บุคลิก, บุคลิก- | (บุกคะลิก, บุกคะลิกกะ-) ว. จำเพาะคน. |
บุคลิกทาน | น. ทานที่ทายกให้จำเพาะบุคคล, คู่กับ สังฆทาน คือ ทานที่ให้แก่สงฆ์. |
บุคลิกภาพ | น. สภาพนิสัยจำเพาะคน. |
บุคลิกลักษณะ | (บุกคะลิกกะลักสะหฺนะ, บุกคะลิกลักสะหฺนะ) น. ลักษณะจำเพาะตัวของแต่ละคน, บุคลิก ก็ว่า. |
ปาฏิบุคลิก | (-บุกคะลิก) ว. เฉพาะบุคคล, ไม่ทั่วไป. |
โรคจิตเภท | น. กลุ่มอาการของโรคทางจิตที่ทำให้ความคิด การรับรู้ อารมณ์ และบุคลิกภาพผิดปรกติ. |
วัดผล | ก. ทดสอบเพื่อวัดเชาวน์ ผลสัมฤทธิ์ของการเรียนรู้ บุคลิกภาพ เป็นต้น โดยใช้วิธีการแบบใดแบบหนึ่ง เช่น การเรียนรู้ในสาขาวิชาต่าง ๆ จำเป็นจะต้องวัดผลอย่างสม่ำเสมอ. |
สง่า | (สะหฺง่า) ว. มีลักษณะผึ่งผายเป็นที่น่ายำเกรงหรือน่านิยมยกย่อง เช่น ผู้นำจะต้องมีบุคลิกลักษณะสง่า, เป็นที่น่าเกรงขาม เช่น เสือโคร่งมีท่าทางสง่า. |
สะดุดตา | ก. กระทบตาชวนให้มอง เช่น ผู้หญิงคนนี้สวยสะดุดตาจริง ๆ วันนี้เขาใส่เสื้อสีสะดุดตา, ชวนให้สนใจ เช่น เขามีบุคลิกลักษณะเด่นกว่าคนอื่น ๆ เห็นแล้วรู้สึกสะดุดตาทีเดียว, ที่เห็นเด่นชัด เช่น ร้านอาหารร้านนี้ทาสีแดง สะดุดตาแต่ไกล. |
สังฆทาน | น. ทานที่ทายกถวายแก่สงฆ์หรือภิกษุโดยไม่เจาะจงรูปใดรูปหนึ่ง, คู่กับ บุคลิกทาน. |
personality | บุคลิกภาพ [ปรัชญา ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] |
premorbid personality | บุคลิกภาพก่อนป่วย [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
psychopathic personality; personality, antisocial | บุคลิกภาพต่อต้านสังคม [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
personality test | การทดสอบบุคลิกภาพ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
personality, antisocial; personality, psychopathic | บุคลิกภาพต่อต้านสังคม [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
personality, inadequate | บุคลิกภาพพร่อง [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
personality, obsessive-compulsive | บุคลิกภาพย้ำคิดย้ำทำ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
personality, premorbid | บุคลิกภาพก่อนป่วย [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
personality, psychopathic; personality, antisocial | บุคลิกภาพต่อต้านสังคม [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
syndrome, organic personality | กลุ่มอาการบุคลิกภาพเหตุพยาธิสภาพทางกาย [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
organic personality syndrome | กลุ่มอาการบุคลิกภาพเหตุพยาธิสภาพทางกาย [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
obsessive-compulsive personality | บุคลิกภาพย้ำคิดย้ำทำ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
