ปอด | (n) lung, Example: การร้องไห้ครั้งแรกของเด็กไม่ได้เกิดมาจากความเสียใจแต่เพื่อเป็นการให้ปอดทำงาน, Count Unit: ข้าง, Thai Definition: อวัยวะทำหน้าที่เกี่ยวกับการหายใจ อยู่ภายในร่างกายของคนหรอสัตว์ที่มีกระดูกสันหลังเป็นส่วนมาก |
ปอด | (v) be scared, See also: be afraid, tremble with fear, be frightened, Syn. หวาด, Example: หากถึงขั้นฟ้องคดี ชาวบ้านหลายคนก็ปอดขึ้นมา, Thai Definition: ใจไม่สู้ดี ชักจะหวาดๆ |
ก้นปอด | (n) lean buttocks, See also: flat buttocks, Syn. ก้นแฟบ, Example: เด็กคนนี้มีพุงโต ก้นปอด, Thai Definition: ก้นที่สอบเล็กผิดปกติ, ก้นที่ไม่ใคร่มีเนื้อ |
ตูดปอด | (adj) lean buttocks, Syn. ก้นปอด, ก้นสอบเล็ก, Example: รูปร่างของเขาสูงชลูดและมีตูดปอดจนดูน่าเกลียด, Notes: (ปาก) |
ปอดบวม | (n) pneumonia, Syn. ปอดอักเสบ, Example: ถ้าไปอยู่ประเทศหนาวต้องแต่งตัวให้อุ่นอยู่เป็นประจำ มิฉะนั้นถ้าเผลออาจเป็นหวัดหรือเป็นปอดบวมได้ง่าย, Thai Definition: ปอดอักเสบเนื่องจากเชื้อโรค |
ปอดลอย | (v) faint hearted, See also: be funky, be afraid, tremble with fear, Syn. ปอด, กลัว, Ant. กล้า, กล้าหาญ, Example: พอเขาถูกขู่ฆ่าจากคู่แข่งเท่านั้น เขาก็ปอดลอยทันที, Thai Definition: ใจไม่สู้ดีชักจะหวาดๆ |
ปอดแหก | (v) be chicken-hearted, See also: be white-livered, be timid, be timorous, be cowardly, be faint-hearted, Syn. กลัว, หวาดกลัว, Example: หล่อนปอดแหกไปเสียทุกเรื่องแม้แต่การเข้าสอบสัมภาษณ์งาน, Thai Definition: กลัวมากจนไม่มีสติ, กลัวอย่างยิ่ง, Notes: (ปาก) |
ผายปอด | (v) restore respiration, See also: give artificial respiration, Example: หากผู้ป่วยหยุดหายใจให้รีบผายปอดจนกว่าจะหายใจได้เอง, Thai Definition: ช่วยทําให้ปอดของผู้ป่วยได้รับออกซิเจนเพียงพอ |
ปอดชื้น | (n) disease of lung, Example: อาการของโรคในระยะที่ 2 ของแอนแทร็กซ์จะมีอาการรุนแรงขึ้น อาจเกิดการช็อค ปอดชื้น เหงื่อออกมาก, Thai Definition: ภาวะการอักเสบของหลอดลม มีเสมหะอยู่ด้วย ทางแพทย์หมายถึงการคั่งของเลือดในปอดเนื่องจากการอักเสบ เป็นช่องทางให้เกิดปอดบวมได้ |
ปอดเหล็ก | (n) iron lung, Example: ี้เด็กบางรายต้องผ่าตัดเปลี่ยนปอดเป็นปอดเหล็กตั้งแต่เด็กเนื่องจากโรคโปลีโอ, Count Unit: ข้าง, Thai Definition: เครื่องกลไกสร้างด้วยโลหะ ใช้ทำให้เกิดการบีบ และขยายของทรวงอกในการหายใจแทนการเคลื่อนไหวตามธรรมชาติ เมื่อมีการอัมพาตของกล้ามเนื้อ เช่น ในโรคโปลีโอ |
กระปอดกระแปด | (adv) grumblingly, See also: incessantly, murmurously, Syn. ร่ำไร, Example: ถึงแม้แม่จะรู้สึกเป็นสุขแต่ก็ยังอดบ่นกระปอดกระแปดไม่ได้, Thai Definition: อาการที่บ่นปอดๆ แปดๆ, อาการที่บ่นร่ำไร |
โพรงเยื่อหุ้มปอด | (n) pleural cavity, Example: เขามีอาการอักเสบที่บริเวณโพรงเยื่อหุ้มปอด, Thai Definition: ช่องที่อยู่ระหว่างเยื่อหุ้มปอด |
ก้นปอด | น. ก้นที่สอบเล็กผิดปรกติ, ก้นที่ไม่ใคร่มีเนื้อ. |
