60 ผลลัพธ์ สำหรับ *ทางใน*
หรือค้นหา: ทางใน, -ทางใน-

NECTEC Lexitron-2 Dictionary (TH-EN)
ทางใน(n) meditation, Thai Definition: การหยั่งรู้ด้วยพลังจิต, โดยปริยายหมายถึงการนึกเดาเอาเอง
นั่งทางใน(v) sit in meditation, Syn. ดูทางใน, Example: เจ้าแม่กำลังนั่งทางในโดยมีลูกศิษย์รออยู่เงียบๆ, Thai Definition: หยั่งรู้ด้วยพลังจิต

พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔
ทางในน. การหยั่งรู้ด้วยพลังจิต, โดยปริยายหมายถึงการนึกเดาเอาเอง.
นั่งทางในก. นั่งเข้าสมาธิเพื่อหยั่งรู้ด้วยพลังจิต.
จำหล่อน. เครื่องกีดกั้นขวางทางในสมัยโบราณ ปักเสาสูงราว ๒ ศอก มีไม้เสาทับหลัง ขวางถนนเป็น ๒ แนวเยื้องไม่ตรงกัน ปลายต่อปลายเกินกันทั้ง ๒ ข้าง, จังหล่อ จั้นหล่อ จำหลอ หรือ ผนบบ้านหล่อ ก็เรียก.
ทาง ๑แนว เช่น เดินทางใน
ผังเมืองน. แผนผัง นโยบาย และโครงการที่ใช้เป็นแนวทางในการสร้างหรือพัฒนาเมืองหรือส่วนของเมืองในด้านต่าง ๆ เช่น สุขลักษณะ ความสะดวกสบาย ความสวยงาม ความปลอดภัยของประชาชน.
พาร์เซกน. หน่วยที่ใช้วัดระยะทางในจักรวาล ๑ พาร์เซก มีค่าเท่ากับระยะทาง ๒๐๖, ๒๖๕ เท่าของ ๑ หน่วยดาราศาสตร์ หรือประมาณ ๓.๒๖ ปีแสง หรือประมาณ ๓.๐๘๔ x ๑๐๑๖ เมตร.
ยานอวกาศน. ยานที่ส่งขึ้นไปเดินทางในอวกาศ.
ยืนยันก. พูดคงคำโดยแน่นแฟ้น, พูดรับว่ารู้เห็นหรือทำเป็นต้นโดยแน่นอน, เช่น เขายืนยันว่าเขาเห็นขโมยแน่, ยํ้าหรือแจ้งความจำนงโดยไม่เปลี่ยนแปลง เช่น เขายืนยันการเดินทางในเที่ยวหน้า, ใช้ว่า ยัน คำเดียวก็มี.
ลูกหาบน. ลูกจ้างสำหรับหาบหามสัมภาระเดินทางในที่ทุรกันดาร.
วางผังเมืองก. ควบคุมและกำหนดแนวทางในการพัฒนาเมืองและสภาพแวดล้อม โดยคำนึงถึงความสุข ความสะดวกสบาย ความปลอดภัย ความประหยัด และความสวยงามของชุมชนเป็นส่วนรวม.
วิตถารนอกแบบ, นอกทาง, (เกินวิสัยปรกติ) เช่น พวกเด็ก ๆ ชอบเล่นวิตถาร เอาน้ำสกปรกผสมแป้งสาดเข้าไปในรถประจำทางในวันสงกรานต์.
หน่วยดาราศาสตร์น. หน่วยที่ใช้วัดระยะทางในระบบสุริยะ ๑ หน่วยดาราศาสตร์ มีค่าเท่ากับ ระยะทางเฉลี่ยระหว่างจุดศูนย์กลางของโลกกับจุดศูนย์กลางของดวงอาทิตย์ คือ ประมาณ ๑๔๙.๖ x ๑๐๙ เมตร หรือประมาณ ๙๒.๙ ล้านไมล์.

ศัพท์บัญญัติราชบัณฑิตยสถาน
chiminageค่าธรรมเนียมผ่านทางในป่า (ก. เก่าอังกฤษ) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]

คลังศัพท์ไทย (สวทช.)