antisocial personality; personality, psychopathic | บุคลิกภาพต่อต้านสังคม [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
character, the | บุคลิกวรรณนา [วรรณกรรม ๖ มี.ค. ๒๕๔๕] |
depersonalisation; depersonalization | บุคลิกวิปลาส [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
depersonalization; depersonalisation | บุคลิกวิปลาส [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
inadequate personality | บุคลิกภาพพร่อง [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
test, personality | การทดสอบบุคลิกภาพ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
Character | บุคลิกลักษณะ [TU Subject Heading] |
Characters and characteristics | บุคลิกลักษณะและเอกลักษณ์ [TU Subject Heading] |
Five-Factor Nonverbal Personality Questionnaire | แบบทดสอบบุคลิกภาพห้าองค์ประกอบโดยไม่ใช้คำพูด [TU Subject Heading] |
Maudsley personality inventory | แบบสำรวจบุคลิกภาพของมอร์ดเลย์ [TU Subject Heading] |
Minnesota Multiphasic Personality Inventory | แบบทดสอบบุคลิกภาพ เอ็มเอ็มพีไอ [TU Subject Heading] |
Myers-Briggs Type Indicator | แบบทดสอบบุคลิกภาพ เอ็มบีทีไอ [TU Subject Heading] |
Personality | บุคลิกภาพ [TU Subject Heading] |
Personality and academic achievement | บุคลิกภาพกับผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษา [TU Subject Heading] |
Personality and culture | บุคลิกภาพกับวัฒนธรรม [TU Subject Heading] |
Personality and emotion | บุคลิกภาพกับอารมณ์ [TU Subject Heading] |
Personality and motivation | บุคลิกภาพกับแรงจูงใจ [TU Subject Heading] |
Personality and occupation | บุคลิกภาพกับอาชีพ [TU Subject Heading] |
Personality and politics | บุคลิกภาพกับการเมือง [TU Subject Heading] |
Personality and situation | บุคลิกภาพกับสถานการณ์ [TU Subject Heading] |
Personality assessment | การประเมินบุคลิกภาพ [TU Subject Heading] |
Personality assessment of teenagers | การประเมินบุคลิกภาพของวัยรุ่น [TU Subject Heading] |
Personality change | การเปลี่ยนแปลงบุคลิกภาพ [TU Subject Heading] |
Personality development | การพัฒนาบุคลิกภาพ [TU Subject Heading] |
Personality disorders | บุคลิกภาพผิดปกติ [TU Subject Heading] |
Personality tests | แบบทดสอบบุคลิกภาพ [TU Subject Heading] |
Resilience (Personality trait) | พลังเข้มแข็งและสร้างสรรค์ (บุคลิกลักษณะ) [TU Subject Heading] |
Sixteen Personality Factor Questionnaire | แบบทดสอบบุคลิกภาพ 16 พีเอฟ [TU Subject Heading] |
Goodwill Representative | ผู้แทนสันถวไมตรี " หมายถึง การแต่งตั้งบุคคลที่มีพื้นฐานความรู้ ความประพฤติ และ บุคลิกที่เหมาะสมในการเป็นผู้แทนของประเทศ ให้ไปเยือนต่างประเทศ เพื่ออัธยาศัยไมตรี หรือผูกมิตรกับอีกประเทศหนึ่ง โดยสามารถปฏิบัติหน้าที่ในฐานะผู้แทนของประเทศได้อย่างมีประสิทธิภาพ " [การทูต] |