กระปอดกระแปด | ว. อาการที่บ่นไม่รู้จักจบ, อาการที่บ่นรํ่ารี้ร่ำไร, ปอดแปด ก็ว่า. |
ช่ำปอด | ว. มากพอสมกับที่ใจอยาก เช่น นอนเสียช่ำปอด. |
ปอด ๑ | น. อวัยวะทำหน้าที่เกี่ยวกับการหายใจอยู่ภายในร่างกายของคนหรือสัตว์ที่มีกระดูกสันหลังเป็นส่วนมาก |
ปอด ๑ | ตัวสกาที่ข้ามเขตไปไม่ได้. |
ปอด ๑ | ว. กลัวจนไม่กล้าทำอะไร. |
ปอดชื้น | น. การอักเสบของหลอดลมที่มีเสมหะอยู่ด้วย ทางแพทย์หมายถึง การคั่งของเลือดในปอดเนื่องจากการอักเสบ เป็นช่องทางให้เกิดปอดบวมได้. |
ปอดบวม | น. ปอดอักเสบเนื่องจากเชื้อโรค. |
ปอดแปด | ว. อ่อนน่วมอยู่ภายใน, มักใช้ประกอบกับคำ เหลว เป็น เหลวปอดแปด |
ปอดแปด | อาการที่บ่นไม่รู้จักจบ, อาการที่บ่นร่ำรี้ร่ำไร, กระปอดกระแปด ก็ว่า. |
ปอดลอย | ก. ใจไม่สู้ดีชักจะหวาด ๆ, ใช้ว่า ปอด ก็มี. |
ปอดเหล็ก | น. เครื่องกลไกสร้างด้วยโลหะ ใช้ทำให้เกิดการบีบและขยายของทรวงอกในการหายใจแทนการเคลื่อนไหวตามธรรมชาติในเมื่อมีอัมพาตของกล้ามเนื้อ เช่นในโรคโปลิโอ. |
ปอดเหล็ก | ก. อดทน แข็งแรง (ใช้แก่นักกีฬาประเภทวิ่ง). |
ปอด ๒ | น. ชื่อไม้ล้มลุกชนิด Sphenoclea zeylanica Gaertn. ในวงศ์ Sphenocleaceae ขึ้นตามที่ลุ่มนํ้าขัง ลำต้นอ่อน ดอกสีเขียว ๆ ขาว ๆ ใช้เป็นผักและทำยาได้ เรียก ผักปอด, ผักปุ่มปลา ก็เรียก. |
ปอด ๓ | ว. ลักษณะก้นที่สอบและแฟบ เรียกว่า ก้นปอด, โดยปริยายใช้เรียกสิ่งอื่นที่มีลักษณะเช่นนั้น เช่น มะม่วงก้นปอด. |
ผักปอด | ดู ปอด ๒. |
ผายปอด | ก. ช่วยทำให้ปอดของผู้ป่วยได้รับออกซิเจนเพียงพอ โดยการกดหลัง การยกศอก เป็นต้น. |
ตานขโมย ๑ | น. ชื่อโรคพยาธิลำไส้อย่างหนึ่ง มักเป็นแก่เด็กอายุประมาณ ๕ ขวบขึ้นไป มีลักษณะผอม ท้องป่อง ก้นปอด แต่กินอาหารได้มาก มีอาการปวดท้องและซึม. |
แทรก ๑ | เจือเพียงนิดหน่อย เช่น แทรกยาดำ แทรกพิมเสน, เกิดขึ้นในระหว่าง เช่น มีโรคปอดบวมแทรก |
บวมน้ำ | น. ภาวะที่มีนํ้าระหว่างเซลล์หรือภายในเซลล์มากเกินปรกติอย่างใดอย่างหนึ่ง หรือทั้ง ๒ อย่าง, โดยทั่วไปหมายถึง ภาวะที่มีนํ้าอยู่ใต้ผิวหนังมากเกินปรกติ และอาจพบได้ในอวัยวะอื่น เช่น สมอง ปอด. |
บัปผาสะ | น. ปอด. |
ปลา ๑ | (ปฺลา) น. ชื่อสัตว์น้ำเลือดเย็นมีกระดูกสันหลัง ร่างกายแบ่งเป็นส่วนหัว ลำตัว และหาง หายใจด้วยเหงือกยกเว้นปลาปอด มีครีบใช้ช่วยในการเคลื่อนไหวและทรงตัว บางชนิดมีเกล็ด บางชนิดไม่มี รูปร่างลักษณะ ขนาด และพฤติกรรมแตกต่างกันมากมาย กินทั้งพืชและสัตว์ พบในแหล่งนํ้าทั่วไป. |
ปัปผาสะ | น. ปอด. |
ปุ่มปลา | น. ผักปุ่มปลา. (ดู ปอด ๒). |
ผอด | ก. หายใจ, ดูดลม (จากปอด). |
ผักปุ่มปลา | ดู ปอด ๒. |
ลมหายใจ | น. ลมที่ปอดสูบเข้าออกทางจมูกหรือทางปาก. |
เลื้อยคลาน | น. สัตว์เลือดเย็นจำพวกที่ผิวหนังมีเกล็ดปกคลุม หายใจด้วยปอดอย่างจิ้งจก จิ้งเหลน จระเข้ เต่า งู ส่วนมากวางไข่ หลายชนิดออกลูกเป็นตัว ลูกอ่อนมีลักษณะอย่างพ่อแม่ เรียกว่า สัตว์เลื้อยคลาน, เดิมเรียกว่า สัตว์เสือกคลาน. |
