ประชาพิจารณ์ | น. การฟังความคิดเห็นของประชาชนส่วนใหญ่. |
พิจาร, พิจารณ์, พิจารณา | (พิจาน, พิจาระนา) ก. ตรวจตรา, ตริตรอง, สอบสวน. |
กฎอัยการศึก | น. กฎหมายที่ให้อำนาจเจ้าหน้าที่ฝ่ายทหารลิดรอนสิทธิเสรีภาพบางประการของประชาชนได้ตามความจำเป็น ทั้งให้มีอำนาจหน้าที่เหนือเจ้าหน้าที่ฝ่ายพลเรือนในส่วนที่เกี่ยวกับการยุทธ การระงับปราบปรามหรือการรักษาความสงบเรียบร้อย และศาลทหารมีอำนาจพิจารณาพิพากษาคดีอาญาบางอย่างที่ประกาศระบุไว้แทนศาลพลเรือน การใช้กฎอัยการศึกจะกระทำได้เมื่อมีเหตุจำเป็นเพื่อรักษาความสงบเรียบร้อยในบ้านเมือง เช่น ในกรณีเกิดสงคราม การจลาจล โดยจะให้มีผลบังคับทุกท้องที่หรือบางท้องที่ก็ได้ตามความจำเป็น. |
กรมนา | น. กรมใหญ่กรมหนึ่งในจตุสดมภ์ มีเสนาบดีเป็นผู้บังคับบัญชา มีอำนาจหน้าที่ดูแลรักษานาหลวง เก็บหางข้าวขึ้นฉางหลวง ทำนุบำรุงอาชีพเกษตรกรรมและเก็บค่าภาษีอากรเกี่ยวกับการนั้น รวมทั้งบังคับบัญชาศาลในสังกัดซึ่งมีอำนาจพิจารณาคดีพิพาทเกี่ยวกับที่นาและโคกระบือเป็นต้น |
กรมพระคลัง | น. กรมใหญ่กรมหนึ่งในจตุสดมภ์ มีเสนาบดีเป็นผู้บังคับบัญชา มีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับการคลัง การต่างประเทศ และการค้ากับต่างประเทศ รวมทั้งบังคับบัญชาศาลในสังกัดซึ่งมีอำนาจพิจารณาคดีความเกี่ยวข้องด้วยพระราชทรัพย์หลวง และคดีความต่างประเทศ, พระคลัง หรือ พระคลังกรมท่า ก็เรียก |
กรมเมือง | (กฺรมมะ-) น. กรมใหญ่กรมหนึ่งในจตุสดมภ์ มีเสนาบดีเป็นผู้บังคับบัญชา มีอำนาจหน้าที่ในการรักษาความสงบเรียบร้อยในราชธานีและปริมณฑล ปราบปรามโจรผู้ร้าย รวมทั้งบังคับบัญชาศาลในสังกัดซึ่งมีอำนาจพิจารณาคดีความอุกฉกรรจ์และดูแลคุก (เรือนจำ) มหันตโทษ, เวียง หรือ กรมพระนครบาล ก็เรียก |
กรมวัง | (กฺรมมะ-) น. กรมใหญ่กรมหนึ่งในจตุสดมภ์ มีเสนาบดีเป็นผู้บังคับบัญชา มีอำนาจหน้าที่รักษาพระราชมนเทียร พระราชวังชั้นนอก พระราชวังชั้นใน บริหารกิจการในพระราชสำนัก และบังคับบัญชาศาลในสังกัดซึ่งมีอำนาจพิจารณาคดีที่เกี่ยวข้องกับสมใน ได้แก่ ศาลแพ่งวัง ศาลอาชญาวัง และศาลนครบาลวัง รวมทั้งบังคับบัญชาศาลมรดก |
กรรมาธิการ | (กำ-, กัน-) น. บุคคลที่สภาผู้แทนราษฎรหรือวุฒิสภาเลือกและตั้งเป็นคณะกรรมาธิการ เพื่อกระทำกิจการ พิจารณาสอบสวน หรือศึกษาเรื่องใด ๆ อันอยู่ในอำนาจหน้าที่ของแต่ละสภา แล้วรายงานต่อสภา คณะกรรมาธิการมี ๒ ประเภท คือ คณะกรรมาธิการสามัญ และคณะกรรมาธิการวิสามัญ คณะกรรมาธิการสามัญประกอบด้วยบุคคลซึ่งเป็นสมาชิกของสภาล้วน ๆ คณะกรรมาธิการวิสามัญประกอบด้วยบุคคลผู้เป็นสมาชิกและบุคคลที่มิได้เป็นสมาชิกของสภารวมกัน หรือบุคคลที่มิได้เป็นสมาชิกของสภาทั้งหมดที่สภาเลือกและตั้งเป็นคณะกรรมาธิการวิสามัญ. |
