ปรารถนา | (ปฺราดถะหฺนา) ก. มุ่งหมาย, อยากได้, ต้องการ. |
กระเษม | น. เกษม, ความสุขสบาย, ความปลอดภัย, เช่น อันโอฬาริกประณีตกระเษมสุขสมมโนรถที่ปรารถนาใจในชาติเมื่อเป็นเทพยดานั้น (สามดวง). |
กัลปพฤกษ์ ๑ | (กันละปะพฺรึก) น. ต้นไม้ที่เชื่อกันว่าให้ผลสำเร็จตามความปรารถนา |
กามคุณ | น. สิ่งที่น่าปรารถนา มี ๕ ประการ คือ รูป เสียง กลิ่น รส สัมผัส |
กามคุณ | ความปรารถนาในเมถุน. |
กามท-, กามทท | (กามมะทะ-, กามมะทะทะ, กามมะทด) น. การให้ตามที่ปรารถนา, ผู้ให้สิ่งที่น่าปรารถนา เช่น หนึ่งโสดกามทราช จักประพาศยลราชี ตามวิถีแนวไม้ไพรระเรียง (ม. คำหลวง หิมพานต์). |
เกี้ยว ๑ | พูดให้รักในเชิงชู้สาว, พูดแทะโลม, พูดเลียบเคียงเพื่อให้สมปรารถนา. |
เข้าตัว | ก. อาการที่อาคม ของขลัง หรือถ้อยคำที่ปรารถนาจะกระทำหรือพูดให้ร้ายแก่ผู้อื่นแล้วย้อนกลับมาโดนตัวเอง, ไม่พ้นตัว เช่น พูดเข้าตัว. |
แขกไม่ได้รับเชิญ | น. คนหรือสัตว์ที่ไม่พึงปรารถนาซึ่งเข้ามาทำให้เกิดความเสียหาย หรือเดือดร้อนรำคาญ มักหมายถึง ขโมยหรือสัตว์บางชนิด เช่น ก่อนนอนอย่าลืมปิดประตูหน้าต่าง มิฉะนั้นแขกไม่ได้รับเชิญจะขนของไปหมด กางเต็นท์นอนในป่าระวังแขกไม่ได้รับเชิญจะเข้ามา. |
ใคร่ | (ไคฺร่) ก. อยาก, ต้องการ, ปรารถนา, ใฝ่ |
เชิญ | ก. แสดงความปรารถนาเพื่อขอให้ทำอย่างใดอย่างหนึ่งด้วยความเคารพหรืออ่อนน้อม เช่น เชิญมาเป็นเกียรติในพิธีมงคลสมรส |
เชิญเทวดา | ก. ตั้งเครื่องสักการบูชาและเครื่องสังเวย แล้วกล่าวคำต้อนรับและแสดงความปรารถนา เพื่อขอให้เทวดาช่วยอย่างใดอย่างหนึ่ง เช่น เชิญเทวดามาในพิธีไหว้ครูโขนละคร. |
ดำฤษณา | (ดำหฺริดสะหฺนา) น. ความปรารถนา, ความดิ้นรน, ความอยาก, ความเสน่หา. |
ดี ๒ | ว. มีลักษณะที่เป็นไปในทางที่ต้องการ น่าปรารถนา น่าพอใจ ใช้ในความหมายที่ตรงข้ามกับลักษณะบางอย่างแล้วแต่กรณี คือ ตรงข้ามกับชั่ว เช่น คนดี ความดี, ตรงข้ามกับร้าย เช่น โชคดี เคราะห์ดี |
ดี ๒ | ก. กระทำในทางที่ต้องการ น่าปรารถนา น่าพอใจ เช่น เขาดีกับฉันมาก. |
ตฤษณา | (ตฺริดสะหฺนา) น. ความปรารถนา, ความอยาก, ความดิ้นรน. |
ทท | (ทด, ทะทะ) น. การให้, ผู้ให้, มักใช้ประกอบท้ายศัพท์ เช่น กามทท = การให้สิ่งที่น่าปรารถนา, ผู้ให้สิ่งที่น่าปรารถนา. |
ทศมาส | น. ๑๐ เดือน เช่น เมื่อพระนางเธอทรงพระครรภ์ถ้วนทศมาส ปรารถนาจะประพาสชมพระนคร (ม. ร่ายยาว หิมพานต์). |
โทหฬะ | (-หะละ) น. ความปรารถนาของหญิงตั้งครรภ์, ความแพ้ท้อง. |
บุญญาภินิหาร | น. ความปรารถนาอันแรงกล้าในความดี, บุญที่ให้สำเร็จได้ตามความปรารถนา. |
ประณิธาน | น. การตั้งความปรารถนา. |
ประณิธิ | น. การตั้งความปรารถนา. |
ปลุกผี | ก. นั่งบริกรรมคาถาจนกระทั่งผีลุกขึ้นมาหรือปรากฏกาย เพื่อใช้ให้ไปทำประโยชน์ตามที่ตนปรารถนา หรือเพื่อลนเอานํ้ามันจากคางผีตายทั้งกลม ที่เรียกกันว่า น้ำมันพราย สำหรับดีดให้หญิงหลงรัก |
ปอง ๑ | ก. มุ่งปรารถนา. |
แผ่เมตตา | ก. ปรารถนาให้ผู้อื่นมีความสุข. |
พร | (พอน) น. คำแสดงความปรารถนาให้ประสบสิ่งที่เป็นสิริมงคล เช่น ให้พร ถวายพระพร, สิ่งที่ขอเลือกเอาตามประสงค์ เช่น ขอพร. |
ภาวนา | (พาวะ-) ก. สำรวมใจให้แน่วแน่เป็นสมาธิ เช่น สวดมนต์ภาวนา, สำรวมใจตั้งความปรารถนา เช่น นั่งภาวนาขอให้พระช่วย. |
มักน้อย | ก. ปรารถนาน้อย, สันโดษ. |
มักมาก | ก. โลภมาก, ปรารถนามาก (ใช้เฉพาะในทางกามคุณ). |
มุ่งมาด | ก. ปรารถนา, มักใช้เข้าคู่กันเป็น มุ่งมาดปรารถนา. |
เมตตา | น. ความรักและเอ็นดู, ความปรารถนาจะให้ผู้อื่นได้สุข, เป็น ๑ ในพรหมวิหาร ๔ คือ เมตตา กรุณา มุทิตา อุเบกขา. |
รอด ๒ | ก. พ้นไป, ปลอดจาก, เช่น รอดอันตราย, บางทีหมายความว่า ผ่านพ้นภัยอันตรายหรือสิ่งที่ไม่พึงปรารถนามาได้ เช่น เครื่องบินตกรอดมาได้ รอดจากถูกครูตี. |
ล้มทั้งยืน | ก. ล้มขณะที่ยืนอยู่ เช่น ถูกเตะล้มทั้งยืน เป็นลมล้มทั้งยืน, โดยปริยายหมายถึงอาการที่สิ้นเนื้อประดาตัวหรือผิดหวังอย่างรุนแรงโดยไม่เคยคาดคิดมาก่อน, สูญเสียสิ่งที่รักหรือปรารถนาอย่างยิ่งในทันทีทันใดโดยไม่เคยคาดคิดมาก่อน เช่น พอรู้ว่าลูกถูกรถทับตายเลยเสียใจแทบล้มทั้งยืน. |
ลิงโลด | ก. อาการตื่นเต้นดีใจอย่างมาก เช่น เด็ก ๆ ลิงโลดเมื่อเห็นขนม พอยิงประตูฟุตบอลได้เขาก็ลิงโลด, ตื่นเต้นดีใจมากเพราะสมปรารถนาในอย่างใดอย่างหนึ่ง เช่น เขารู้สึกลิงโลดใจที่สอบได้ที่ ๑. |
วสะ | ความตั้งใจ, ความปรารถนา. |
วิภวตัณหา | น. ความปรารถนาในความไม่มีไม่เป็น. |
ส่งใจ | ก. ส่งน้ำใจที่มีความปรารถนาดีเพื่อให้เป็นกำลังใจแก่ผู้รับ เช่น ส่งใจไปช่วยทหารในแนวหน้า. |
สม ๑ | ตรงกับ เช่น สมคะเน สมปรารถนา สมความตั้งใจ |
สาทุ | น่าปรารถนา. |
สิ่งศักดิ์สิทธิ์ | น. สิ่งหรือภาวะที่เชื่อว่ามีอำนาจเหนือธรรมชาติ สามารถบันดาลให้เป็นไปหรือให้สำเร็จได้ดังปรารถนา เช่น ขอให้สิ่งศักดิ์สิทธิ์บันดาลให้เขาหายจากโรคร้าย. |
เสรีภาพ | น. ความสามารถที่จะกระทำการใด ๆ ได้ตามที่ตนปรารถนาโดยไม่มีอุปสรรคขัดขวาง เช่น เสรีภาพในการพูด เสรีภาพในการนับถือศาสนา, ความมีสิทธิที่จะทำจะพูดได้โดยไม่ละเมิดสิทธิของผู้อื่น. |
หน้าเหี่ยว | น. หน้าที่ไม่เต่งตึง, โดยปริยายหมายความว่า ไม่สมปรารถนา เช่น ขอสตางค์แม่ไม่ได้ก็หน้าเหี่ยวกลับมา. |
หวังดี | ก. มีความปรารถนาที่ดี. |
แหงนเต่อ, แหงนเถ่อ | โดยปริยายหมายความว่า เก้อ, ไม่สมปรารถนา. |
ให้ศีลให้พร | ก. กล่าวแสดงความปรารถนาดีให้เกิดสวัสดิมงคล ความเจริญรุ่งเรืองแก่ผู้รับ เช่น ผู้ใหญ่ให้ศีลให้พรแก่ลูกหลาน. |
อธิฏฐาน | (อะทิดถาน) ก. ตั้งใจมุ่งผลอย่างใดอย่างหนึ่ง, ตั้งจิตปรารถนา, ตั้งจิตขอร้องต่อสิ่งที่ตนถือว่าศักดิ์สิทธิ์เพื่อผลอย่างใดอย่างหนึ่ง, อธิษฐาน ก็ว่า. |
อธิษฐาน | (อะทิดถาน, อะทิดสะถาน) ก. ตั้งใจมุ่งผลอย่างใดอย่างหนึ่ง, ตั้งจิตปรารถนา, ตั้งจิตขอร้องต่อสิ่งที่ตนถือว่าศักดิ์สิทธิ์เพื่อผลอย่างใดอย่างหนึ่ง, อธิฏฐาน ก็ว่า. |
อนิฏฐารมณ์ | (อะนิดถารม) น. อารมณ์หรือสิ่งที่ไม่น่าปรารถนาไม่น่าพอใจ ได้แก่ ความเสื่อมลาภ ความเสื่อมยศ นินทา ทุกข์, ตรงข้ามกับ อิฏฐารมณ์. |
อนิษฏ์ | ว. ไม่น่าปรารถนา. |
อยาก | (หฺยาก) ก. ปรารถนา, ประสงค์, ต้องการ, ใคร่, เช่น อยากเป็นใหญ่เป็นโต อยากมีเงิน |