โลมา ๒ | น. ชื่อสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมในอันดับ Cetacea อันดับย่อย Odontoceti มีหลายชนิด หลายวงศ์ ลำตัวใหญ่ บางชนิดปลายจะงอยปากยื่นแหลม บางชนิดหัวกลมมน มีฟัน หางแบนเพื่อช่วยในการพุ้ยน้ำ มักมีครีบหลัง ๑ ครีบ หายใจด้วยปอด อาศัยอยู่ในทะเล เช่น โลมาขาวเทา [ Sotalia plumbea (Cuvier) ] ในวงศ์ Stenidae โลมาหัวขวด (Delphinus delphis Linn.) โลมาอิระวดี [ Orcaella brevirostris (Gray) ] อาศัยอยู่ได้ในน้ำจืด เช่น ทะเลสาบในจังหวัดพัทลุง และแม่น้ำโขง ทั้ง ๒ ชนิดอยู่ในวงศ์ Delphinidae โลมาหัวบาตร [ Neophocaena phocaenoides (Cuvier) ] ในวงศ์ Phocaenidae, ปลาโลมา ก็เรียก. |
วัณโรค | น. โรคชนิดหนึ่งเกิดที่ปอดเป็นต้น ทำให้ร่างกายทรุดโทรมเสื่อมไปตามลำดับ, โบราณเรียกวัณโรคปอด ว่า ฝีในท้อง. |
หลอดลม | น. ทางเดินอากาศหายใจส่วนล่าง อยู่ระหว่างท่อลมส่วนอกกับถุงลมปอด. |
หลอดลมฝอย | น. ทางเดินอากาศหายใจส่วนล่างในปอด ขนาดไม่เกิน ๑ มิลลิเมตร. |
หายใจ | ก. กิริยาที่ทำให้อากาศเข้าสู่และออกจากปอด, ยังมีชีวิตอยู่ เช่น คนเจ็บยังมีชีวิตอยู่ |
ไอ ๒ | ก. อาการที่ลมพุ่งขึ้นมาจากปอดโดยแรง เพื่อขับสิ่งที่อาจเป็นอันตรายออกมา ทำให้เกิดเสียงพิเศษจากลำคอ. |
เฮโมโกลบิน | (-โกฺล-) น. สารที่ให้สีแดงในเม็ดเลือดแดง ประกอบขึ้นด้วยโปรตีนที่เรียกว่า โกลบิน และ เฮม ซึ่งเป็นสารประกอบที่มีเหล็ก ไนโตรเจน คาร์บอน ไฮโดรเจน และออกซิเจน เป็นองค์ประกอบ มีหน้าที่นำออกซิเจน ซึ่งร่างกายสูดหายใจเข้าทางปอดไปยังส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย โดยออกซิเจนเกาะติดไปในรูปออกซิเฮโมโกลบิน และออกซิเจนแยกตัวออกได้ง่ายจากเฮโมโกลบินเมื่อไปถึงส่วนอื่นของร่างกายที่ต้องการใช้. |
Byssinosis | โรคปอดฝุ่นฝ้าย [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Silicosis | โรคปอดฝุ่นหิน [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Artificial respiration | การผายปอด [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Radiotherapy | รังสีรักษา, การบำบัดด้วยรังสี, การใช้รังสีชนิดก่อไอออนบำบัดรักษาโรค มี 4 วิธี คือ <br> 1. การฉายรังสีไปยังอวัยวะเป้าหมาย (Teletherapy) เช่น ต่อมน้ำเหลือง กล่องเสียง ปอด โดยใช้รังสีเอกซ์จากเครื่องเร่งอิเล็กตรอนเชิงเส้น หรือใช้รังสีแกมมาจากต้นกำเนิดรังสีโคบอลต์-60</br> <br> 2. การฝังสารกัมมันตรังสี ในเนื้อเยื่อหรือโพรงอวัยวะ (Brachy therapy) เช่น ปากมดลูก และช่องปาก โดยใช้ซีเซียม-137, อิริเดียม-192 หรือ ทอง-198</br> <br> 3. การให้สารกัมมันตรังสีทางปาก เช่น การรับประทานสารประกอบไอโอดีน-131 (Na<sup>131I</sup>) เพื่อรักษามะเร็งต่อมไทรอยด์</br> <br> 4. การฉีดสารกัมมันตรังสีทางเส้นเลือด เช่น สารประกอบไอโอดีน-131 (Lipiodol-<sup>131</sup>I) ใช้รักษามะเร็งตับ</br> [นิวเคลียร์] |