Space flightการเดินทางในอวกาศ [TU Subject Heading]
ASEAN Minus Xแนวทางในการขับเคลื่อนความร่วมมืออาเซียน, เป็นแนวทางในการขับเคลื่อนความร่วมมืออาเซียนที่มีความ ยืดหยุ่นซึ่งเปิดโอกาสให้สามารถริเริ่มความร่วมมือทางเศรษฐกิจได้โดยไม่ต้อง รอให้ทุกประเทศสมาชิกอาเซียนเข้าร่วมพร้อมกัน [การทูต]
Bangkok Processเป็นการประชุมอย่างไม่เป็นทางการในระดับรัฐมนตรี เพื่อแลกเปลี่ยน ข้อคิดเห็นระหว่างกันอย่างตรงไปตรงมาและสร้างสรรค์เกี่ยวกับแนวทางในการสนับ สนุนกระบวนการสร้างความปรองดองภายในชาติและการพัฒนาประชาธิปไตยในพม่าตาม ?Roadmap towards Democracy in Myanmar? เดิมเรียกว่า Forum on International Support for National Reconciliation in Myanmar ประเทศไทยได้เป็นเจ้าภาพจัดการประชุม Bangkok Process ครั้งแรกเมื่อ 15 ธันวาคม 2546 ที่กระทรวงการต่างประเทศ โดยมีรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศหรือผู้แทนพิเศษของรัฐมนตรีว่าการ กระทรวงการต่างประเทศจาก 12 ประเทศ ได้แก่ ออสเตรเลีย ออสเตรีย จีน ฝรั่งเศส เยอรมนี อินเดีย อินโดนีเซีย อิตาลี ญี่ปุ่น พม่า สิงคโปร์ และไทย รวมทั้งนาย Razali Ismail เป็นผู้แทนพิเศษของเลขาธิการสหประชาชาติว่าด้วยพม่าเข้าร่วม [การทูต]
Departure of Diplomatic Agentsการออกไปจากรัฐผู้รับของเจ้าหน้าที่ทางการทูต ข้อ 44 ของอนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางการทูต ได้บัญญัติได้ว่า ?แม้ในกรณีการขัดกันด้วยอากร รัฐผู้รับต้องอำนวยความสะดวก เพื่อให้บุคคลซึ่งอุปโภคเอกสิทธิ์และความคุ้มกัน นอกจากคนชาติของรัฐผู้รับและคนในครอบครัวของบุคคลเช่นว่านี้ โดยไม่คำนึงถึงสัญชาติของบุคคลเหล่านั้น ออกไปในขณะที่เร็วที่สุดที่จะเป็นไปได้ ในกรณีที่จำเป็นโดยเฉพาะ รัฐผู้รับต้องจัดพาหนะเดินทางในการขนส่งสำหรับตัวบุคคลเหล่านั้น และทรัพย์สินของบุคคลเหล่านั้นให้ด้วย? [การทูต]
Freedom of Movement of Diplomatic Agentsเสรีภาพในการเคลื่อนย้ายและการเดินทางของผู้แทน ทางการทูต โดยปกติ รัฐผู้รับย่อมอนุญาตโดยเสรีแก่ผู้แทนทางการทูต ที่จะเคลื่อนย้ายและเดินทางไปไหนมาไหนได้ทั่วประเทศ แต่ระหว่างสงครามเย็นที่ผ่านมา ประเทศสหรัฐอเมริกาได้ตั้งข้อจำกัดการเดินทางแก่ผู้แทนทางการทูตของกลุ่ม ประเทศคอมมิวนิสต์บางแห่ง ได้แก่ สหภาพโซเวียต บัลแกเรีย เชคโกสโลวาเกีย ฮังการี รูเมเนีย และโปแลนด์ นัยว่าสหรัฐฯ ได้กำหนดเขตแขวงในดินแดนของตน 355 แห่ง หรือประมาณร้อยละ 11 ของพื้นที่ทั้งหมด เป็นเขตห้ามเข้าสำหรับผู้แทนทางการทูตของประเทศเหล่านั้นในทำนองเดียวกัน กลุ่มประเทศคอมมิวนิสต์ดังกล่าวก็ได้ตั้งข้อจำกัดการเดินทางแก่ผู้แทนทางการ ทูตของสหรัฐฯ เช่นกัน สำหรับเสรีภาพการเคลื่อนย้ายนี้ อนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางการทูต ได้บัญญัติในข้อ 26 ว่า?