Pregnancy, Unwanted | ครรภ์ไม่ปรารถนา [TU Subject Heading] |
Student aspirations | ความปรารถนาของนักศึกษา [TU Subject Heading] |
Desired Family Size | ขนาดครอบครัวที่ปรารถนา, Example: จำนวนบุตรที่คู่สมรสต้องการจะมี บางครั้งเรียกว่าจำนวนบุตรที่ปรารถนา (desired number of children) [สิ่งแวดล้อม] |
Consular office Declared ?Non grata? | เจ้าหน้าที่ฝ่ายกงสุลจะถูกประกาศว่าไม่พึงปรารถนา หรือไม่พึงโปรดได้ ดังข้อ 23 ของอนุสัญญากรุงเวียนนาได้บัญญัติไว้ด้วยข้อความดังนี้?1. รัฐผู้รับอาจบอกกล่าวแก่รัฐผู้ส่งในเวลาใดก็ได้ว่าพนักงานฝ่ายกงสุลเป็น บุคคลที่ไม่พึงโปรด หรือบุคคลอื่นใดในคณะเจ้าหน้าที่ฝ่ายกงสุลเป็นที่ไม่พึงยอมรับได้ ในกรณีนั้นรัฐผู้ส่งจะเรียกบุคคลที่เกี่ยวข้องนั้นกลับ หรือเลิกการหน้าที่ของผู้นั้นต่อสถานที่ทำการทางกงสุล แล้วแต่กรณี2. ถ้ารัฐผู้ส่งปฏิเสธหรือไม่นำพาภายในเวลาอันสมควรที่จะปฏิบัติตามพันธกรณีของ ตนตามวรรค 1 ของข้อนี้ รัฐผู้รับอาจเพิกถอนอนุมัติบัตรจากบุคคลที่เกี่ยวข้องนั้น หรือเลิกถือว่าบุคคลนั้นเป็นบุคคลในคณะเจ้าหน้าที่ฝ่ายกงสุลก็ได้ แล้วแต่กรณี3. รัฐผู้รับอาจประกาศว่า บุคคลหนึ่งบุคคลใดซึ่งได้รับแต่งตั้งเป็นบุคคลในสถานที่ทำการทางกงสุล เป็นผู้ที่ไม่อาจยอมรับได้ ก่อนที่บุคคลนั้นจะมาถึงอาณาเขตของรัฐผู้รับ หรืออยู่ในรัฐผู้รับแล้ว แต่ก่อนเข้ารับหน้าของตนต่อสถานที่ทำการทางกงสุลก็ได้ ในกรณีใด ๆ เช่นว่านั้น รัฐผู้ส่งจะเพิกถอนการแต่งตั้งบุคคลนั้น4. ในกรณีที่ได้บ่งไว้ในวรรค 1 และ 3 ของข้อนี้ รัฐผู้รับไม่มีพันธะที่จะต้องให้เหตุผลในการวินิจฉัยของตนแก่รัฐผู้ส่ง?การ ที่รัฐผู้รับปฏิเสธที่จะออกอนุมัติบัตร หรือเพิกถอนอนุมัติบัตรหลังจากที่ได้ออกให้ไปแล้วนั้น เป็นสิทธิของรัฐผู้รับอันจะถูกโต้แย้งมิได้ ประเด็นที่เป็นปัญหาก็คือ รัฐผู้รับมีพันธะที่จะต้องอธิบายเหตุผลอย่างใดหรือไม่ ในการที่ปฏิเสธไม่ยอมออกอนุมัติบัตร หรือเพิกถอนอนุมัติบัตร หลังจากที่ได้ออกให้ไปแล้วข้อนี้ น้ำหนักของผู้ทรงอำนาจหน้าที่ดูแลจะเห็นคล้อยตามทรรศนะที่ว่า รัฐผู้รับไม่จำเป็นต้องแสดงเหตุผลใด ๆ ทั้งสิ้นในการกระทำดังกล่าวเหตุผลของการไม่ยอมออกอนุมัติบัตรให้นั้นคือว่า ผู้ที่ไม่เห็นด้วย หรือไปแสดงสุนทรพจน์อันมีข้อความเป็นที่เสื่อมเสียแก่รัฐผู้รับ หรือเคยมีส่วนร่วมในการก่อการกบฏต่อรัฐผู้รับหรือเข้าไปแทรกแซงกิจการการ เมืองภายในของรัฐผู้รับ เป็นต้น [การทูต] |
Establishment of Diplomatic Relations and Missions | การสถาปนาความสัมพันธ์ทางการทูตและคณะผู้แทนถาวร ทางการทูต ข้อนี้มีบทบัญญัติไว้ในมาตรา 2 ของอนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางการทูตว่าการสถาปนาความ สัมพันธ์ทางการทูตระหว่างรัฐ และคณะผู้แทนถาวรทางการทูตมีขึ้นได้ด้วยความยินยอมของกันและกันในเรื่องนี้ รัฐที่มีอธิปไตยโดยสมบูรณ์ทุกรัฐ มีสิทธที่จะส่งตัวแทนทางการทูตไปทำหน้าที่พิทักษ์ดูแลผลประโยชน์ของตนยังรัฐ อื่นๆ ซึ่งถือกันว่ามี Active right of legation แต่การใช้สิทธิดังกล่าว เป็นเรื่องดุลยพินิจของแต่ละรัฐ เพราะจะบังคับให้รัฐหนึ่งส่งคณะผู้แทนทางทูตประจำ ณ ที่ใดหาได้ไม่ ถ้าหากรัฐนั้นไม่ปรารถนาจะปฏิบัติเช่นนั้น ในทำนองเดียวกันจะมีการบังคับให้รัฐผู้รับต้องรับคณะผู้แทนทางการทูตจากรัฐ ใดหาได้ไม่ ทั้งนี้เพราะเป็นเรื่องดุลยพินิจของรัฐผู้รับเช่นกัน [การทูต] |
Final Act | กรรมสารสุดท้าย คือคำแถลงหรือคำสรุปอย่างเป็นทางการจากเรื่องราวการ ประชุม คำแถลงนี้จะระบุสนธิสัญญาและอนุสัญญาที่ได้มีการลงนามกันอันเป็นผลจากการ ประชุม และในบางกรณีจะผนวกความเห็นหรือข้อเสนอแนะหรือความปรารถนาจากที่ประชุมไว้ ด้วย ผู้แทนที่มีอำนาจเต็มเท่านั้นจะเป็นผู้ลงนามในกรรมสารสุดท้าย ในตอนสุดท้ายของการประชุม [การทูต] |
North Atlanitc Treaty Organization | องค์การนาโต้ หรือองค์การสนธิสัญญาแอตแลนติกเหนือ ซึ่งได้ลงนามกันเมื่อวันที่ 4 เมษายน ค.ศ. 1949 ประเทศสมาชิกขณะเริ่มตั้งองค์การครั้งแรก ได้แก่ ประเทศเบลเยี่ยม แคนาดา เดนมาร์ก ฝรั่งเศส ไอซ์แลนด์ อิตาลี ลักแซมเบิร์ก เนเธอร์แลนด์ นอร์เวย์ ปอร์ตุเกส อังกฤษ และสหรัฐอเมริกา ต่อมาประเทศกรีซและตรุกีได้เข้าร่วมเป็นภาคีของสนธิสัญญาเมื่อวันที่ 18 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1952 และเยอรมนีตะวันตก ( ในขณะนั้น) เมื่อวันที่ 6 พฤษภาคม ค.ศ. 1955 สนธิสัญญาแอตแลนติกเหนือเริ่มมีผลบังคับใช้เมื่อวันที่ 24 สิงหาคม ค.ศ. 1949ในภาคอารัมภบทของสนธิสัญญา ประเทศภาคีได้ยืนยันเจตนาและความปรารถนาของตน ที่จะอยู่ร่วมกันโดยสันติกับประเทศและรัฐบาลทั้งหลาย ที่จะปกป้องคุ้มครองเสรีภาพมรดกร่วม และอารยธรรมของประเทศสมาชิกทั้งมวล ซึ่งต่างยึดมั่นในหลักการของระบอบประชาธิปไตย เสรีภาพส่วนบุคคลหลักนิติธรรม ตลอดจนจะใช้ความพยายามร่วมกันเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันเพื่อป้องกันประเทศ และเพื่อธำรงรักษาไว้ซึ่งสันติภาพและความมั่นคงในสนธิสัญญาดังกล่าว บทบัญญัติที่สำคัญที่สุดคือข้อ 5 ซึ่งระบุว่า ประเทศภาคีสนธิสัญญาทั้งหลายต่างเห็นพ้องต้องกันว่า หากประเทศภาคีหนึ่งใดหรือมากกว่านั้น ในทวีปยุโรปหรือในอเมริกาเหนือ ถูกโจมตีด้วยกำลังอาวุธ จักถือว่าเป็นการโจมตีต่อประเทศภาคีทั้งหมด ฉะนั้น ประเทศภาคีจึงตกลงกันว่า หากมีการโจมตีด้วยกำลังอาวุธเช่นนั้นเกิดขึ้นจริง ประเทศภาคีแต่ละแห่งซึ่งจะใช้สิทธิในการป้องกันตนโดยลำพังหรือร่วมกัน อันเป็นที่รับรองตามข้อ 51 ของกฎบัตรสหประชาชาติ จะเข้าช่วยเหลือประเทศภาคีแห่งนั้นหรือหลายประเทศซึ่งถูกโจมตีด้วยกำลัง อาวุธในทันทีองค์กรสำคัญที่สุดในองค์การนาโต้เรียกว่า คณะมนตรี (Council) ประกอบด้วยผู้แทนจากประเทศภาคีสนธิสัญญานาโต้ คณะมนตรีนี้จะจัดตั้งองค์กรย่อยอื่น ๆ หลายแห่ง รวมทั้งกองบัญชาการทหารสูงสุดฝ่ายสัมพันธมิตรภาคพื้นยุโรปและภาคพื้น แอตแลนติก สำนักงานใหญ่ขององค์การนาโต้ตั้งอยู่ที่กรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส [การทูต] |