Radiopharmaceutics | สารเภสัชรังสี, เภสัชภัณฑ์รังสี, ผลิตภัณฑ์ยาที่อยู่ในรูปของสารประกอบหรือสารประกอบเชิงซ้อนที่มีสารกัมมันตรังสีเกาะอยู่ในโมเลกุล ซึ่งผลิตขึ้นตามมาตรฐานสากลเภสัชรังสี ใช้ตรวจวินิจฉัยหรือบำบัดรักษา การให้สารเภสัชรังสีแก่ผู้ป่วยกระทำโดยการฉีดหรือกิน เมื่อเข้าสู่ร่างกายแล้วสารเภสัชรังสีดังกล่าวจะไปกระจายตัวอยู่ในอวัยวะที่ต้องการตรวจหรือรักษา (target organ) โดยแสดงพยาธิสภาพตามความผิดปกติที่เกิดขึ้นในอวัยวะนั้นๆ สารเภสัชรังสีที่ใช้ในปัจจุบัน เช่น <br><sup>99m</sup>Tc-MDP ใช้ตรวจกระดูก</br> <br><sup>99m</sup>Tc-MAA ใช้ตรวจปอด</br> <br><sup>99m</sup>Tc-MIBI ใช้ตรวจกล้ามเนื้อหัวใจ, tumor ทรวงอก</br> <br><sup>99m</sup>Tc-DISIDA ใช้ตรวจตับและระบบท่อน้ำดี</br> <br><sup>99m</sup>Tc-BROMIDA ใช้ตรวจตับและระบบท่อน้ำดี</br> <br><sup>99m</sup>Tc-HMPAO ใช้ตรวจสมอง</br> <br><sup>99m</sup>Tc-DTPA ใช้ตรวจสมองและไต</br> <br><sup>99m</sup>Tc-MAG3 ใช้ตรวจไต</br> <br><sup>131</sup>I-Hippuran ใช้ตรวจไต</br> <br><sup>131</sup>I-MIBG ใช้ตรวจต่อมหมวกไต</br> <br>Na13<sup>1</sup>I ใช้ตรวจและรักษาโรคไทรอยด์</br> <br><sup>153</sup>Sm-EDTMP ใช้บรรเทาความเจ็บปวดของผู้ป่วยด้วยโรคมะเร็งกระดูก [นิวเคลียร์] |
Radiopharmaceuticals | สารเภสัชรังสี, เภสัชภัณฑ์รังสี, ผลิตภัณฑ์ยาที่อยู่ในรูปของสารประกอบหรือสารประกอบเชิงซ้อนที่มีสารกัมมันตรังสีเกาะอยู่ในโมเลกุล ซึ่งผลิตขึ้นตามมาตรฐานสากลเภสัชรังสี ใช้ตรวจวินิจฉัยหรือบำบัดรักษา การให้สารเภสัชรังสีแก่ผู้ป่วยกระทำโดยการฉีดหรือกิน เมื่อเข้าสู่ร่างกายแล้วสารเภสัชรังสีดังกล่าวจะไปกระจายตัวอยู่ในอวัยวะที่ต้องการตรวจหรือรักษา (target organ) โดยแสดงพยาธิสภาพตามความผิดปกติที่เกิดขึ้นในอวัยวะนั้นๆ สารเภสัชรังสีที่ใช้ในปัจจุบัน เช่น <br><sup>99m</sup>Tc-MDP ใช้ตรวจกระดูก</br> <br><sup>99m</sup>Tc-MAA ใช้ตรวจปอด</br> <br><sup>99m</sup>Tc-MIBI ใช้ตรวจกล้ามเนื้อหัวใจ, tumor ทรวงอก</br> <br><sup>99m</sup>Tc-DISIDA ใช้ตรวจตับและระบบท่อน้ำดี</br> <br><sup>99m</sup>Tc-BROMIDA ใช้ตรวจตับและระบบท่อน้ำดี</br> <br><sup>99m</sup>Tc-HMPAO ใช้ตรวจสมอง</br> <br><sup>99m</sup>Tc-DTPA ใช้ตรวจสมองและไต</br> <br><sup>99m</sup>Tc-MAG3 ใช้ตรวจไต</br> <br><sup>131</sup>I-Hippuran ใช้ตรวจไต</br> <br><sup>131</sup>I-MIBG ใช้ตรวจต่อมหมวกไต</br> <br>Na13<sup>1</sup>I ใช้ตรวจและรักษาโรคไทรอยด์</br> <br><sup>153</sup>Sm-EDTMP ใช้บรรเทาความเจ็บปวดของผู้ป่วยด้วยโรคมะเร็งกระดูก [นิวเคลียร์] |
Radiation therapy | รังสีรักษา, การบำบัดด้วยรังสี, การใช้รังสีชนิดก่อไอออนบำบัดรักษาโรค มี 4 วิธี คือ <br> 1. การฉายรังสีไปยังอวัยวะเป้าหมาย (Teletherapy) เช่น ต่อมน้ำเหลือง กล่องเสียง ปอด โดยใช้รังสีเอกซ์จากเครื่องเร่งอิเล็กตรอนเชิงเส้น หรือใช้รังสีแกมมาจากต้นกำเนิดรังสีโคบอลต์-60</br> <br> 2. การฝังสารกัมมันตรังสี ในเนื้อเยื่อหรือโพรงอวัยวะ (Brachy therapy) เช่น ปากมดลูก และช่องปาก โดยใช้ซีเซียม-137, อิริเดียม-192 หรือ ทอง-198</br> <br> 3. การให้สารกัมมันตรังสีทางปาก เช่น การรับประทานสารประกอบไอโอดีน-131 (Na<sup>131I</sup>) เพื่อรักษามะเร็งต่อมไทรอยด์</br> <br> 4. การฉีดสารกัมมันตรังสีทางเส้นเลือด เช่น สารประกอบไอโอดีน-131 (Lipiodol-<sup>131</sup>I) ใช้รักษามะเร็งตับ</br> [นิวเคลียร์] |