The Foreign Office | ในสมัยก่อน เมื่อสังคมนานาชาติมีสมาชิกประเทศอยู่เพียงไม่กี่แห่ง และการเจริญความสัมพันธ์ระหว่างประเทศก็ไม่มีอะไรที่ยุ่งยากซับซ้อน ดังนั้น ประมุขของรัฐหรือหัวหน้าของรัฐบาลจะเป็นผู้บริหารกิจการต่างประเทศด้วยตนเอง แต่มาในปัจจุบันเป็นไปไม่ได้ที่จะกระทำเช่นนี้ ดังนั้นทุกวันนี้ รัฐบาลของประเทศเกือบจะทุกแห่งจะมีสำนักงานในระดับกระทรวงแยกออกต่างหาก เพื่อดำเนินกิจการต่างประเทศโดยเฉพาะสำนักงานนี้จะมีชื่อเรียกแตกต่างกันใน แต่ละประเทศ เช่นเรียกว่า The Ministry of (หรือ for) Foreign Affairs, The Ministry of External Affairs, The Department of State หรือ The Department of Foreign Affairs หรือ Gaimusho เป็นต้น ส่วนหัวหน้าสำนักงานหรือเจ้ากระทรวงนั้น จะเป็นบุคคลในคณะรัฐมนตรี และเรียกชื่อตำแหน่งต่างๆ กัน เช่น The Secretary of Foreign Affairs, The Minister of External Affairs, The Secretary of State หรือ Foreign Minister หรือ Foreign Secretary ตัวรัฐมนตรีนี้จะมีผู้ช่วย ซึ่งบางตำแหน่งเรียกว่า ปลัดกระทรวง (Under-Secretaries), ผู้ช่วยปลัดกระทรวง (Assistant Under-Secretaries) พร้อมด้วยคณะเจ้าหน้าที่หรือข้าราชการที่ได้ผ่านการฝึกอบรมมาแล้วงาน ของกระทรวงการต่างประเทศ โดยทั่วไปมักจะแบ่งออกเป็นสองฝ่าย ฝ่ายแรกเรียกว่าฝ่ายธุรการ (Home Service) ทำหน้าที่บริหารกิจการต่าง ๆ ภายในประเทศ ซึ่งเกี่ยวกันกับกิจการต่างประเทศ รวมทั้งการติดต่อเกี่ยวข้องกับคณะทูตานุทูต และฝ่ายที่สองเรียกว่า Foreign Service เป็นฝ่ายดำเนินงานเกี่ยวกับกิจการต่างประเทศ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศในต่างแดน อันมีสถานทูต สถานกงสุล และสำนักงานอื่น ๆ เป็นตัวแทน ประกอบด้วยข้าราชการฝ่ายการทูตและฝ่ายวิชาการ ซึ่งประจำทำงานในสถานเอกอัครราชทูต สถานกงสุลและสำนักงานระหว่างประเทศอื่น ๆ แต่ประเทศไทยเรายังมิได้แบ่งออกเป็นสองฝ่ายดังกล่าวตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการ กระทรวงการต่างประเทศเป็นตัวกลาง ทำหน้าที่ติดต่อระหว่างประเทศ ส่วนหัวหน้าคณะทูตภายในนครหลวงของแต่ละประเทศจะทำการติดต่อใด ๆ ทั้งหมดกับกระทวงการต่างประเทศของรัฐผู้รับงานภายในกระทรวงการต่างประเทศ โดยทั่วไปจะแบ่งออกเป็นกรม กอง โดยถือตามเขตภูมิศาสตร์ต่าง ๆ เช่น กรมหรือกองการเอเชีย กรมการแอฟริกา กรมการอเมริกัน กรมการยุโรป และอื่น ๆ เป็นต้น นอกจากนั้น ยังมีกรมกองอื่น ๆ ที่ทำหน้าที่ด้านธุรการ และด้านการสื่อสารติดต่อ การประชุม การประสานงานความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจ การคลัง การบริการในต่างประเทศ การสารนิเทศ การกฎหมาย การห้องสมุด การหนังสือเดินทาง การบุคลากร การพิธีการทูต การวิจัย