ภายในบังคับของกฎหมาย และข้อบังคับของรัฐผู้รับเกี่ยวกับการเข้าไปในเขตหวงห้ามหรือวางระเบียบไว้ โดยเหตุผลของความมั่นคงแห่งชาติ ให้รัฐผู้รับประกันแก่สมาชิกทั้งมวลของคณะเกี่ยวกับเสรีภาพในการเคลื่อนไหว และการเดินทางในอาณาเขตของตน? [การทูต]
Freedom of Movement of Member of Consular Postเสรีภาพในการเคลื่อนไหวของบุคคลในสถานที่ทำการทาง กงสุล เรื่องนี้ อนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางกงสุล ได้บัญญัติไว้ในข้อ 34 ว่า?ภายในบังคับแห่งกฎหมาย และข้อบังคับของรัฐผู้รับเกี่ยวกับการเข้าไปในเขตซึ่งเป็นที่หวงห้าม หรือที่ได้กำหนดระเบียบไว้ เพราะเหตุผลในทางความมั่นคงแห่งชาติ ให้รัฐผู้รับประกันเสรีภาพในการเคลื่อนไหว และการเดินทางในอาณาเขตของตน แก่บุคคลทั้งปวงในสถานที่ทำการทางกงสุล? [การทูต]
Gorbachev doctrineนโยบายหลักของกอร์บาชอฟ เป็นศัพท์ที่สื่อมวลชนของประเทศฝ่ายตะวันตกบัญญัติขึ้น ในตอนที่กำลังมีการริเริ่มใหม่ๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง เกี่ยวกับนโยบายต่างประเทศของโซเวียตในด้านความร่วมมือระหว่างประเทศอภิมหา อำนาจตั้งแต่ ค.ศ. 1985 เป็นต้นมา ภายใต้การนำของ นายมิคาอิล กอร์บาชอฟ ในระยะนั้น โซเวียตเริ่มเปลี่ยนทิศทางของสังคมภายในประเทศใหม่ โดยยึดหลักกลาสนอสต์ (Glasnost) ซึ่งหมายความว่า การเปิดกว้าง รวมทั้งหลักเปเรสตรอยก้า (Perestroika) อันหมายถึงการปรับเปลี่ยนโครงสร้างใหม่ในช่วงปี ค.ศ. 1985 ถึง 1986 บุคคลสำคัญชั้นนำของโซเวียตผู้มีอำนาจในการตัดสินใจนี้ ได้เล็งเห็นและสรุปว่าการที่ประเทศพยายามจะรักษาสถานภาพประเทศอภิมหาอำนาจ และครองความเป็นใหญ่ในแง่อุดมคติทางการเมืองของตนนั้นจำต้องแบกภาระทาง เศรษฐกิจอย่างหนักหน่วง แต่ประโยชน์ที่จะได้จริง ๆ นั้นกลับมีเพียงเล็กน้อย เขาเห็นว่า แม้ในสมัยเบรสเนฟ ซึ่งได้เห็นความพยายามอันล้มเหลงโดยสิ้นเชิงของสหรัฐฯ ในสงครามเวียดนาม การปฏิวัติทางสังคมนิยมที่เกิดขึ้นในแองโกล่า โมซัมบิค และในประเทศเอธิโอเปีย รวมทั้งกระแสการปฏิวัติทวีความรุนแรงยิ่งขึ้นในแถบประเทศละตินอเมริกา ก็มิได้ทำให้สหภาพโซเวียตได้รับประโยชน์ หรือได้เปรียบอย่างเห็นทันตาแต่ประการใด แต่กลับกลายเป็นภาระหนักอย่างยิ่งเสียอีก แองโกล่ากับโมแซมบิคกลายสภาพเป็นลูกหนี้อย่างรวดเร็ว เอธิโอเปียต้องประสบกับภาวะขาดแคลนอาหารอย่างสาหัส และการที่โซเวียตใช้กำลังทหารเข้ารุกรานประเทศอัฟกานิสถานเมื่อปี ค.ศ. 1979 ทำให้ระบบการทหารและเศรษฐกิจของโซเวียตต้องเครียดหนักยิ่งขึ้น และการเกิดวิกฤตด้านพลังงาน (Energy) ในยุโรปภาคตะวันออกระหว่างปี ค.