำมาใช้กับคอมพิวเตอร์ที่เรียกว่า microcomputer ก็หมายถึงคอมพิวเตอร์ขนาดเล็ก หรือที่บางทีเรียกว่า คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล (personal computer) หรือพีซี |
norm | (นอร์ม) n. มาตรฐาน, รูปแบบ, แบบแผน, ค่าเฉลี่ย, มาตรฐานการ ศึกษา, ปกติวิสัย |
normal | (นอร์'เมิล) adj. ปกติ, ธรรมดา, โดยธรรมชาติ, เป็นประจำ, เป็นมาตรฐาน, มีจิตปกติ, เป็นมุมฉาก, ตั้งฉาก, ซึ่งปราศจากการติดเชื้อ. n. มาตรฐาน, ปกติวิสัย, รูปแบบธรรมดา, ค่าเฉลี่ย, เส้นตั้งฉาก., See also: normality n., Syn. usual |
normalcy | (นอร์'เมิลซี) n. ความปกติ, ปกติวิสัย |
yogi | (โย'กี) n. โยคี, ผู้ปฏิบัติวิธีโยคะ (ดูYoga) pl. yogis, Syn. yogin |
yogini | (โย'กะนี) n. หญิงที่ปฏิบัติวิธีโยคะ |