การสนธิสัญญา การตรวจลงตรา (Visa) และการสหประชาชาติในปัจจุบันในหลาย ๆ ประเทศ ผู้ที่สมัครขอรับราชการในกระทรวงการต่างประเทศจะต้องมีคุณวุฒิตามที่กระทรวง กำหนด เช่น จะต้องผ่านการสอบไล่ ทั้งในภาคปากเปล่า และข้อเขียน ตลอดจนจะต้องปรากฏตัวต่อหน้าคณะกรรมการสอบไล่ (Board) ซึ่งจะเป็นฝ่ายให้คะแนนบุคลิกและคุณภาพส่วนตัว แล้วนำคะแนนไปบวกกับคะแนนสอบข้อเขียน ในบางแห่งต้องการให้ผู้สมัครสอบเข้ารับการฝึกอบรม และให้อยู่ในระหว่างการทดลองดูความประพฤติ (Probationary period) อีกด้วย [การทูต] |
Aggressive Personalities | บุคลิกภาพก้าวร้าว [การแพทย์] |
Antisocial Personality Disorder | บุคลิกภาพต่อต้านสังคม, บุคลิกภาพแปรปรวนชนิดต่อต้านสังคม [การแพทย์] |
Character Disorders | บุคลิกภาพแปรปรวน [การแพทย์] |
Confusion | จิตสับสน, สับสน, ความคิดสับสน, งุนงง, อาการสับสน, บุคลิกเปลี่ยนแปลงสับสน [การแพทย์] |
Dependent, Passive | บุคลิกไปทางแบบต้องพึ่งคนอื่น, คนที่ไม่มั่นใจในตนเองและชอบพึ่งคนอื่น [การแพทย์] |
Depressive Personality | บุคลิกภาพแบบซึมเศร้า [การแพทย์] |
Dissociation | กลไกทางจิตแตกแยกของบุคลิกภาพ [การแพทย์] |
Personality | บุคลิกภาพ, Example: กลุ่มลักษณะนิสัยจำเพาะ แบบแผนพฤติกรรมของบุคคล ที่ใช้วางเป็นแนวทางเฉพาะในการปรับตัวเข้ากับโลกภายนอกหรือสะท้อนพฤติกรรม ทางสังคมนั่นเอง เรียบเรียงและขยายความจากพจนานุกรมศัพท์จิตวิทยาฉบับราชบัณฑิตยสถาน [สุขภาพจิต] |
Identity, Ego | แบบฉบับบุคลิกภาพที่เป็นเอกลักษณ์ [การแพทย์] |
Introversive | บุคลิกภาพแบบเก็บตัว [การแพทย์] |
Introvert-Extrovert | บุคลิกภาพแบบแสดงตัว [การแพทย์] |
Layer, Inner | บุคลิกภาพชั้นใน, ผนังชั้นใน [การแพทย์] |
Middle Layer | บุคลิกภาพชั้นกลาง [การแพทย์] |
bearing | (n) ลักษณะบุคลิกประจำตัว, See also: ลักษณะการเดินหรือการยืน, Syn. manner |
behavioral | (adj) เกี่ยวกับพฤติกรรม, See also: เกี่ยวกับบุคลิกภาพ, Syn. behavioural |
behavioural | (adj) เกี่ยวกับพฤติกรรม, See also: เกี่ยวกับบุคลิกภาพ, Syn. behavioral |
be cast in the different mould | (idm) มีบุคลิกภาพหรือลักษณะต่างกัน |
be cast in the same mould | (idm) มีบุคลิกภาพหรือลักษณะเหมือนกัน |
character | (n) นิสัย, See also: ลักษณะ, บุคลิก, ลักษณะนิสัย, อุปนิสัย, Syn. trait |
demeanour | (n) กรรม, See also: ลักษณะภายนอก, ท่าทาง, บุคลิกลักษณะ, อากัปกิริยา, Syn. behavior, deportment manner |
epicene | (adj) มีบุคลิกลักษณะของทั้งสองเพศ, Syn. androgynous |
figure | (n) บุคลิกภาพ, See also: ลักษณะท่าทาง, บคลิกลักษณะ, Syn. character, personality |
get of | (phrv) ตัดสิน (บุคลิกและความสามารถของ) |
two of a kind | (idm) คนหรือสิ่งที่เหมือนกัน (เช่น ความคิด, ทัศนคติ, บุคลิก ฯลฯ) |