ป๊อด | ปอด ไม่กล้า [ศัพท์วัยรุ่น] |
Bronchoscopy | การส่องตรวจหลอดลมปอดด้วยกล้อง [TU Subject Heading] |
Carcinoma, Bronchogenic | คาร์ซิโนมาปอด [TU Subject Heading] |
Cardiopulmonary resuscitation | การนวดหัวใจผายปอดกู้ชีพ [TU Subject Heading] |
Embolism, Amniotic fluid | ภาวะน้ำคร่ำอุดหลอดเลือดปอด [TU Subject Heading] |
Hypertension, Pulmonary | ความดันเลือดปอดสูง [TU Subject Heading] |
Lung diseases | โรคปอด [TU Subject Heading] |
Lung diseases, Obstructive | โรคปอดอุดตันเรื้อรัง [TU Subject Heading] |
Lung neoplasms | เนื้องอกปอด [TU Subject Heading] |
Lung volume measurement | การวัดปริมาตรปอด [TU Subject Heading] |
Lungs | ปอด [TU Subject Heading] |
Paragonimiasis | โรคพยาธิใบไม้ปอด [TU Subject Heading] |
Pleural diseases | โรคโพรงเยื่อหุ้มปอด [TU Subject Heading] |
Pleural effusion | สารน้ำในโพรงเยื่อหุ้มปอด [TU Subject Heading] |
Pleural effusion, Malignant | ภาวะน้ำในโพรงเยื่อหุ้มปอดชนิดร้ายแรง [TU Subject Heading] |
Pleurisy | เยื่อหุ้มปอดอักเสบ [TU Subject Heading] |
Pneumonia | ปอดอักเสบ [TU Subject Heading] |
Pneumonia, Ventilator-associated | ปอดอักเสบที่สัมพันธ์กับการใช้เครื่องช่วยหายใจ [TU Subject Heading] |
Pulmonary embolism | ลิ่มเลือดอุดหลอดเลือดปอด [TU Subject Heading] |
Pulmonary heart disease | โรคหัวใจเกิดจากปอด [TU Subject Heading] |
Pulmonary wedge pressure | ความดันหลอดเลือดในปอด [TU Subject Heading] |
Silicotuberculosis | โรคปอดฝุ่นทราย [TU Subject Heading] |
Tuberculosis, Pulmonary | วัณโรคปอด [TU Subject Heading] |
Vital capacity | ความจุชีพของปอด [TU Subject Heading] |
Spodumene | สปอดูมีน, Example: แหล่ง - ในประเทศไทย พบในหินเปกมาไทต์ ที่สำนักเนียน อำเภอสิชล จังหวัดนครศรีธรรมราช ประโยชน์ - เป็นตัวต้นกำเนิดที่จะให้โลหะลิเทียม ซึ่งนำมาผสมทำน้ำมันหล่อลื่นในเครื่องจักรที่ใช้ความร้อนเป็นเวลานาน ๆ นอกจากนี้ยังใช้ในอุตสาหกรรมเครื่องปั้นดินเผา แบตเตอรี่ เครื่องปรับอากาศ ใช้เป็นวัสดุสำหรับช่วยให้โลหะหลอมง่ายขึ้น ชนิดฮิดเดไนต์และคุนไซต์ เป็นรัตนชาติได้สวยงามมาก [สิ่งแวดล้อม] |
Acidosis, Respiratory | กรดจากการหายใจ; ภาวะไม่สมดุลย์ของกรดและด่าง; กรดในเลือดเพิ่มขึ้นเนื่องจากการหายใจ; ความเป็นกรดในร่างกาย; ภาวะกรดสาเหตุจากการหายใจ; เลือดเป็นกรดจากการหายใจไม่พอ; อะศิโดสิสการหายใจ; เลือดเป็นกรดจากการหายใจ; กรดมากจากโรคปอด, ภาวะ; อะซิโดซิสจากการหายใจ; เลือดเป็นกรดจากการหายใจ; การเป็นกรดเนื่องจากการหายใจ [การแพทย์] |
Air Flow Limitation, Chronic | โรคอุดตันของปอดเรื้อรัง [การแพทย์] |
Air Way, Clear | การช่วยให้มีทางลมเข้าปอดสะดวก, ทางเดินหายใจโล่ง [การแพทย์] |
Alveolar Cells | เซลล์ถุงลมปอด [การแพทย์] |