ศ. 1984-1985 กลับเป็นการสะสมปัญหาที่ยุ่งยากมากขึ้นไปอีก ขณะเดียวกันโซเวียตตกอยู่ในฐานะต้องพึ่งพาอาศัยประเทศภาคตะวันตกมากขึ้นทุก ขณะ ทั้งในด้านวิชาการทางเทคโนโลยี และในทางโภคภัณฑ์ธัญญาหารที่จำเป็นแก่การดำรงชีวิตของพลเมืองของตน ยิ่งไปกว่านั้น การที่เกิดการแข่งขันกันใหม่ด้านอาวุธยุทโธปกรณ์กับสหรัฐอเมริกา โดยเฉพาะแผนยุทธการของสหรัฐฯ ที่เรียกว่า SDI (U.S. Strategic Defense Initiative) ทำให้ต้องแบกภาระอันหนักอึ้งทางการเงินด้วยเหตุนี้โซเวียตจึงต้องทำการ ประเมินเป้าหมายและทิศทางการป้องกันประเทศใหม่ นโยบายหลักของกอร์บาซอฟนี่เองทำให้โซเวียตต้องหันมาญาติดี รวมถึงทำความตกลงกับสหรัฐฯ ในรูปสนธิสัญญาว่าด้วยกำลังนิวเคลียร์ในรัศมีปานกลาง (Intermediate Range Force หรือ INF) ซึ่งได้ลงนามกันในกรุงวอชิงตันเมื่อปี ค.ศ. 1987เหตุการณ์นี้ถือกันว่าเป็นมาตรการที่มีความสำคัญที่สุดในด้านการควบคุม ยุทโธปกรณ์ตั้งแต่เริ่มสงครามเย็น (Cold War) ในปี ค.ศ. 1946 เป็นต้นมา และเริ่มมีผลกระทบต่อทิศทางในการที่โซเวียตเข้าไปพัวพันกับประเทศ อัฟกานิสถาน แอฟริกาภาคใต้ ภาคตะวันออกกลาง และอาณาเขตอ่าวเปอร์เซีย กอร์บาชอฟถึงกับประกาศยอมรับว่า การรุกรานประเทศอัฟกานิสถานเป็นการกระทำที่ผิดพลาด พร้อมทั้งถอนกองกำลังของตนออกไปจากอัฟกานิสถานเมื่อปี ค.ศ. 1989 อนึ่ง เชื่อกันว่าการที่ต้องถอนทหารคิวบาออกไปจากแองโกล่า ก็เป็นเพราะผลกระทบจากนโยบายหลักของกอร์บาชอฟ ซึ่งได้เปลี่ยนท่าทีและบทบาทใหม่ของโซเวียตในภูมิภาคตอนใต้ของแอฟริกานั้น เอง ส่วนในภูมิภาคตะวันออกกลาง นโยบายหลักของกอร์บาชอฟได้เป็นผลให้ นายเอ็ดวาร์ด ชวาดนาเซ่ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ซึ่งเป็นผู้ที่ได้รับการแต่งตั้งจากนายกอร์บาชอฟ เริ่มแสดงสันติภาพใหม่ๆ เช่น ทำให้โซเวียตกลับไปรื้อฟื้นสัมพันธภาพทางการทูตกับประเทศอิสราเอล ทำนองเดียวกันในเขตอ่าวเปอร์เซีย โซเวียตก็พยายามคืนดีด้านการทูตกับประเทศอิหร่าน เป็นต้นการเปลี่ยนทิศทางใหม่ทั้งหลายนี้ ถือกันว่ายังผลให้มีการเปลี่ยนแปลงนโยบายภายในประเทศทั้งด้านเศรษฐกิจและ ด้านสังคมของโซเวียต อันสืบเนื่องมาจากนโยบาย Glasnost and Perestroika ที่กล่าวมาข้างต้นนั่นเองในที่สุด เหตุการณ์ทั้งหลายเหล่านี้ก็ได้นำไปสู่การล่มสลายอย่างกะทันหันของสหภาพ โซเวียตเมื่อปี ค.