Open Diplomacy | คือการทูตแบบเปิดเผย อดีตประธานาธิบดีวูดโรว์ วิลสัน แห่งสหรัฐอเมริกา เป็นบุคคลที่สนับสนุนและเผยแพร่วิธีการทูตแบบเปิดเผยอย่างเต็มที่ หวังจะให้ชุมชนนานาชาติพร้อมใจกันสนับสนุนการทูตนี้เช่นเดียวกัน เมื่อวันที่ 8 มกราคม ค.ศ. 1918 วูดโรว์ วิลสัน ได้ประกาศให้โลกทราบนโยบายของท่าน 14 ข้อ ข้อหนึ่งในจำนวนนั้นท่านปรารถนาว่า ในอนาคตประเทศต่าง ๆ ควรจะทำความตกลงกันเกี่ยวกับเรื่องสันติภาพอย่างเปิดเผย และต่อไปไม่ควรจะมีการเจรจาทำความตกลงระหว่างประเทศแบบลับเฉพาะอย่างใดทั้ง สิ้นแม้ว่าโดยทั่วไปจะเห็นพ้องด้วยกับนโยบายข้อแรกของ วูดโรว์ วิลสัน คือ ความตกลงหรือสนธิสัญญาใด ๆ เมื่อตกลงเสร็จสิ้นแล้ว ให้ประกาศเปิดเผยให้โลกทราบ แต่สำหรับข้องสองคือการเจรจาในระหว่างทำสนธิสัญญาให้กระทำกันอย่างเปิดเผย นั้น ส่วนใหญ่ยังไม่ค่อยเห็นด้วย เพราะเห็นว่าลำพังการเจรจานั้น โดยสารัตถะสำคัญแล้วควรจะถือเป็นความลับไว้ก่อนจนกว่าจะเสร็จการเจรจา ทั้งนี้ เซอร์เดวิด เคลลี่ อดีตนักการทูตอังกฤษเคยให้ทรรศนะว่า การทูตแบบเปิดเผยนั้นเป็นถ้อยคำที่ขัดกันในตัว คือหากกระทำกันอย่างเปิดเผยเสียแล้วก็ไม่ใช่การทูตเกี่ยวกับเรื่องนี้ มาตรา 102 ของกฎบัตรสหประชาชาติได้บัญญัติว่า ?1. สนธิสัญญาทุกฉบับ และความตกลงระหว่างประเทศทุกฉบับ ซึ่งสมาชิกใด ๆ แห่งสหประชาชาติได้เข้าเป็นภาคี ภายหลังที่กฎบัตรปัจจุบันได้ใช้บังคับ จักต้องจดทะเบียนไว้กับสำนักเลขาธิการโดยเร็วที่สุดเท่าที่จะทำได้ และจักได้พิมพ์ขึ้นโดยสำนักงานนี้ 2. ภาคีแห่งสนธิสัญญา หรือความตกลงระหว่างประเทศเช่นว่าใด ซึ่งมิได้จดทะเบียนไว้ตามบทบัญญัติในวรรคหนึ่งข้อนี้ ไม่อาจยกเอาสนธิสัญญาหรือความตกลงนั้น ๆ ขึ้นกล่าวอ้างต่อองค์กรใด ๆ ของสหประชาชาติ? [การทูต] |
Persona non grata | เป็นศัพท์ที่ใช้กับนักการทูตหรือผู้แทนทางการทูต ที่ประจำอยู่ในประเทศซึ่งรัฐบาลของประเทศนั้นไม่ปรารถนาให้อยู่ต่อไปอีกแล้ว หลังจากที่ได้ไปประจำทำงานในตำแหน่งอยู่ในประเทศนั้น หรือก่อนหน้าที่นักการทูตผู้นั้นจะเดินทางไปถึงดินแดนของประเทศผู้รับ (Receiving State) นักการทูตที่ถูกประกาศเป็น persona non grata หรือ บุคคลที่ไม่พึงปรารถนานั้น เป็นเพราะสาเหตุดังต่อไปนี้ คือ กล่าวคำดูหมิ่นรัฐบาลของประเทศที่ตนไปประจำอยู่ ละเมิดกฎหมายของบ้านเมืองนั้น แทรกแซงในการเมืองภายในของเขา เข้าไปยุ่งเกี่ยวกับกิจการภายในประเทศของเขา ใช้ถ้อยคำก้าวร้าวต่อประเทศนั้น วิพากษ์ประมุขแห่งประเทศของเขากระทำการอันเป็นที่เสียหายต่อประโยชน์หรือต่อ ความมั่นคงของประเทศ และกระทำการอื่น ๆ ในทำนองนั้นตามปกติรัฐบาลของประเทศเจ้าภาพที่เป็นฝ่ายเสียหายจะขอร้องให้ รัฐบาลผู้ส่ง (Sending government) เรียกตัวนักการทูตผู้กระทำผิดกลับประเทศ ซึ่งตามปกติรัฐบาลผู้ส่งมักจะปฏิบัติตาม รัฐบาลของประเทศผู้เสียหายจะแจ้งให้นักการทูตผู้นั้นทราบว่า รัฐบาลจะไม่ทำการติดต่อเกี่ยวข้องเป็นทางการกับเขาอีกต่อไป หรืออาจจะบอกให้นักการทูตผู้นั้นออกไปจากประเทศโดยไม่เกรงใจแต่อย่างใดก็ได้ เกี่ยวกับเรื่องนี้ อนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางการทูตได้บัญญัติไว้ในข้อ 9 ดังต่อไปนี้ ?1. รัฐผู้รับอาจบอกกล่าวแก่รัฐผู้ส่งในเวลาใดก็ได้ และโดยมิต้องชี้แจงถึงการวินิจฉัยของตนว่า หัวหน้าคณะผู้แทนหรือบุคคลใดบุคคลหนึ่งที่ไม่พึงโปรด หรือว่าบุคคลอื่นใดในคณะเจ้าหน้าที่ของคณะผู้แทนเป็นที่ไม่พึงยอมรับได้ ในกรณีใดเช่นว่านี้ ให้รัฐผู้ส่งเรียกบุคคลที่เกี่ยวข้องนั้นกลับ หรือเลิกการหน้าที่ของผู้นั้นกับคณะผู้แทนเสียก็ได้ตามที่เหมาะสมบุคคลอาจจะ ถูกประกาศให้เป็นผู้ไม่พึงโปรด หรือไม่พึงยอกรับได้ก่อนที่จะมาถึงอาณาเขตของรัฐผู้รับก็ได้ 2. ถ้ารัฐผู้ส่งปฏิเสธ หรือไม่นำพาภายในระยะเวลาอันสมควร ที่จะปฏิบัติตามข้อผูกพันของคนภายใต้วรรค 1 ของข้อนี้ รัฐผู้รับสามารถปฏิเสธที่จะยอมรับนับถือบุคคลที่เกี่ยวข้องนั้นว่าเป็นบุคคล ในคณะผู้แทนก็ได้? [การทูต] |
ASEAN Post Ministerial Conferences 10+10 Session | การประชุมรัฐมนตรีต่างประเทศอาเซียนกับรัฐมนตรีต่างประเทศของคู่เจรจาทั้ง หมด เป็นส่วนหนึ่งของการประชุมรัฐมนตรีต่างประเทศอาเซียนกับรัฐมนตรีต่างประเทศ ของคู่เจรจา (PMC) ในลักษณะของการหารือร่วมกันทั้งหมดระหว่างสิบประเทศสมาชิกอาเซียนกับประเทศ คู่เจรจาในประเด็นที่มีความกังวลร่วมกันหรือปรารถนาที่จะมีความร่วมมือ ระหว่างกัน [การทูต] |
Political Appointee | หมายถึง บุคคลที่ได้รับแต่งตั้งด้วยเหตุผลทางการเมือง คือ ผู้ที่มิได้มีอาชีพทางการทูตโดยแท้ได้รับแต่งตั้งให้เป็นทูต ซึ่งต่างกับนักการทูตอาชีพ (Career diplomat) ในประเทศอังกฤษ ฝรั่งเศส เยอรมนี และสหภาพโซเวียต ธรรมเนียมปฏิบัติโดยทั่วไปจะแต่งตั้งเฉพาะบุคคลที่มีอาชีพนักการทูตแท้ ๆ เข้าดำรงตำแหน่งเอกอัครราชทูตและอัครราชทูต อย่างไรก็ดี เฉพาะในกรณีพิเศษจริง ๆ เท่านั้นจึงจะแต่งตั้งบุคคลจากภายนอก และบุคคลจากภายนอกที่ได้รับแต่งตั้งเป็นเอกอัครราชทูตได้รับผลสำเร็จในการ ปฏิบัติหน้าที่ก็มีอยู่หลายราย ทั้งในประเทศไทยและประเทศอื่น ๆ ทั่วโลก แฮโรลด์ นิโคลสัน ได้ให้ความเห็นไว้ในหนังสือเรื่องการทูตของท่านว่า ในประเทศใหญ่ ๆ เป็นที่พึงปรารถนาอย่างยิ่งที่จะให้นักการทูตอาชีพเท่านั้นเป็นผู้รับผิดชอบ ในการดำเนินนโยบายการต่างประเทศ เพราะได้ผ่านการศึกษาและฝึกฝนในวิชาการทูตมาเป็นอย่างดีแล้ว ส่วนเอกอัครราชทูตที่แต่งตั้งจากคนภายนอกจะมีข้อเสียบางอย่าง เช่น ในการเขียนรายงานไปยังรัฐบาล เช่น รายงานการเมือง เขาอาจมุ่งแต่จะอวดความเฉียบแหลมของเขาเอง และร้อยกรองคำอย่างไพเราะเพราะพริ้ง มากกว่าที่จะมุ่งเสนอรายงานข้อเท็จจริงอย่างรอบคอบและมีเหตุผลอันสมควร เป็นต้น [การทูต] |
Recall of Diplomats | การเรียกตัวนักการทูตกลับประเทศของตน คือ ผู้แทนทางการทูตอาจถูกรัฐบาลของตนริเริ่มเรียกตัวกลับประเทศได้ด้วยเหตุผล ต่าง ๆ เช่น ผู้แทนทางการทูตนั้นขอลาออก หรือลาออกจากราชการเพื่อรับบำเหน็จบำนาญ หรือถูกโยกย้ายไปประจำอีกแห่งหนึ่ง หรือเกิดความไม่พอใจอย่างใดอย่างหนึ่งก็ได้ถ้าหากรัฐบาลปรารถนาจะเรียกหัว หน้าคณะผู้แทนทางการทูตกลับโดยถาวรเนื่องจากไม่พอใจในตัวเขา โดยมากเป็นธรรมเนียมปฏิบัติกัน คือ รัฐบาลจะเปิดโอกาสให้หัวหน้าคณะทูตผู้นั้นทำหนังสือขอลาออกจากตำแหน่งเสีย มากกว่าที่จะใช้วิธีสั่งปลด อันเป็นการกระทำที่รุนแรงกว่ามากนอกจากนี้ หัวหน้าคณะผู้แทนทางการทูตหรือเอกอัครราชทูตอาจถูกรัฐบาลเรียกตัวกลับตามคำ ขอร้องของรัฐบาลประเทศผู้รับ เนื่องจากกระทำตนไม่เป็นที่พึงปราถนาของประเทศผู้รับ (Persona non grata) ก็ได้ ตามปกติ คำขอร้องจากรัฐผู้รับขอให้เรียกตัวกลับนั้น มักได้รับการตอบสนองโดยดีในทันทีจากรัฐผู้ส่ง แต่ถ้าหากรัฐผู้ส่งปฏิเสธคำขอร้องดังกล่าวนั้น รัฐผู้รับอาจขับให้ออก (Dismiss) จากประเทศก็ได้ [การทูต] |