Alveolar Infiltration | เงาทึบเหมือนปอดบวม, เงาทึบเหมือนปวดบวม [การแพทย์] |
Alveolar Sacs | กะเปาะถุงลม, ถุงลมเล็ก ๆ ในปอด, ถุงลม [การแพทย์] |
Alveoli | ถุงลม, ถุงลมปอด, กระเปาะ, ถุงลมในปอด, ถุงอากาศ, ถุงลมของปอด, อัลวีโอไล, ถุง, ถุงน้ำนม, ถุงต่อม [การแพทย์] |
Apex | ยอด, ปลาย, จุดยอด, ยอดปอด, บริเวณยอดหัวใจ [การแพทย์] |
Apex, Right | บนสุดของปอดขวา, บริเวณบนสุดด้านขวา [การแพทย์] |
Apical Lordotic View | ท่าการถ่ายภาพรังสีเพื่อดูยอดปอดและกระดูกไหปลาร้า [การแพทย์] |
Arhropod-Borne Viruses | อาร์โธรปอด-บอร์นไวรัส [การแพทย์] |
Arteries, Extrapulmonary | หลอดเลือดแดงนอกปอด [การแพทย์] |
Arthropod-Borne Viruses | อาร์โธรปอด-บอร์นไวรัส, ไวรัสที่มีแมลงเป็นพาหะ [การแพทย์] |
Arthropods | อาร์โทรปอด, แมลง; อาโธรปอด; อาร์โทรปอด; แมลง; สัตว์ขาข้อ; สัตว์ในกลุ่มแมลง [การแพทย์] |
Aspiration | การสูดสำลัก, การสูดสำลักเข้าปอด, การเจาะดูด, การดูด, การเจาะ, วิธีเจาะแล้วดูดออกด้วยเข็ม [การแพทย์] |
Aspiration Pneumonia | ปอดอักเสบจากการสำลัก [การแพทย์] |
Asthma, Cardiac | ปอดบวมน้ำ [การแพทย์] |
Atelectasis | อะตีเล็คเตซิส, เนื้อปอดทึบ, ถุงลมปอดแฟบ, ปอดแฟบ, ปอดไม่ขยาย, เนื้อปอดแฟบ, การยุบแฟบของปอด, เนื้อปอดทึบไปหมด, อะทีเลคเทซิส, ถุงลมโป่งพอง [การแพทย์] |
ครีมบรรเทาอาการปอดกล้ามเนื้อ | [khrīm banthāo ākān pøt klāmneūa] (n, exp) EN: analgesic cream FR: pommade analgésique [ f ] |
กลีบปอด | [klīp pøt] (n, exp) FR: lobe du poumon [ m ] |
ผายปอด | [phāi pøt] (v, exp) EN: give artificial respiration FR: pratiquer la respiration artificielle |
ปอด | [pøt] (n) EN: lung FR: poumon [ m ] |
ปอด | [pøt] (adj) EN: pulmonary FR: pulmonaire |
ปอด | [pøt] (v) EN: fear ; tremble with fright FR: avoir peur ; trembler de peur |
ปอดอักเสบ | [pøt aksēp] (n) EN: pneumonia FR: pneumonie [ f ] |
ปอดบวม | [pøt būam] (n) EN: pneumonia FR: pneumonie [ f ] |
ปอดชื้น | [pøt cheūn] (n, exp) EN: pulmonary congestion FR: congestion pulmonaire [ f ] |
ปอดขวา | [pøt khwā] (n, exp) EN: right lung FR: poumon droit [ m ] |
ปอดซ้าย | [pøt sāi] (n, exp) EN: left lung FR: poumon gauche [ m ] |
โรคปอด | [rōk pøt] (n, exp) EN: lung trouble ; pulmonary disease FR: maladie pulmonaire [ f ] |
alveolus | (n) ถุงลมเล็กๆ ในปอด |
drag | (n) การอัดควันบุหรี่เข้าปอด, Syn. inhalation, druff, Ant. exhalation |
draw | (vt) สูดลมเข้าปอด, See also: สูดควันเข้าปอด |
emphysema | (n) อาการผิดปกติอย่างเรื้อรังของปอดโดยที่ถุงลมโป่งพองและขาดการยืดหยุ่น |
exhalation | (n) การหายใจออก (จากปอด), See also: การปล่อยลมหายใจออก จากปอด, Syn. breath, exhaling, respiration |
lights | (n) ปอดของสัตว์ (ใช้เป็นอาหาร) |
lung | (n) ปอด |
lungfish | (n) ปลาที่มีปอดและเหงือกเป็นอวัยะหายใจ |