ศ. 1991 พร้อมกันนี้ โซเวียตเริ่มพยายามปรับปรุงเปลี่ยนแปลง รวมทั้งปรับโครงสร้างทางเศรษฐกิจการเมืองของประเทศให้ทันสมัยอย่างขนานใหญ่ นำเอาทรัพยากรที่ใช้ในด้านการทหารกลับไปใช้ในด้านพลเรือน พฤติกรรมเหล่านี้ทำให้เกิดจิตใจ (Spirit) ของการเป็นมิตรไมตรีต่อกัน (Détente) ขึ้นใหม่ในวงการการเมืองโลก เห็นได้จากสงครามอ่าวเปอร์เซีย ซึ่งโซเวียตไม่เล่นด้วยกับอิรัก และหันมาสนับสนุนอย่างไม่ออกหน้ากับนโยบายของประเทศฝ่ายสัมพันธมิตรนัก วิเคราะห์เหตุการณ์ต่างประเทศหลายคนเห็นพ้องต้องกันว่า การที่เกิดการผ่อนคลาย และแสวงความเป็นอิสระในยุโรปภาคตะวันออกอย่างกะทันหันนั้น เป็นผลจากนโยบายหลักของกอร์บาชอฟโดยตรง คือเลิกใช้นโยบายของเบรสเนฟที่ต้องการให้สหภาพโซเวียตเข้าแทรกแซงอย่างจริง จังในกิจการภายในของกลุ่มประเทศยุโรปตะวันออก กระนั้นก็ยังมีความรู้สึกห่วงใยกันไม่น้อยว่า อนาคตทางการเมืองของกอร์บาชอฟจะไปได้ไกลสักแค่ไหน รวมทั้งความผูกพันเป็นลูกโซ่ภายในสหภาพโซเวียตเอง ซึ่งยังมีพวกคอมมิวนิสต์หัวรุนแรงหลงเหลืออยู่ภายในประเทศอีกไม่น้อย เพราะแต่เดิม คณะพรรคคอมมิวนิสต์ในสหภาพโซเวียตนั้น เป็นเสมือนจุดรวมที่ทำให้คนสัญชาติต่าง ๆ กว่า 100 สัญชาติภายในสหภาพ ได้รวมกันติดภายในประเทศที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในโลก คือมีพื้นที่ประมาณ 1 ใน 6 ส่วนของพื้นที่โลก และมีพลเมืองทั้งสิ้นประมาณ 280 ล้านคนจึงสังเกตได้ไม่ยากว่า หลังจากสหภาพโซเวียตล่มสลายไปแล้ว พวกหัวเก่าและพวกที่มีความรู้สึกชาตินิยมแรง รวมทั้งพลเมืองเผ่าพันธุ์ต่างๆ เกิดความรู้สึกไม่สงบ เพราะมีการแก่งแย่งแข่งกัน บังเกิดความไม่พอใจกับภาวะเศรษฐกิจที่ตนเองต้องเผชิญอยู่ จึงเป็นสาเหตุที่ทำให้จักรวรรดิของโซเวียตต้องแตกออกเป็นส่วน ๆ เช่น มีสาธารณรัฐที่มีอำนาจ ?อัตตาธิปไตย? (Autonomous) หลายแห่ง ต้องการมีความสัมพันธ์ในรูปแบบใหม่กับรัสเซีย เช่น สาธารณรัฐยูเกรน ไบโลรัสเซีย มอลดาเวีย อาร์เมเนีย และอุสเบคิสถาน เป็นต้น แต่ก็เป็นการรวมกันอย่างหลวม ๆ มากกว่า และอธิปไตยที่เป็นอยู่ขณะนี้ดูจะเป็นอธิปไตยที่มีขอบเขตจำกัดมากกว่าเช่นกัน โดยเฉพาะสาธารณรัฐมุสลิมในสหภาพโซเวียตเดิม ซึ่งมีพลเมืองรวมกันเกือบ 50 ล้านคน ก็กำลังเป็นปัญหาต่อเชื้อชาติสลาฟ และการที่พวกมุสลิมที่เคร่งครัดต่อหลักการเดิม (Fundamentalism) ได้เปิดประตูไปมีความสัมพันธ์อันดีกับประะเทศอิหร่านและตุรกีจึงทำให้มีข้อ สงสัยและครุ่นคิดกันว่า เมื่อสหภาพโซเวียตแตกสลายออกเป็นเสี่ยง ๆ ดังนี้แล้ว นโยบายหลักของกอร์บาชอฟจะมีทางอยู่รอดต่อไปหรือไม่ ซึ่งเป็นเรื่องที่ถกเถียงและอภิปรายกันอยู่พักใหญ่และแล้ว เมื่อวันที่ 19 สิงหาคม ค.