Southeast Asia Collective Defense Treaty (Mahila Pact) | สนธิสัญญาซีโต้ สนธิสัญญานี้ได้มีการลงนามกัน ณ กรุงมะนิลา ประเทศฟิลิปปินส์ เมื่อวันที่ 8 กันยายน ค.ศ. 1954 ประเทศที่ลงนามในสนธิสัญญามีประเทศออสเตรเลีย ฝรั่งเศส นิวซีแลนด์ ปากีสถาน ฟิลิปปินส์ ประเทศไทย อังกฤษ และสหรัฐอเมริกา สนธิสัญญาได้มีผลใช้บังคับเมื่อวันที่ 19 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1955ในภาคอารัมภบทของสัญญานี้ บรรดาประเทศสมาชิกต่างแสดงความปรารถนาที่จะประสานความพยายามของตนที่จะ ป้องกันร่วมกัน เพื่อธำรงรักษาไว้ซึ่งสันติภาพและความมั่นคง โดยเฉพาะข้อ 4 ของสนธิสัญญาเป็นข้อสำคัญที่สุด คือ แต่ละประเทศภาคีคู่สัญญาตกลงเห็นพ้องกันว่า หากดินแดนของประเทศใดถูกรุกรานจาการโจมตีด้วยกำลังอาวุธ ประเทศภาคีทั้งหมดที่เหลือจะถือว่าเป็นอันตรายร่วมกัน และจะปฏิบัติการเพื่อเผชิญหน้ากับอันตรายร่วมกัน หรือถ้าหากพื้นที่ภายในเขตครอบคลุมของสนธิสัญญาถูกคุกคามด้วยประการใด ๆ ประเทศภาคีทั้งหมดจะปรึกษากันในทันที เพื่อตกลงในมาตรการเพื่อการป้องกันร่วมกันสำนักงานใหญ่ขององค์การซีโต้ตั้ง อยู่ในกรุงเทพมหานคร โดยที่สถานการณ์ทางการเมืองของโลกได้เปลี่ยนไปมากทำให้องค์การซีโต้หมดความ จำเป็น และได้ยุบเลิกไปนานแล้ว [การทูต] |
visit | การเยือน " - State Visit การเยือนอย่างเป็นทางการในระดับประมุขของรัฐ หมายถึง การเยือนของบุคคลสำคัญของต่างประเทศในระดับประมุขของรัฐ ที่มีสถานะเป็นกษัตริย์หรือประธานาธิบดี โดยเป็นการเยือนอย่างเป็นทางการในฐานะแขกของรัฐผู้รับ รัฐผู้รับจะจัดพิธีการต้อนรับอย่างเป็นทางการเต็มรูปแบบ - Official Visit การเยือนอย่างเป็นทางการในฐานะแขกของ รัฐบาล หมายถึง การเยือนเป็นทางการของประมุขของรัฐ มกุฎราชกุมาร หัวหน้ารัฐบาล หรือหัวหน้าองค์การระหว่างประเทศที่มีตำแหน่ง เทียบเท่า โดยเป็นแขกรับเชิญของรัฐบาล และจัดพิธีการรับรองต่าง ๆ อย่างเป็นทางการเต็มรูปแบบ - Visit as Guest of the Royal Thai Government การเยือนในฐานะแขกของรัฐบาล หมายถึง การเยือนของประมุขของรัฐ หัวหน้ารัฐบาลและหัวหน้า องค์การระหว่างประเทศที่มีตำแหน่งเทียบเท่าซึ่งไม่ได้เดินทางมาเยือนอย่าง เป็นทางการหรือเพื่อเจรจาทำงาน รวมทั้งการเสด็จฯ เยือนของพระราชวงศ์ รองประธานาธิบดีและบุคคลสำคัญอื่น ๆ ที่มีตำแหน่งเทียบเท่า ซึ่งรัฐบาลไทยปรารถนาที่จะแสดงไมตรีจิตโดยเชิญให้มาเยือนประเทศไทยในฐานะแขก ของรัฐบาล และจัดการต้อนรับให้ เหมาะสมและสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของการเยือนในแต่ละกรณี - Working Visit การเยือนเพื่อเจรจาทำงาน หมายถึง การเยือนของบุคคลสำคัญจากต่างประเทศในระดับประมุขของรัฐ หัวหน้ารัฐบาล และหัวหน้าองค์การระหว่างประเทศที่มีตำแหน่งเทียบเท่าที่มีจุดมุ่งหมายเพื่อ เจรจาในปัญหาหรือประเด็นใดเป็นการเฉพาะในระยะเวลาอันสั้น - Visit as Guest of Their Majesties the King and Queen of Thailand การเยือนในฐานะพระราชอาคันตุกะส่วนพระองค์ หมายถึง การเสด็จเยือนของพระราชวงศ์ต่างประเทศ หรือการเยือนของบุคคลสำคัญจากต่างประเทศ ในฐานะพระราชอาคันตุกะส่วน พระองค์ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ - Private Visit การเยือนส่วนตัวหรือแวะผ่าน หมายถึง การเยือนของบุคคลสำคัญจากต่างประเทศในระดับประมุขของรัฐ พระราชวงศ์ หัวหน้ารัฐบาล หรือผู้นำองค์การระหว่างประเทศที่มีตำแหน่งเทียบเท่า และบุคคลสำคัญอื่น ๆ ที่มีจุดมุ่งหมายเพื่อเยือนเป็นการส่วนตัวหรือการแวะผ่านประเทศในระยะเวลา อันสั้น รัฐผู้รับจะจัดการอำนวยความสะดวกต่าง ๆ ให้ตามความเหมาะสม " [การทูต] |
Work of the United Nations for the Independence of Colonial Peoples | งานขององค์การสหประชาชาติ ในการช่วยให้ชาติอาณานิคมทั้งหลายได้รับความเป็นเอกราช นับตั้งแต่เริ่มตั้งองค์การสหประชาชาติเมื่อปี ค.ศ.1945 เป็นต้นมา มีชนชาติของดินแดนที่ยังมิได้ปกครองตนเอง รวมทั้งดินแดนในภาวะทรัสตีตามส่วนต่าง ๆ ของโลก ได้รับความเป็นเอกราชไปแล้วไม่น้อยกว่า 170 ล้านคน ดินแดนที่แต่ก่อนยังไม่มีฐานะปกครองตนเองราว 50 แห่งได้กลายฐานะเป็นรัฐเอกราช มีอธิปไตยไปแล้ว ขณะนี้ยังเหลือดินแดนที่ยังมิได้ปกครองตนเองอีกไม่มาก กำลังจะได้รับฐานะเป็นประเทศเอกราชต่อไปแม้ว่าปัจจัยสำคัญที่สุดซึ่งทำให้ เกิดวิวัฒนาการอันมีความสำคคัญทางประวัติศาสตร์ จะได้แก่ความปรารถนาอย่างแรงกล้าของประชาชนในดินแดนเมืองขึ้นทั้งหลาย แต่องค์การสหประชาชาติก็ได้แสดงบทบาทสำคัญในการส่งเสริมและสนับสนุนชนชาติ ที่ยังมิได้เป็นเอกราช และชาติที่ยังปกครองดินแดนเหล่านั้นอยู่ ให้รีบเร่งที่จะให้ชาชาติในดินแดนเหล่านั้นได้รับฐานะเป็นเอกราชโดยเร็วที่ สุดเท่าที่จะเป็นไปได้การที่องค์การสหประชาชาติมีบทบาทหน้าที่ดังกล่าวเพราะ ถือตามหลักแห่งความเชื่อศรัทธาที่ว่า มนุษย์ไม่ว่าชายหรือหญิง และชาติทั้งหลายไม่ว่าใหญ่หรือเล็ก ย่อมมีสิทธิเท่าเทียมกัน และได้ยืนยันความตั้งใจอันแน่วแน่ของประเทศสมาชิกที่จะใช้กลไกระหว่างประเทศ ส่งเสริมให้ชนชาติทั้งหลายในโลกได้ประสบความก้าวหน้าทั้งในทางเศรษฐกิจและ สังคมนอกจากนั้น เพื่อเร่งรัดให้ชนชาติที่ยังอยูใต้การปกครองแบบอาณานิคมได้ก้าวหน้าไปสู่ เอกราช สมัชชาของสหประชาชาติ (General Assembly of the United Nations) ก็ได้ออกปฏิญญา (Declaration) เกี่ยวกับการให้ความเป็นเอกราชแก่ประเทศและชนชาติอาณานิคม เมื่อวันที่ 14 ธันวาคม ค.ศ. 1960 ซึ่งในปฏิญญานั้น ได้ประกาศยืนยันความจำเป็นที่จะให้ลัทธิอาณานิคมไม่ว่าในรูปใด สิ้นสุดลงโดยเร็วและปราศจากเงื่อนไขใด ๆ สมัชชายังได้ประกาศด้วยว่า การที่บังคับชนชาติอื่นให้ตกอยู่ใต้อำนาจการปกครอง แล้วเรียกร้องประโยชน์จากชนชาติเหล่านั้น ถือว่าเป็นการปฏิเสธไม่ยอมรับสิทธิมนุษยชนขั้นมูลฐาน เป็นการขัดกับกฎบัตรของสหประชาชาติ เป็นอุปสรรคต่อการส่งเสริมสันติภาพและความร่วมมือของโลกสมัชชาสหประชาชาติ ยังได้ประกาศต่อไปว่า จะต้องมีการดำเนินการโดยด่วนที่สุด โดยไม่มีเงื่อนไขหรือข้อสงวนใด ๆ ตามเจตนารมณ์ ซึ่งแสดงออกอย่างเสรี โดยไม่จำกัดความแตกต่างในเรื่องเชื้อชาติ หลักความเชื่อถือ หรือผิว เพื่อให้ดินแดนทั้งหลายที่ยังไม่ได้มีการปกครองของตนเองเหล่านั้นได้รับความ เป็นเอกราชและอิสรภาพโดยสมบูรณ์ในปี ค.