oxyhemoglobin | (n) ฮีโมโกลบินจับกับอ็อกซิเจนที่ส่งจากปอดไปยังเนื้อเยื่อ |
phthisis | (n) วัณโรคปอด, Syn. phthisic |
pleura | (n) เยื่อหุ้มปอด |
pleurisy | (n) โรคเยื่อหุ้มปอดอักเสบ |
pneumonia | (n) โรคปอดบวม, Syn. pneumonitis |
pneumonia | (n) ปอดบวม, Syn. pneumonitis |
pulmonary | (adj) เกี่ยวกับปอด, Syn. pneumonic, lunglike |
air-bags | (sl) ปอด |
silicosis | (n) โรคปอดเนื่องจากการสูดผงซิลิก้า (silica) |
souffle | (n) เสียงปอดที่ฟังได้ผ่านหูฟังของแพทย์ |
succuss | (vt) เขย่าตัวคนไข้เพื่อดูว่ามีของเหลวระหว่างปอดและผนังทรวงอก, Syn. shake up |
alveolus | (แอลวี' โอเลิส) n., (pl. -li) แอ่ง, หลุม, ห้องเล็ก, เซลล์เนื้อเยื่อปอด, เบ้าฟัน |
artificial respiration | การช่วยทำให้หายใจโดยเป่าอากาศเข้าและดันอากาศให้ออกจากปอด |
asbestosis | (แอสบิสโท'ซิส) n. โรคปอดเนื่องจากสูดเอาฝิ่น asbestos เข้าไปในปอด |
aspirate | (แอส'พะเรท) -vt. ออกเสียงได้ยิน, ออกเสียงตัว h, ขจัดของเหลวจากโพรงร่างกาย โดยใช้เครื่องดูด, หายใจเอาของเหลวเข้าไปในปอด |
bellows | (เบล'โลซ) n. ที่สูบลมที่ใช้มือ, หีบลม, ปอด, หนังหุ้มที่เป็นลูกคลื่น (เช่นของกล้องถ่ายรูป) |
bronchopneumonia | n. ภาวะหลอดลมใหญ่และปอดอักเสบ |
cadiniosis | n. ภาวะฝุ่น cadmium จับปอด |
hemoglobin | (ฮีมะโกล'บิน) n. สารสีแดงของเม็ดเลือดแดงที่มีหน้าที่นำออกชิเจนจากปอดสู่เนื้อเยื่อ, See also: hemoglobic, hemoglobinous adj. |
imperfect | (อิมเพอ' เฟคทฺ) adj. บกพร่อง, มีปมด้อย, ไม่สมบูรณ์, ไม่บริบูรณ์, หดแคบ, (ไว-ยากรณ์) , เกี่ยวกับรูปอดีตกาลที่ยังไม่สำเร็จ. -n. กาล (ไวยากรณ์) ที่ยังไม่สมบูรณ์, กริยา (ไวยากรณ์) ที่ยังไม่สมบูรณ์., See also: imperfectly adv. imperfectness n. คำ |
inbreathe | (อิน' บรีธ) vt. หายใจเข้า, สูดอากาศเข้าไปในปอด, เอาใส่, ดลใจ, Syn. inhale |
inhalant | (อินเฮ'เลินทฺ) adj. ใช้สูดเข้า n. ยาสำหรับสูดเข้าปอด, เครื่องอัดยาเข้าปอด |
inhalator | (อิน'ฮะเลเทอะ) n. เครื่องมือช่วยสูดอากาศหรือยาเข้าปอด |
inhale | (อินเฮล') vt. สูดเข้าปอด, หายใจเข้า. vi. สูด, สูบ., See also: inhalation n., Syn. gasp |
inhaler | (อินเฮ'เลอะ) n. เครื่องมือสูบอากาศหรือยาเข้าปอด, เครื่องช่วยหายใจ, ผู้สูด, ผู้สูบ |
lung | (ลัง) n. ปอด. -Phr. (at the top of one's lungs ดังที่สุดเท่าที่จะดังได้, ดังสุดกู่) |
mica | (ไม'คะ) n. เม็ด, อนุภาค, สารเคมีที่ทำให้เกิดโรคfibrosisในปอดได้, =isinglass (ดู), Syn. isinglass |
milquetoast | (มิลค'โทสทฺ') n. ชายขี้ขลาด, ชายขี้ปอด |
paragonimiasis | โรคพยาธิใบไม้ในปอด |
phthisis | (ไธ'ซิส, ธิส'ซิส) n. วัณโรคปอด, การเสื่อมเสียของร่างกาย หรือส่วนของร่างกาย |
pleura | (พลู'ระ) n. เยื่อหุ้มปอด pl. pleurae |
pluck | (พลัค) vt. ดึง, เด็ด, ถอน, เก็บ, ปล้น, ปอกลอก, ดีดหรือกรีด (นิ้ว) , ไม่ให้สอบผ่าน, ทำให้สอบตก. vi. ดึง, เด็ด, เก็บ, ฉวย., See also: pluckup ถอนราก. n. การดึก, การเด็ด, การถอน, การเก็บ, เครื่องในสัตว์ หัวใจ, ตับ, ปอด ความกล้าหาญ, เครื่องมือที่ใช้ดีดสายเครื่องดนตรี, การ |