ศ. 1991 ก็ได้เกิดความพยายามที่จะถอยหลังเข้าคลอง คือกลับนโยบายผ่อนเสรีของ Glasnost และ Perestroika ทั้งภายในประเทศและภายนอกประเทศโดยมีผุ้ที่ไม่พอใจได้พยายามจะก่อรัฐประหาร ขึ้นต่อรัฐบาลของนายกอร์บาชอฟ แม้การก่อรัฐประหารซึ่งกินเวลาอยู่เพียงไม่กี่วันจะไม่ประสบผลสำเร็จ แต่เหตุการณ์นี้ก่อให้เกิดผลสะท้อนลึกซึ้งมาก คือเป็นการแสดงว่า อำนาจของรัฐบาลกลางย้ายจากศูนย์กลางไปอยู่ตามเขตรอบนอกของประเทศ คือสาธารณรัฐต่างๆ ซึ่งก็ต้องประสบกับปัญหานานัปการ จากการที่ประเทศเป็นภาคีอยู่กับสนธิสัญญาระหว่างประเทศต่างๆ โดยเฉพาะความตกลงเกี่ยวกับการควบคุมอาวุธยุทโธปกรณ์ ซึ่งสหภาพโซเวียตเดิมได้ลงนามไว้หลายฉบับผู้นำของสาธารณรัฐที่ใหญ่ที่สุดคือ นายบอริส เยลท์ซินได้ประกาศว่า สหพันธ์รัฐรัสเซียยังถือว่า พรมแดนที่เป็นอยู่ขณะนี้ย่อมเปลี่ยนแปลงแก้ไขได้ ไม่ใช่เป็นสิ่งที่จะแก้ไขเสียมิได้และในสภาพการณ์ด้านต่างประทเศที่เป็นอยู่ ในขณะนี้ การที่โซเวียตหมดสภาพเป็นประเทศอภิมหาอำนาจ ทำให้โลกกลับต้องประสบปัญหายากลำบากหลายอย่าง โดยเฉพาะอย่างยิ่งปัญหาเศรษฐกิจระหว่างสาธารณรัฐต่างๆ ที่เคยสังกัดอยู่ในสหภาพโซเวียตเดิม จึงเห็นได้ชัดว่า สหภาพโซเวียตเดิมได้ถูกแทนที่โดยการรวมตัวกันระหว่างสาธารณรัฐต่างๆ อย่างหลวมๆ ในขณะนี้ คล้ายกับการรวมตัวกันระหว่างสาธารณรัฐภายในรูปเครือจักรภพหรือภายในรูป สมาพันธรัฐมากกว่า และนโยบายหลักของกอร์บาชอฟก็ได้ทำให้สหภาพโซเวียตหมดสภาพความเป็นตัวตนใน เชิงภูมิรัฐศาสตร์ (Geopolitics) [การทูต]
Strategic Plan of Action on Environmentแผนปฏิบัติการกลยุทธ์ด้านสิ่งแวดล้อม เป็นแนวทางในการดำเนินการด้านสิ่งแวดล้อมของอาเซียน [การทูต]
Tokyo International Conference on African Developmentการประชุมระหว่างประเทศเพื่อการพัฒนาแอฟริกา ณ กรุงโตเกียว " เป็นการริเริ่มของรัฐบาลญี่ปุ่น ร่วมกับองค์การสหประชาชาติและ องค์การ Global Coalition for Africa เพื่อสนับสนุนการพัฒนาใน ภูมิภาคแอฟริกา ในรูปของความร่วมมือระหว่างภูมิภาคเอเชียกับ แอฟริกาอย่างเป็นรูปธรรมและมีเอกภาพ โดยเป็นการประชุมในระดับรัฐมนตรี และมีการประชุมแล้ว 2 ครั้ง โดยครั้งแรก (TICAD I) มีขึ้นระหว่างวันที่ 5-6 ตุลาคม 2536 โดยมีการรับรองเอกสารปฏิญญา กรุงโตเกียว (Tokyo Declaration) ซึ่งเป็นสัญญาประชาคมที่ประเทศต่าง ๆ จะให้ความช่วยเหลือเพื่อการพัฒนาแก่แอฟริกา และครั้งที่ 2 (TICAD II) มีขึ้นระหว่างวันที่ 19-21 ตุลาคม 2541 โดยมีการรับรองแผนปฏิบัติการกรุงโตเกียว (Tokyo Agenda for Action) ซึ่งเป็น แนวทางในการพัฒนาแอฟริกาในด้านต่าง ๆ ทั้งสังคมและเศรษฐกิจ " [การทูต]
Auditory Pathwaysการได้ยิน, วิถี; การได้ยิน, เส้นทางในสมอง; ทางเดินของเสียง [การแพทย์]
Direction, Futureทิศทางในอนาคต [การแพทย์]
Distance, Horizontalระยะทางในแนวราบ [การแพทย์]
average speedอัตราเร็วเฉลี่ย, อัตราส่วนระหว่างระยะทางในการเคลื่อนที่ต่อเวลาที่ใช้ในการเคลื่อนที่ อัตราเร็วเฉลี่ยเป็นปริมาณสเกลาร์ [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.]