ศ. 1961 สมัชชาสหประชาชาติก็ได้จัดตั้งคณะกรรมการพิเศษขึ้นคณะหนึ่ง เพื่อตรวจดูและให้มีการปฏิบัติให้เป็นตามคำปฏิญญาของสหประชาชาติ และถึงสิ้นปี ค.ศ. 1962 คณะกรรมการดังกล่าวได้ประชุมกันหลายต่อหลายครั้งทั้งในและนอกสำนักงานใหญ่ ขององค์การสหประชาชาติ แล้วรวบรวมเรื่องราวหลักฐานจากบรรดาตัวแทนของพรรคการเมืองทั้งหลาย จากดินแดนที่ยังไม่ได้รับการปกครองตนเอง แล้วคณะกรรมการได้ตั้งข้อเสนอแนะต่าง ๆ โดยมุ่งจะเร่งรัดให้การปกครองอาณานิคมสิ้นสุดลงโดยเร็วที่สุดเท่าที่จะทำได้ [การทูต] |
Work of the United Nations on Human Rights | งานขององค์การสหประชาชาติว่าด้วยสิทธิมนุษยชน งานสำคัญชิ้นหนึ่งของสหประชาชาติคือ วควมมปรารถนาที่จะให้ประเทศทั้งหลายต่างเคารพและให้ความคุ้มครองแก่สิทธิ มนุษยชนตลอดทั่วโลก ดังมาตรา 1 ในกฎบัตรของสหประชาติได้บัญญัติไว้ว่า?1. เพื่อธำรงไว้ซึ่งสันติภาพและความมั่นคงระหว่างประเทศ และมีเจตนามุ่งมั่นต่อจุดหมายปลายทางนี้ จะได้ดำเนินมาตรการร่วมกันให้บังเกิดผลจริงจัง เพื่อการป้องกันและขจัดปัดเป่าการคุกคามต่อสันติภาพ รวมทังเพื่อปราบปรามการรุกรานหรือการล่วงละเมิดอื่น ๆ ต่อสันติภาพ ตลอดจนนำมาโดยสันติวิธี และสอดคล้องกับหลักแห่งความยุติธรรมและกฎหมายระหว่างประเทศ ซึ่งการปรับปรุงหรือระงับกรณีพิพาทหรือสถานการณ์ระหว่างประเทศ อันจะนำไปสู่การล่วงละเมิดสันติภาพได้ 2. เพื่อพัฒนาสัมพันธไมตรีระหว่างประชาชาติทั้งปวงโดยยึดการเคารพต่อหลักการ แห่งสิทธิเท่าเทียมกัน และการกำหนดเจตจำนงของตนเองแห่งประชาชนทั้งปวงเป็นมูลฐานและจะได้ดำเนิน มาตรการอันเหมาะสมอย่างอื่น เพื่อเป็นกำลังแก่สันติภาพสากล 3. เพื่อทำการร่วมมือระหว่างประเทศ ในอันที่จะแก้ปัญหาระหว่างประเทศในทางเศรษฐกิจ การสังคม วัฒนธรรม และมนุษยธรรม รวมทั้งการส่งเสริมสนับสนุนการเคารพสิทธิมนุษยชนและอิสรภาพ อันเป็นหลักมูลฐานสำหรับทุก ๆ คนโดยปราศจากความแตกต่างด้านเชื้อชาติ เพศ ภาษา หรือศาสนา 4. เพื่อเป็นศูนย์กลางและประสานการดำเนินงานของประชาชาติทั้งปวงในอันที่จะ บรรลุจุดหมายปลายทางเหล่านี้ร่วมกันด้วยความกลมกลืน"ดังนั้น เมื่อวันที่ 10 ธันวาคม ค.ศ. 1948 สมัชชาแห่งสหประชาชาติจึงได้ลงข้อมติรับรองปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน ซึ่งนับเป็นครั้งแรกในประวัติศาสตร์ชุมชนระหว่างประเทศ ที่ได้ยอมรับผิดชอบที่จะให้ความคุ้มครอง และเคารพปฏิบัติตามสิทธิมนุษยชนปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน ประกอบด้วยข้อความรวม 30 มาตรา กล่าวถึง1. สิทธิของพลเมืองทุกคนที่จะมีเสรีภาพ และความเสมอภาค รวมทั้งสิทธิทางการเมือง2. สิทธิทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม มาตรา 1 และ 2 เป็นมาตราที่กล่าวถึงหลักทั่วไป เช่น มนุษย์ปุถุชนทั้งหลายต่างเกิดมาพร้อมกับ อิสรภาพ และทรงไว้ซึ่งศักดิ์ศรีและสิทธิเท่าเทียมกัน ดังนั้น ทุกคนย่อมมีสิทธิและอิสรภาพตามที่ระบุในปฏิญญาสากล โดยไม่คำนึงถึงความแตกต่างใด ๆ เชื้อชาติ เพศ ภาษา ศาสนา ความเห็นทางการเมือง หรืออื่น ๆ ต้นกำเนิดแห่งชาติหรือสังคม ทรัพย์สินหรือสถานภาพอื่น ๆ ส่วนสิทธิของพลเมืองและสิทธิทางการเมืองนั้น ได้รับการรับรองอยู่ในมาตร 3 ถึง 21 ของปฏิญญาสากล เช่น รับรองว่าทุกคนมีสิทธิที่จะมีชีวิตอยู่ มีเสรีภาพและความมั่นคงปลอดภัย มีอิสรภาพจากความเป็นทาสหรือตกเป็นทาสรับใช้ มีเสรีภาพจากการถูกทรมาน หรือการถูกลงโทษอย่างโหดร้าย สิทธิที่จะได้รับการรับรองเป็นบุคคลภายใต้กฎหมาย ได้รับความคุ้มครองเท่าเทียมกันภายใต้กฎหมาย มีเสรีภาพจากการถูกจับกุม กักขัง หรือถูกเนรเทศโดยพลการ มีสิทธิที่จะเคลื่อนย้ายไปไหนมาไหนได้ สิทธิที่จะมีสัญชาติ รวมทั้งสิทธิที่จะแต่งงานและมีครอบครัว เป็นต้นส่วนมาตรา 22 ถึง 27 กล่าวถึงสิทธิทางเศรษฐกิจ ทางสังคม และทางวัฒนธรรม เช่น มีสิทธิที่จะอยู่ภายใต้การประกันสังคม สิทธิที่จะทำงาน สิทธิที่จะพักผ่อนและมีเวลาว่าง สิทธิที่จะมีมาตรฐานการครองชีพสูงพอที่จะให้มีสุขภาพอนามัย และความเป็นอยู่ที่ดี สิทธิที่จะได้รับการศึกษาและมีส่วนร่วมในชีวิตความเป็นอยู่ตามวัฒนธรรมของ ชุมชน มาตรา 28 ถึง 30 กล่าวถึงการรับรองว่า ทุกคนมีสิทธิที่จะมีขีวิตอยู่ท่ามกลางความสงบเรียบร้อยของสังคมและระหว่าง ประเทศ และขณะเดียวกันได้เน้นว่า ทุกคนต้องมีหน้าที่และความรับผิดชอบต่อชุมชนด้วยสมัชชาสหประชาชาติได้ประกาศ ให้ถือปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชนนี้ เป็นมาตรฐานร่วมกันที่ทุกประชาชาติจะต้องปฏิบัติตามให้ได้ และเรียกร้องให้รัฐสมาชิกของสหประชาชาติช่วยกันส่งเสริมรับรองเคารพสิทธิและ เสรีภาพตามที่ปรากฎในปฏิญญาสากลโดยทั่วกัน โดยเล็งเห็นความสำคัญในเรื่องสิทธิมนุษยชนนี้ สมัชชาสหประชาชาติจึงลงมติเมื่อวันที่ 4 ธันวาคม ค.ศ. 1950 ให้ถือวันที่ 10 ธันวาคมของทุกปี เป็นวันสิทธิมนุษยชนทั่วโลก [การทูต] |
Achievement Motivation | การปรารถนาความสำเร็จ [การแพทย์] |
ความคับข้องใจ | ความคับข้องใจ, สภาพทางจิตใจหรือความรู้สึกที่เป็นผลสืบเนื่องอันได้แก่ ความหงุดหงิด กระวนกระวายใจ กลุ้มใจ สิ่งเหล่านี้มาจากความปรารถนาที่บุคคลมุ่งหวัง แต่ถูกขัดขวาง ทำให้ลดแรงจูงใจ บั่นทอนอิทธิพลความพยายาม ไม่สามารถบรรลุเป้าหมาย ไม่ตอบสนองความต้องการของตนเองได้ ด้วยอุปสรร [สุขภาพจิต] |
กลไกป้องกันทางจิต | กลไกป้องกันทางจิต, วิธีการปรับตัวและปรับจิตใจเพื่อให้ผ่านพ้นจากผลกระทบที่ก่อให้เกิดความ สับสน ความอึดอัดใจ ความคับข้องใจ ความขัดแย้ง จนเป็นความเจ็บปวดที่เกิดขึ้นในจิตใจของบุคคล อันเนื่องมาจากสถานการณ์ที่ปรารถนาหรือถูกคุกคามอย่างที่สุด เพื่อป้องกันตนเองในระดับจิตไร้สำนึก ให้ [สุขภาพจิต] |
การปรับตัว | การปรับตัว, การกระทำหรือจัดการให้สามารถอยู่ในสมดุลย์ตนเอง หรือคงอยู่ในสังคมรอบข้าง หรืออยู่รอดในสภาวะแวดล้อม หรืออยู่ร่วมกับเทคโนโลยีที่มีการเปลี่ยนแปลง ถือเป็นความเป็นจริงของชีวิต ไม่ว่าทั้งสี่สิ่งจะมีสถานการณ์ที่ปรารถนาหรือทำให้ลำบากใจ อันเป็นไปเพื่อสนองตอบความต้อง [สุขภาพจิต] |