pneumonia | (นิวมอน'เนีย, -โม'เนีย) n. โรคปอดอักเสบ, โรคปอดบวม |
pulmonary | (พัล'มะเนอรี) adj. เกี่ยวกับปอด |
pulmonary edema | น้ำท่วมปอด |
pump | (พัมพฺ) n. เครื่องสูบ, เครื่องสูบลม, โรงสูบ, การสูบ, การชักขึ้นชักลง -v. สูบ, ใช้เครื่องสูบ, ชักขึ้นชักลง, สูบลม, สูบน้ำ, อัดออกซิเจนเข้าในปอด, ซักไซ้ไล่เลียง, สอบถาม, ล้วงเอาความลับ., See also: pumper n., Syn. interrogate, probe |
vagus nerve | เส้นประสาทของcranial nerves คู่ที่ 10 ประกอบรวมด้วยเส้นประสาทหลายเส้นไปรวมสู่อวัยวะต่าง ๆ เช่น หูด้านนอก ฟาริงค์ ลาริงค์ trachear ปอด esophagus กระเพาะ ลำไส้เล็ก ถุงน้ำดี ทำหน้าที่เกี่ยวข้องกับระบบประสาทอัติโนมัติ |
vitals | (ไว'เทิลซ) n., pl. อวัยวะสำคัญของร่างกาย (เช่นสมอง, หัวใจ, ตับ, ปอดและกระเพาะอาหาร) ส่วนที่สำคัญ |
Alveolitis { f } [ med. ] | [แอล-วี-โอ-ลิ-ธีส] (n) การอักเสบของถุงลมปอด |
bilateral pneumonia | (name, uniq) ลักษณะของปอดอักเสบทั้งสองข้าง |
byssinosis | (n) โรคปอดฝุ่นฝ้าย |
lifesaver | [ชีพ-พะ-รัก-สิก] (n) ชีพรักษิก = ผู้ที่มีความรู้ในเรื่องการช่วยชีวิตทางน้ำ การปฐมพยาบาล การนวดหัวใจผายปอด แต่มิได้เป็นที่ประกอบวิชาชีพ ชีพบาล โดยตรง |
pneumonoultramicroscopicsilicovolcanokoniosis | [นุ-โม-โน-อัล-ตรา-ไม-โคร-สะ-โก-ปิก-ซิ-ลิ-โค-โวล-คา-โน-โค-นิ-โอ-ซิส] (name) โรคปอดชนิดหนึ่ง |
preeclampsia and eclampsia | เป็นความผิดปกติของลักษณะการตั้งครรภ์โดยความดันโลหิตสูงและจำนวนมากของโปรตีนในปัสสาวะ ความผิดปกติที่มักจะเกิดขึ้นจากสัปดาห์ที่28ของการตั้งครรภ์และได้รับผลเลวร้ายเมื่อปล่อยเวลาผ่านไป ในโรครุนแรงอาจจะมีการสลายของเซลล์เม็ดเลือดแดง, เกล็ดเลือดต่ำนับ, การทำงานของตับบกพร่อง, การผิดปกติของไต, บวม, หายใจถี่เนื่องจากของเหลวในปอด, หรือผลกระทบกับมองเห็นภาพ |
RSV | (abbrev) ไวรัส RSV หรือ Respiratory Syncytial Virus เป็นสาเหตุของการติดเชื้อระบบทางเดินหายใจตั้งแต่ส่วนบนจนถึงส่วนล่าง ส่งผลให้ผู้ป่วยมีอาการหลอดลมฝอยอักเสบ (Acute bronchiolitis) และอาจทำให้ปอดอักเสบติดเชื้อได้ (Pneumonia) โดยเฉพาะผู้ป่วยกลุ่มเสี่ยง เช่น เด็กที่มีโรคประจำตัว คลอดก่อนกำหนด ฯลฯ อาการเริ่มแรกเหมือนไข้หวัด คือ มีไข้ ไอ น้ำมูกไหล แต่จะมีไอมาก เสมหะเยอะและเหนียวข้น หายใจหอบเหนื่อย หน้าอกบุ๋ม อาจมีเสียหงายใจดังวี๊ดๆ ซึม ไม่กินน้ำ หงุดหงิด กระวุนกระวาย มีสีเขียวคล้ำบริเวณริมฝีปาก หรือ ปลายมือปลายเท้า เนื่องจากร่างกายขาดออกซิเจน หากมีอาการดังกล่าว ควรไปพบแพทย์ ที่มา: เอกสารแผ่นพับจากโรงเรียนอนุบาลชนานันท์ เรียบเรียงโดยก้านแก้ว จากการสัมภาษณ์ เรืออากาศเอกแพทย์หญิงหฤทัย กมลาภรณ์ โรงพยาบาลรามาธิบดี |
spirometry | (n) การตรวจสมรรถภาพปอด, See also: ปอด |
Systolic | การหดตัวของหัวใจที่เลือดถูกบังคับให้ออกจากห้องและเข้าไปในหลอดเลือดแดงหลอดเลือดแดงและปอด |