identity | (n) บุคลิกลักษณะ, See also: ลักษณะพิเศษ, ลักษณะเฉพาะ, เอกลักษณ์, Syn. individuality, uniqueness |
impersonal | (adj) ซึ่งขาดบุคลิกลักษณะ, See also: ที่ไม่มีบุคลิกภาพ |
impressionable | (adj) พร้อมยอมรับความคิด ประสบการณ์หรือบุคลิกลักษณะของผู้อื่น, See also: ซึ่งประทับใจผู้อื่นง่าย, Syn. impressible, receptive, susceptible |
individuality | (n) บุคลิกลักษณะเฉพาะ, Syn. character, identity, personality |
personality | (n) บุคลิกลักษณะ, See also: ลักษณะเฉพาะของแต่ละคน, ลักษณะเฉพาะตัว, Syn. disposition, nature, temperamant |
selfhood | (n) ตัวบุคคล, See also: ความเป็นตัวบุคคล, บุคลิกลักษณะ, Syn. self, personality, identity |
split personality | (n) การมีบุคลิกภาพสองคนในคนเดียวกัน |
abnormal psychology | จิตวิทยาที่เกี่ยวกับความวิปริตของบุคลิกภาพ (branch of psychology) |
address | (n. อะเดรส' , แอด' เดรส; -vi. อะเดรส') n., vi. (การ) ปราศรัยกับ, (การ) พูดกับ, (การ) เตรียม, คำปราศรัย, คำถวายพระพรชัยมงคล, คำจ่าหน้าซอง, กิริยาวาจา, บุคลิกลักษณะ, (การ) พูดจา, ความแคล่วคล่อง. -addresser n.ผู้ส่งจดหมาย, |
antihero | (แอนทีฮี' โร) n., (pl. -heroes) พระเอกที่ขาดบุคลิกลักษณะที่จะเป็นพระเอกได้เพียงพอ. -antiheroic adj. |
autosuggestion | (ออโทซักเจส'เชิน) n. การแนะนำใจตัวเอง (โดยเฉพาะการกล่าวซ้ำสูตรหรือหลักการต่าง ๆ เพื่อเปลี่ยนบุคลิกภาพ. -autosuggestibility n. |
impersonalise | (อิมเพอ' เซิน นะไลซ) vt. ทำให้ไม่ใช่ส่วนตัว, ทำให้ไม่มีลักษณะของบุคคลหรือมนุษย์, ทำให้ขาดบุคลิกภาพ., See also: impersonalisation, impersonalization n. |
impersonality | (อิมเพอซะแนล' ลิที) n. การขาดลักษณะของมนุษย์, การไม่มีอารมณ์เกี่ยวข้อง, การขาดความห่วงต่อความต้องการของแต่ละบุคคล, การขาดผู้ติดต่อหรือผู้จัดการ, การขาดบุคลิกภาพ |
impersonate | (อิมเพอ' ซะเนท) vt. แกล้งทำเป็น, เสแสร้ง, แสดงออก, เลียนแบบ, ปลอมแปลง. -adj. เกี่ยวกับบุคลิกภาพ, เป็นลักษณะของบุคลิกภาพ., See also: impersonation n. impersonator n., Syn. imiate, represent |
jekyll and hyde | (จี'คัล, เจค'คัล) n. บุคคลผู้มี2บทบาท (ดีและเลว) , ผู้มีบุคลิกภาพ สองแบบ (ดีและเลว) |
learning | (เลิร์น'นิง) n. การเรียนรู้, การศึกษา, ความรู้, การปรับบุคลิกภาพจากการปฏิบัติฝึกฝนหรือประสบการณ์, Syn. education |
person | (เพอ'เซิน) n. บุคคล, คน, ร่าง, ร่างกาย, องค์, ตัว, ผู้, นิติบุคคล, บุคลิกลักษณะ, บุรุษ, (ในไวยากรณ์), Syn. individual, human being |
personality | (เพอซะแนล'ลิที) n. บุคลิกภาพ, บุคลิกลักษณะ, บุคคล, Syn. character, nature |
schizophrenia | (สคิส'โซฟรี'เนีย) n. โรคจิตที่สำคัญที่สุด มีอาการขาดการติดต่อกับสิ่งแวดล้อมหรือมีบุคลิกภาพที่แตกแยก, โรคจิตเภท., See also: schizophrenic adj., Syn. dementia praecox |