ache | (vi) ปรารถนา, See also: ต้องการ, ประสงค์, อยาก |
ambition | (n) ความทะเยอทะยาน, See also: ความปรารถนาอันแรงกล้า, ความมักใหญ่ใฝ่สูง, Syn. aspiration |
amorousness | (n) ความรักและปรารถนา |
appetite | (n) ความอยาก, See also: ความปรารถนา, Syn. appetence, desire, appetency |
aspirant | (n) ผู้ที่มีความปรารถนา |
aspiration | (n) ความทะเยอทะยาน, See also: ความมักใหญ่ใฝ่สูง, ความมุ่งมาดปรารถนา, ความทะยานอยาก, Syn. eagerness, yearning, ambition |
aspire | (vi) มีความต้องการ, See also: มีความปรารถนา, ทะเยอทะยาน, Syn. yearn, want |
aspiring | (adj) ที่ต้องการ, See also: ที่ปรารถนาให้ถึงจุดหมาย, Syn. ambitious |
avid | (adj) ซึ่งปรารถนา, See also: ซึ่งต้องการมาก, Syn. keen, greedy |
aspire after | (phrv) อยากมี, See also: ต้องการ, ปรารถนาที่จะ, มุ่งที่จะเป็น, แสวงหา, Syn. aspire to |
aspire to | (phrv) อยากมี, See also: ต้องการ, ปรารถนาที่จะ, มุ่งที่จะเป็น, แสวงหา, Syn. aspire after |
belly | (n) ความปรารถนาที่จะมีหรือทำบางสิ่ง, Syn. desire |
be dying for | (phrv) กระหาย, See also: ปรารถนาอย่างมาก, ต้องการมาก |
concupiscence | (n) ความปรารถนาอย่างมาก (โดยเฉพาะทางเพศ), Syn. lust, lechery, prurience |
covet | (vi) อยากได้ของผู้อื่น, See also: ปรารถนา |
covet | (vt) อยากได้ของผู้อื่น, See also: ปรารถนา, Syn. desire, envy |
crave | (vt) ปรารถนา, See also: ต้องการ, Syn. desire, covet, need |
crave | (vi) ปรารถนา, See also: ต้องการ |
craving | (n) ความปรารถนา, Syn. desire, need, yearning |
crave for | (phrv) ปรารถนาอย่างควบคุมไม่ได้, See also: กระหาย, อยากได้อย่างมาก |
do without | (phrv) ไม่ปรารถนาที่จะมี (คนหรือสิ่งของ), Syn. dispense with, go without |
feel like | (phrv) อยาก, See also: ต้องการ, ปรารถนา |
find oneself | (phrv) ค้นหาตัวเอง (ในเรื่องความสามารถ, ความปรารถนา, ความเป็นตัวของตัวเองฯลฯ) |
demand | (vt) ต้องการ, See also: ประสงค์, ปรารถนา, เรียกร้อง, ถาม, สอบถาม, สั่งซื้อ, Syn. require, sue for, call for, ask for |
desiderate | (vt) อยากเห็น (คำโบราณ), See also: ปรารถนาจะเห็นบางสิ่ง |
desirability | (adj) ความพอใจ, See also: ความปรารถนา, ความชอบ, Syn. pleasedness |
desirable | (adj) เป็นที่น่าพอใจ, See also: น่าปรารถนา, เป็นที่ต้องการ, น่าปรารถนา, เป็นที่ชื่นชอบ, Syn. pleasing, likable, worth having, Ant. boring, uninteresting |
desire | (n) ความปรารถนา, See also: ความอยาก, ความประสงค์, ความต้องการ, Syn. will, wish, dun, hope, Ant. distaste, dislike |
desire | (vt) ปรารถนา, See also: อยาก, ต้องการ, ประสงค์, Syn. demand, ask for, require, Ant. hate, dislike, loathe |
expect | (vi) คาดว่า, See also: คาดหวัง, คาดการณ์, คาดหมาย, คาดคะเน, คาดหมายว่า, หวังว่า, ปรารถนาว่า, Syn. anticipate, await |
expect | (vt) คาดว่า, See also: คาดหวัง, คาดการณ์, คาดหมาย, คาดคะเน, คาดหมายว่า, หวังว่า, ปรารถนาว่า, Syn. anticipate, await |
fancy | (vt) ปรารถนา, See also: ต้องการ |
favor | (n) ความช่วยเหลือ, See also: ความปรารถนาดี, ความเอื้อเฟื้อ, Syn. support |
favorable | (adj) ซึ่งเป็นที่ชื่นชอบ, See also: ซึ่งเป็นที่ปรารถนา, ซึ่งเป็นที่นิยม, Syn. favourable, desirable, pleasing, welcome, Ant. ill-disposed, uninclined |
favour | (n) ความช่วยเหลือ, See also: ความปรารถนาดี, ความเอื้อเฟื้อ, Syn. support |
gasp for | (phrv) ปรารถนาอย่างมาก, See also: อยากมาก, Syn. pant for |
hanker after | (phrv) ปรารถนา (บางสิ่ง) อย่างมาก, Syn. hanker for |
hanker for | (phrv) ปรารถนา (บางสิ่ง) อย่างมาก, Syn. hanker after |
have one's heart set on | (idm) ปรารถนา, See also: อยากมาก |
have one's way | (idm) ทำตามปรารถนา, See also: ได้ตามต้องการ |
intend for | (phrv) อยากให้ร่วม, See also: ปรารถนาให้เข้าร่วม |
itch for | (phrv) ทำให้อยาก, See also: ทำให้ปรารถนา, Syn. long for, sigh for, yearn for |
hanker | (vi) อยากได้เป็นอย่างมาก, See also: ปรารถนาอย่างแรงกล้า, Syn. aspire, crave, yearn |
hedonism | (n) ทฤษฎีที่เชื่อว่าความสุขสบายหรือความเพลิดเพลินเป็นยอดปรารถนาที่สุด, Syn. sensualism |
hope | (vt) หวัง, See also: คาดหวัง, มีความหวัง, ปรารถนา, คาด, Syn. expect, want, wish |
hope | (vi) หวัง, See also: คาดหวัง, มีความหวัง, ปรารถนา, คาด |
have a pick-me-up | (idm) ชื่นชอบบางสิ่ง, See also: ปรารถนาบางสิ่ง |
have one's heart set on something | (idm) มีความปรารถนาหรือคาดหวังบางสิ่ง, Syn. one's heart is set on something, Ant. one's heart is set on something |
much sought after | (idm) น่าปรารถนาอย่างยิ่ง, See also: เป็นที่ต้องการยิ่ง |
one's heart is set on | (idm) มีความปรารถนาหรือความคาดหวังบางสิ่ง, Syn. have one's heart set on something, Ant. have one's heart set on something |
ambition | (แอมบิช' เชิน) n. ความทะเยอทะยาน, ความมักใหญ่ใฝ่สูง, ความปรารถนาอันแรงกล้า, เป้าหมายของความปรารถนาดังกล่าว . -vt. ปรารถนา อย่างแรงกล้า. -ambitionless adj., Syn. longing, goal, Ant. aimlessness |
ambitious | (แอมบิช' เชิส) adj. ทะเยอทะยาน, ปรารถนาอย่างแรงกล้า, มักใหญ่ใฝ่สูง. -ambitiousness n., Syn. aspiring, purposeful |
appetite | (แอพ'พิไททฺ) n. ความอยากอาหารหรือเครื่องดื่ม, ความต้องการของร่างกาย, ความปรารถนา, ความชอบ, Syn. desire, craving, relish, liking, Ant. aversion, distaste |
aspirant | (แอส'พิเรินทฺ) n. ผู้ปรารถนา, ผู้แสวงหา, ผู้อยากได้. -adj. อยากได้, แสวงหา |
aspiration | (แอสพเร'เชิน) n. ความปรารถนา, ความอยาก, การออกเสียงเป็นเสียงลมหายใจออก, การหายใจ, Syn. desire, hope, yearning |