Incistons, Medianผนังหน้าทางในแนวกลางตัว [การแพทย์]

Volubilis Dictionary (TH-EN-FR)
ทางใน[thāng-nai] (n) EN: meditation

NECTEC Lexitron Dictionary EN-TH
aeromedicine(n) วิชาแพทย์ทางอากาศ, See also: การแพทย์ที่เกี่ยวกับโรคหรือความผิดปกติซึ่งเกิดจากการเดินทางในชั้นบรรยากาศของโลก
beacon(n) ไฟนำทางในการเดินเรือ
cross-country(n) การแข่งขัน (เช่น วิ่ง แข่งรถ สกี) ไปตามเส้นทางในชนบทหรือในป่า
excursion(n) กลุ่มคนที่เดินทางในระยะสั้นๆ
excursion(n) การเดินทางในระยะสั้นๆ, Syn. jaunt, outing, trip
flyway(n) เส้นทางในการบินอพยพของนก
There's more than one way to kill a cat(idm) มีทางมากกว่าหนึ่งทางในการทำสิ่งใดสิ่งหนึ่งเสมอ
lose in(phrv) หลงทางใน, See also: หายไปใน
jaunt(vi) เดินทางในระยะสั้น, See also: ท่องเที่ยวในระยะสั้น, Syn. travel, tour
line(n) ทิศทางในการเคลื่อนไหว, Syn. direction, course
seafaring(adj) เกี่ยวกับการเดินเรือทะเล, See also: เกี่ยวกับการขนส่งทางทะเล, เกี่ยวกับการเดินทางในทะเล, Syn. naval, nautical, maritime, ocean-going
seafaring(adj) อาชีพเดินเรือทะเล, See also: อาชีพชาวเรือ, การเดินทางในทะเล, Syn. nautical life
seaway(n) เส้นทางในทะเล, See also: เส้นทางเดินเรือในทะเล, Syn. route
specialize in(phrv) ศึกษาเฉพาะทางในเรื่อง, See also: ศึกษาเป็นพิเศษ, เรียนรู้ลึกหรือละเอียดยิ่งขึ้น
stay on(phrv) ยังเดินทางในทิศทาง, Syn. be on, keep on, remain on
walkabout(n) การเดินทางในป่าของชนเผ่าอะบอริจิ้นในออสเตรเลีย

Hope Dictionary
hop(ฮอพ) { hopped, hopping, hops } vi. กระโดด, รีบเดินทางในระยะสั้น. vt. กระโดดข้าม, ขึ้นรถ, ขึ้นเครื่องบิน n. การกระโดด, การกระโดดขาเดียว, การขึ้นเครื่องบิน, การเดินทางในระยะสั้น, การเต้นรำ, งานเต้นรำ, การกระดอนของลูกบอล, ต้นฮอพ., See also: hops n. ดอกฮอพ ใช้ปรุง
jaunt(จอนทฺ, จานทฺ) { jaunted, jaunting, jaunts } vi., n. (การ) เดินทางในระยะสั้น, ท่องเที่ยวในระยะสั้น., See also: jauntingly adv. ดูjaunt, Syn. tour
light-year(ไลทฺ'เยียร์) n. ปีแสง, ระยะทางที่แสงเดินทางในเวลาหนึ่งปี (lt-yr)
marrow(แม'โร) n. ไขกระดูก, เนื้อเยื่อไขมันที่นิ่มและเป็นทางในโพรงกระดูก, ส่วนในสุด, กำลัง.
motion(โม'เชิน) n. การเคลื่อนที่, อำนาจการเคลื่อนที่หรือเคลื่อนไหว, วิธีการหรือท่าทางในการเดิน, กิริยาท่าทาง, ข้อเสนอเป็นทางการ, การขอร้องต่อศาล, แรงดลใจ, ความโน้มน้าว -Phr. (in motion กำลังเคลื่อนที่) vt. โบกไม้โบกมือหรือให้สัญญาณเคลื่อนที่, See also: motioner n.