athirst | (อะเธิร์สท) adj. มีความปรารถนามาก, กระหายน้ำ (eager, thirsty) |
avid | (แอฟ'วิด) adj. ต้องการ, อยาก, หิวกระหาย, ปรารถนาอย่างมาก, ละโมบ, Syn. anxious |
avidity | (อะวิด'ดิที) n. ความกระหาย, ความปรารถนาอย่างมาก, ความละโมบ, Syn. enthusiasm, greed, Ant. indifference |
breathing | (บรีธ'ธิง) n. การหายใจ, กระบวนการหายใจ, การหายใจอึดหนึ่ง, การหยุดพักหายใจ, การเอ่ยคำ, ความปรารถนา, ชั่วแวบเดียว, การโชยพัดเบา |
competitive | (คัมเพท'ทิทิฟว) adj. เกี่ยวกับการแข่งขัน, ซึ่งสามารถแข่งขันได้, มีความปรารถนาอันแรงกล้าที่จะแข่งหรือเพื่อประสบความสำเร็จ, See also: competitiveness n. ดูcompetitive, Syn. emulative, rivaling, Ant. cooperative |
compliment | (คอม'พลิเมินทฺ) n. คำสรรเสริญ, คำชมเชย, คำอวยพร, ของขวัญ. vi. สรรเสริญ, ชมเชย, อวยพร, แสดงความปรารถนาดี, แสดงความยินดี vi. สรรเสริญ, ชมเชย, Syn. flatter -Conf. complement |
covet | (คัฟ'เวท) { coveted, coveting, covets } vt. โลภ, ปรารถนา (ทรัพย์สมบัติของบุคคลอื่น) อย่างไม่เหมาะสม, อยากได้มาก vi. ปรารถนา (อย่างไม่เหมาะสม), See also: coveter n. ดูcovet, Syn. desire, lust, Ant. relinquish |
covetous | (คัฟ'วิทัส) adj. ซึ่งปรารถนา (อย่างไม่เหมาะสม) , อยากได้มาก, See also: covetousness n., Syn. greedy, lustful, Ant. generous |
crave | (เครฟว) ชcraved, craving, craves } vt. กระหาย, อยากได้มาก, เงื่อน, ต้องการ, ปรารถนา, อ้อนวอน vi. ปรารถนา, ต้องการ, Syn. ask, desire |
craving | (เคร'วิง) n. ความกระหายมาก, ความอยากได้มาก, ความเงื่อน, ความปรารถนาอย่างรุนแรง, Syn. desire, lust |
desiderate | (ดิซิด'ดะเรท) vt. ปรารถนา, ต้องการมาก, , See also: desideration n. |
desirable | (ดิไซ'ระเบิล) adj. น่าเอา, ดีเลิศ, น่ายินดี, ซึ่งถูกอกถูกใจ, น่าปรารถนา. n. บุคคลหรือสิ่งของที่น่าปรารถนา., See also: desirability n., Syn. good, acceptable |
desire | (ดิไซ'เออะ) n. ความต้องการ, ราคะ, สิ่งที่ต้องการ. vt. ปรารถนา, ต้องการ, ประสงค์, Syn. longing |
dream | (ดรีม) { dreamed/dreamt, dreaming, dreams } n. ปรารถนา, สิ่งที่สวยงามประดุจฝัน. vi., vt. ฝัน, นึกฝัน, เพ้อฝัน -Phr. (dream up วางแผน) . -adj. ดีเลิศเป็นที่ปรารถนา., See also: dreamer n. dreaminglyadv., Syn. illusion, fantasy, vis |
earn | (เอิร์น) v. หาได้, หามาได้, ได้กำไร, ได้รับ, สมควรได้รับ, มีรายได้, อยากได้, ปรารถนา, See also: earner n. |
fain | (เฟน) adv., adj. เต็มใจ, ยินดี, ปรารถนา, ใฝ่ฝัน, จำต้อง |
gasp | (กาสพฺ) n. การหอบ, การอ้าปากหายใจ, การหายใจไม่ค่อยออก, การอ้าปากค้างด้วยความประหลาดใจ. vi. หายใจหอบ, หอบ, อ้าปากหายใจ, ปรารถนา, อยาก. vt. พูดหอบ., See also: gasply adj., Syn. gulp, pant, sigh |
groan | (โกรน) n., v. (ส่ง) เสียงครวญคราง, เสียงพึมพำแสดงความไม่พอใจหรืออื่น ๆ , ปรารถนา, ถูกบีบคั้น, รับน้ำหนักมากเกินไป, See also: groaner n. groaningly adv., Syn. lament, moan |
hankering | n. ความอยากได้, ความปรารถนา, ความทะเยอทะยาน., Syn. longing, craving |
hedonism | (เฮด'ดะนิสซึม) n. ทฤษฎีที่เชื่อว่าความสุขสบายหรือความเพลิดเพลินเป็นยอดปรารถนาที่สุด. |
hone | (โฮน) n. หินลับมีด, เครื่องขัดรูหรือขยายรู. vt. ลับมีค, ขัดรู, ขยาย vi. คร่ำครวญ, ปรารถนา, Syn. strop |
hope | (โฮพ) n. ความหวัง, ความปรารถนา, สิ่งที่หวังไว้, ตัวเก็ง vt., vi. หวัง, คาดหมาย, ปรารถนา, ไว้วางใจ, Syn. expectation |
hungry | (ฮัง'กรี) adj. หิว, กระหาย, อยาก, ปรารถนา, ข้าวยากหมากแพง., See also: hungrily, hungeringly adv. hungriness n., Syn. eager, Ant. satiated |
intend | (อินเทนดฺ') vt., vi. ตั้งใจ, ปรารถนา, มีเจตนา, มุ่งหมาย, มีความหมาย., See also: intender n., Syn. propose |
itch | (อิทชฺ) vi. รู้สึกคัน, ทำให้คัน. vt. ทำให้คัน, รบกวน, ทำให้ระคายเคือง. n. ความรู้สึกคัน, ความอยากได้, ความปรารถนา, โรคหิด |
kibitz | (คิบ'บิทซ) vi. ยุ่งเรื่องคนอื่น, เสือก, (คนดู) ชอบให้คำแนะนำที่ไม่พึงปรารถนาแก่ผู้เล่น |
like | (ไลคฺ) { liked, liking, likes } adj., prep. เหมือนกัน, คล้ายกัน, อย่างเดียวกัน, จวนจะ, ดูเหมือน. adv. ใกล้จะ, เกือบจะ, โดยประมาณ, ดูเหมือน. conj. เหมือนกับ, ยังกับ. n. สิ่งที่เหมือนกัน, คนที่เหมือนกัน, ชนิด, ประเภท. v. เกือบจะ, ชอบ, อยาก, ปรารถนา, n. สิ่งที่ชอบ, สิ่งที่ปรารถนา |
long | (ลอง) { longed, longing, longs } adj. ยาว, ไกล, นาน, ยาวนาน, ช้า, สูง, เสียงยาว n. ระยะเวลาอันยาวนาน, สิ่งที่ยาว, ผู้ลงทุนซื้อสินค้าเพื่อหวังกำไรจากราคาที่คาดว่าจะสูงขึ้น. vi. ปรารถนา, ใคร่จะ, อยาก -Phr. (before long ไม่ช้า) adv. ยาวนาน, ชั่ว, ตลอดระยะเวลาที่กำหนดไว้, ตลอดระยะเวลาที่กำหนดไว้, ตลอด, ทั้ง, ไกล (as long as ตราบใดที่) |
longing | (ลอง'กิง) adj. ยืดยาว, ไม่หยุดหย่อน, เฝ้าปรารถนา. n. ความต้องการ, ความปรารถนา., See also: longingness n. ดูlonging |
lust | (ลัสทฺ) n. ราคะ, กามตัณหา, โลกีย์, ความปรารถนา, ตัณหา, ความกระตือรือร้น, ความทะเยอทะยาน vi. มีกามตัณหาสูง, ชอบโลกีย์, ปรารถนา, Syn. sexual desire, craving, lechery, desire, want |
optative | (ออพเท'ทิฟว) adj. ประสงค์, ปรารถนา. n. รูปประโยคประสงค์, |
pant | (แพนท) vi., n. หายใจลึกและเร็ว, ปรารถนา |
pleasure | (เพลส'เชอะ) n. ความพอใจ, ความถูกใจ, ความสบาย, ความสุข, ความยินดี, ความต้องการ, ความปรารถนา. vt. ทำให้พอ, ทำให้ถูกใจ, ทำให้สบาย. vi. ยินดี, พอใจ., See also: pleasureless adj. pleasurelessly adv. pleasureful adj., Syn. happine |
realisation | (รีอะไลเซ'เชิน) n. การทำให้เป็นจริง, การเข้าใจอย่างแท้จริง, การสำนึก, การเปลี่ยนให้เป็นเงินสดหรือเงิน, ได้รับกำไรหรือรายได้สำหรับตนเอง, การขายได้เงิน, ความสมปรารถนา, Syn. understanding |
realise | (รี'อะไลซ) vt. เข้าใจ, สำนึก, ทำให้เป็นจริง, ทำให้สมปรารถนา, ทำให้บรรลุผล, เปลี่ยนเป็นเงินสดหรือเงิน, ได้กำไรหรือมีรายได้, ขายได้กำไร vi. เปลี่ยนทรัพย์สินหรือสินค้าให้เป็นเงินสดหรือเงิน, See also: realisable adj. realizable adj. realisably adv. |
realization | (รีอะไลเซ'เชิน) n. การทำให้เป็นจริง, การเข้าใจอย่างแท้จริง, การสำนึก, การเปลี่ยนให้เป็นเงินสดหรือเงิน, ได้รับกำไรหรือรายได้สำหรับตนเอง, การขายได้เงิน, ความสมปรารถนา, Syn. understanding |
realize | (รี'อะไลซ) vt. เข้าใจ, สำนึก, ทำให้เป็นจริง, ทำให้สมปรารถนา, ทำให้บรรลุผล, เปลี่ยนเป็นเงินสดหรือเงิน, ได้กำไรหรือมีรายได้, ขายได้กำไร vi. เปลี่ยนทรัพย์สินหรือสินค้าให้เป็นเงินสดหรือเงิน, See also: realisable adj. realizable adj. realisably adv. |
require | (รีไคว'เออะ) vt., vi. ต้องการ, ประสงค์, ปรารถนา, ขอร้อง, เรียกร้อง, กำหนด, See also: requirable adj. requirer n., Syn. need, demand |
undesirable | (อันดิไซ'ระเบิล) adj., n. (ผู้) ไม่เป็นที่พึงปรารถนา, See also: undesirableness n. undesirably adv., Syn. objectionable |
voice | (วอยซฺ) n. เสียงร้อง, เสียงร้องของคน, เสียงพูด, เสียงเปล่ง, ความสามารถในการพูดหรือร้อง, สิทธิในการแสดงความคิดเห็น, ความต้องการ, ความปรารถนา, ความคิดเห็น, สิทธิในการออกเสียง, ปากเสียง, โฆษก, วาจกในไวยากรณ์, นักร้อง, ส่วนที่ขับร้องของบทดนตรี, ความสามารถในการขับร้อง |
volition | (โวลิช'เชิน) n. ความตั้งใจ, ความปรารถนา, การเลือกหรือการตัดสินใจด้วยตัวเอง, กำลังใจ, ความเห็นใจ., See also: volitional adj. volitionary adj., Syn. will, willpower |
want | (วอนทฺ) vt. vi., ต้องการ, ปรารถนา, อยาก, ขาดแคลน, หา, ล่า n. สิ่งที่ต้องการ, สิ่งที่จำเป็น, ความขาดแคลน, ความยากจน, การขาดแคลนสิ่งจำเป็นของชีวิต, ความรู้สึกต้องการ Phr. (want out ต้องการออก), See also: wanter n., Syn. esire, lack, sha |
will | (วิล) auxiliary v. ใช้แสดงอนาคตกับบุรุษที่ 1 และ 3 (ช่อง 2เป็น would) , จะ, อาจจะ, ควรจะ, ย่อมจะ vt. vi., n. (ความ) ประสงค์, ปรารถนา, พึงจะ, ชอบ, พอใจ, อยากจะ, พินัยกรรม, ความกระตือรือร้น vt. ตัดสินใจ, ทำพินัยกรรมยกให้, ใช้อำนาจจิตบังคับ vi. ตั้งใจ, ตัดสินใจ |
wish | (วิช) vt., vi., n. (การ) ปรารถนา, ประสงค์, ต้องการ, อยากให้, หวัง, อวยพร, ให้พร, สั่ง, สิ่งที่ปรารถนา, -Phr. (wish on บังคับปรารถนา), See also: wisher n. wishless adj., Syn. desire |
wishful | (วิช'ฟูล) adj. มีความปรารถนา, See also: wishfully adv. wishfulness n., Syn. desirous, wistful |
aspirant | (n) ผู้ออกเสียง, ผู้ใฝ่สูง, ผู้ปรารถนา, ผู้แสวงหา |
aspiration | (n) การออกเสียง, การหายใจ, ความปรารถนา, ความทะเยอทะยาน |
aspire | (vi) ปรารถนา, ต้องการ, ทะเยอทะยาน |
athirst | (adj) กระหาย, ต้องการ, ปรารถนาอย่างแรงกล้า |
avid | (adj) งก, ละโมบ, โลภ, อยากได้, ต้องการ, มักได้, กระหาย, ปรารถนา |
avidity | (n) ความละโมบ, ความโลภ, ความอยาก, ความต้องการ, ความมักได้, ความปรารถนา, ความงก |
covet | (vt) โลภ, ปรารถนา, อยากได้ |
covetous | (adj) โลภ, ละโมบ, อยากได้, ปรารถนามาก |
covetousness | (n) ความละโมบ, ความโลภ, ความอยากได้, ความปรารถนา |
desirability | (n) ความน่ายินดี, ความน่าปรารถนา, ความถูกใจ |
desirable | (adj) น่ายินดี, น่าพอใจ, เป็นที่ถูกใจ, เป็นที่พึงปรารถนา |
desire | (n) ความต้องการ, ความปรารถนา, ความประสงค์, ความอยาก, ราคะ |
desire | (vi, vt) ต้องการ, ปรารถนา, ประสงค์, อยากได้ |
desirous | (adj) เป็นที่พึงปรารถนา, เป็นที่ต้องการ |
fain | (adj) ใฝ่ฝัน, ปรารถนา, ยินดี, เต็มใจ, ชอบ |
fulfil | (vt) ทำให้สำเร็จ, ทำให้บรรลุผล, ทำให้สมปรารถนา, ปฏิบัติตาม, สนอง |
fulfill | (vt) ทำให้สำเร็จ, ทำให้บรรลุผล, ทำให้สมปรารถนา, ปฏิบัติตาม, สนอง |
fulfillment | (n) การทำให้สำเร็จ, การบรรลุผล, ความสมปรารถนา, การปฏิบัติภารกิจ |
fulfilment | (n) การทำให้สำเร็จ, การบรรลุผล, ความสมปรารถนา, การปฏิบัติภารกิจ |
goodness | (n) ความดี, ความกรุณาปรานี, ความปรารถนาดี, คุณงามความดี |
goodwill | (n) ไมตรีจิต, น้ำใจ, ความปรารถนาดี, ความนิยม |
hanker | (vi) อยากได้, ปรารถนา, ทะเยอทะยาน |
hope | (vi) หวัง, เก็ง, คาดหมาย, ปรารถนา |
hungry | (adj) หิว, กระหาย, ตะกละ, โลภ, อยาก, ปรารถนา |
intend | (vi, vt) ตั้งใจ, มุ่งหมาย, เจตนา, ปรารถนา |
itch | (n) ความคัน, ความกระหาย, โรดหิด, ความโลภ, ความปรารถนา |
itch | (vt) ทำให้คัน, อยาก, กระหาย, ปรารถนา |
like | (vt) ชอบ, พอใจ, ต้องการ, สมัครใจ, ถูกใจ, ปรารถนา, อยาก |
long | (vi) ปรารถนา, ใคร่ได้, อยากได้, ต้องการ |
longing | (adj) ปรารถนา, ใคร่ได้, อยากได้, ไม่หยุดหย่อน |
lust | (n) ตัณหา, ความอยาก, ราคะ, ความปรารถนา, ความต้องการทางเพศ |
lust | (vi) อยากได้, ปรารถนา, ทะเยอทะยาน, ใคร่ได้ |
pant | (vi) หอบ, ใคร่ได้, ปรารถนา, สั่นระริก, เต้นถี่ |
realization | (n) การทำให้สำเร็จ, การทำให้เป็นจริง, การสำนึก, ความสมปรารถนา |
realize | (vt) ทำให้สมปรารถนา, ทำให้เป็นจริง, ทำให้บรรลุผล, สำนึก |
require | (vt) เรียกร้อง, ต้องการ, บังคับ, ปรารถนา, ประสงค์ |
satisfaction | (n) ความสมปรารถนา, ความพอใจ, ความสาแก่ใจ |
satisfactorily | (adv) อย่างสมปรารถนา, อย่างพอใจ, อย่างหนำใจ, อย่างสาแก่ใจ |
satisfy | (vt) ทำให้จุใจ, ทำให้พอใจ, ทำให้หนำใจ, ทำให้สมปรารถนา |
undesirable | (adj) ไม่พึงปรารถนา, เป็นที่น่ารังเกียจ |
unwelcome | (adj) ไม่พึงปรารถนา, ไม่พอใจ, ไม่ต้อนรับ |
volition | (n) ความตั้งใจ, ความเต็มใจ, กำลังใจ, ความปรารถนา |
want | (n) ความต้องการ, ความปรารถนา, ความอยาก, ความขาดแคลน |
want | (vt) ต้องการ, ปรารถนา, อยาก, ขาด, บกพร่อง, หา |
wish | (n) ความประสงค์, ความปรารถนา, ความต้องการ, คำอวยพร, คำอธิษฐาน |
wish | (vi) ประสงค์, อวยพร, ปรารถนา, อยาก, มุ่งหวัง |
wishful | (adj) ประสงค์, ปรารถนา, นึกอยาก |
wistful | (adj) อยากได้, โหยหา, ปรารถนา |
yearn | (vi) อยากได้, รำพึงถึง, ปรารถนา, ต้องการ, ใฝ่ฝัน |
zealous | (adj) กระตือรือร้น, ขยันขันแข็ง, ปรารถนาสูง |