seafaring(ซี'แฟริง) adj. เกี่ยวกับชาวเรือ, เกี่ยวกับการเดินเรือ, เกี่ยวกับการเดินทางในท้องทะเล. n. การเดินเรือทะเล, ธุรกิจการเดินเรือทะเล, อาชีพกลาสีเรือ
step(สเทพ) n. ก้าว, จังหวะ, ฝีเท้า, เสียงก้าว, ท่าทางในการก้าว, ตำแหน่ง, ฐานะ, ขั้น, ระดับ, ชั้น, ขั้นบันได, แผ่นเหยียบ, ธรณีประตู, วิธีการ, มาตรการ, ระยะสั้น, ช่วงสั้น, แท่นตั้งเสา, จังหวะเต้นรำ, vi., vt. ก้าว, ก้าวเป็นจังหวะ, เหยียบ, ย่างก้าว, เดินบน, เต้นรำ, ก้าววัด, ตั้งเสาบนแท่น -
track(แทรคฺ) n. ร่องรอยทางเดิน, ทางเดินเท้า, รางรถ, รอยทางรถ, ทางเกวียน, ทางในป่า, รอยเท้า, ลู่วิ่ง, ทางรถไฟ, ช่วงล้อรถ, ร่องรอย, หลักฐาน, วิถีทาง, เส้นทาง, แนวทาง vt., vi. ตามรอย, ตามทาง, คอยตาม, ติดตาม -Phr. (keep track of ติดตามข่าว บันทึก สืบเสาะ) -Phr. (on the track ตรงเป้า
whipsaw(วิพ'ซอ) n. เลื่อยที่ใช้คน2คนเลื่อยในการตัดไม้ตามยาว vt. ตัดด้วยเลื่อยดังกล่าว, หลอกลวง, ทำให้พ่ายแพ้สองทางในขณะเดียวกัน

Longdo Unapproved EN-TH
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
แรด(n, vt) N = บุคคลที่แสดงกริยาท่าทางในเชิงลบ ในเรื่องหรือ/และการกระทำต่อเพศตรงข้าม คำนี้มีความหมายตรงข้ามเรียบร้อย เช่น สมศรีแรดมาก S = สามารถใช้เป็นคำแสลง เพื่อแสดงออกในกริยา เช่น วันนี้เค้าไปแรดมา เห็นว่าได้เสื้อมา 2 ตัว (แรด ในที่นี้มีความหมายว่า ไปซื้อของ), See also: A. เรียบร้อย, Syn. กระซู่

Longdo Unapproved JP-TH
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
補数[ほすう, hosuu] ภาษาไทยมักใช้ทับศัพท์ว่า Complement เป็นศัพท์เฉพาะทางในสายวิชาเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ One Complement 1の補数, Two Complement 2の補数 One Complement คือ จำนวนที่บวกเพิ่มเข้าไปกับค่าค่าหนึ่งแล้วทำให้ได้เป็นค่าสูงสุดของเลขฐานนั้นๆ ในจำนวน digit ที่เท่ากัน เช่น คำถาม: ให้หา One Complement ของ 345 ในระบบเลขฐาน 10 คำตอบ: 345 มี 3 หลัก (digit) ค่าสูงสุดของเลขฐาน 10 ที่มี 3 หลักคือ 999 999-345=654 654 คือ One Complement ของ 345 ในระบบเลขฐาน 10 Two Complement คือ จำนวนน้อยที่สุดที่บวกเพิ่มเข้าไปกับค่าค่าหนึ่งแล้วทำให้จำนวนหลัก (digit) ของผลลัพธ์เพิ่มขึ้น 1 หลัก (digit) โดยปกติ วิธีการหา Two Complement ก็คือ เอา One Complement + 1 เช่น คำถามข้างบน ก็จะได้ Two Complement ของ 345 เป็น 655
配達先[はいたつさき, haitatsusaki] (n) สถานที่ปลายทางในการจัดส่ง
図面[ずめん, zumen] (n) แบบร่างที่เขียนขึ้นโดยมากใช้เพื่อเป็นแนวทางในการผลิตหรือก่อสร้าง

Longdo Approved DE-TH
sich verlaufen(vt) |verlief sich, hat sich verlaufen| เดินหลงทาง เช่น Ich habe mich im Wald verlaufen. ฉันเดินหลงทางในป่า

Time: 0.0348 seconds, cache age: 3.977 (clear)Longdo Dict -- https://dict.longdo.com/