กระทรวง ๒ | ส่วนราชการที่พอเทียบได้กับกรมหรือกระทรวงในปัจจุบัน เช่น ถ้าเป็นกระทรวงแพ่ง แลฝ่ายจำเลยนั้นเป็นกรม ฝ่ายนอกให้ส่งไปแพ่งกระเสมพิจารณา, ถ้ามีผู้ร้ายลักช้างม้าผู้คนโคกระบือทรัพยสิ่งใด ๆ เปนกระทรวงนครบาลได้ว่า (สามดวง). |
กระบวน | วิธีการ เช่น จัดกระบวนพิจารณาอรรถคดีในโรงศาล, ใช้เข้าคู่กับคำ กระบิด เป็น กระบิดกระบวน. |
กระหมวด ๒ | น. จอมประสาทหัวช้าง เป็นอวัยวะสำคัญที่เกิดขนช้างฐาน ๑ ใน ๕ ฐาน คือ ขนที่หู หาง บรรทัดหลัง กระหมวดหรือโขมด ราวชัก (คือ สีข้างช้าง แต่โดยนิยมถือเอาเฉพาะแนวที่สายประโคนรัด ซึ่งถัดจากขาหน้าไปหน่อยหนึ่ง), ในการดูลักษณะช้างเผือก ใช้ตรวจขนทั้ง ๕ ฐานนี้ เป็นทางประกอบการพิจารณา. |
กฤดีกา, กฤตยฎีกา | (กฺริ-, กฺริดตะยะ-) แผลงมาจาก กติกา เช่น อันว่าความกฤดีกา แต่สองราแรกทรงพรต (ม. คำหลวง กุมาร), ชำระกฤตยฎีกา (ไวพจน์พิจารณ์). |
กลั่นกรอง | ก. คัดเลือกเอาแต่สิ่งที่เห็นว่าดีที่สุด, พิจารณาอย่างถี่ถ้วนรอบคอบ. |
กินข้าวต้มกระโจมกลาง | ก. ทำอะไรด้วยความใจร้อนไม่พิจารณาให้รอบคอบ มักเป็นผลเสียแก่ตน. |
ข้อเสนอ | น. เรื่องราวที่นำเสนอเพื่อพิจารณา. |
ข้อเสนอแนะ | น. ข้อคิดเห็นเชิงแนะนำที่เสนอเพื่อพิจารณา. |
ข่าย | ขอบเขต เช่น เรื่องนี้ไม่อยู่ในข่ายที่จะพิจารณา. |
ขุนศาล | น. ข้าราชการฝ่ายยุติธรรมตำแหน่งปลัดนั่งศาลหรือราชปลัดนั่งศาลต่าง ๆ ในราชธานี อาทิ กรมกลาโหมมีขุนประชาเสพราชปลัดนั่งศาลอาชญานอก กรมวังมีขุนอินอาญาปลัดนั่งศาลอาชญาวัง, ใช้เป็นสำนวนว่า ขุนโรงขุนศาล เช่น กฎให้แก่ขุนโรงขุนศาลผู้พิจารณาเนื้อความทุกหมู่ทุกกรมในกรุงนอกกรุงจงทั่ว (สามดวง), ขุนสาน หรือ ขุนสาร ก็ว่า. |
เขตอำนาจศาล | น. พื้นที่และอำนาจของศาลหรือผู้พิพากษาในการพิจารณาพิพากษาคดีตามที่กฎหมายบัญญัติ. |
เขม้น | (ขะเม่น) ก. เพ่ง, จ้องดู, มุ่งโดยเฉพาะ เช่น ฝ่ายผู้ได้พิจารณาว่ากล่าวบางคนก็ลำเอียงไปว่าทรัพจะได้เปนหลวง เขม้นว่ากล่าวกันโชกข่มขี่จเอาแต่ทรัพเปนหลวงจงได้ (สามดวง), มักใช้เข้าคู่กับคำ มอง เป็น เขม้นมอง หรือ มองเขม้น, (โบ) เขียนเป็น ขเม่น ก็มี เช่น ขเม่น, คือ คนฤๅสัตวแลดูสิ่งของใด ๆ เพ่งตาดูไม่ใคร่จะกพริบ (ปรัดเล). |
คณะกรรมาธิการ | น. คณะบุคคลที่สภาผู้แทนราษฎร วุฒิสภา หรือที่ประชุมร่วมกันของรัฐสภา แต่งตั้งเพื่อกระทำกิจการ พิจารณาสอบสวน หรือศึกษาเรื่องใด ๆ อันอยู่ในอำนาจหน้าที่ของสภา แล้วรายงานต่อสภา. |
คณะกรรมาธิการร่วมกัน | น. คณะกรรมาธิการของรัฐสภาที่สภาผู้แทนราษฎร และวุฒิสภาเลือกและแต่งตั้งจากผู้เป็นหรือมิได้เป็นสมาชิกแห่งสภานั้น ๆ เพื่อพิจารณาหรือดำเนินการเรื่องใดที่รัฐสภามอบหมาย. |
คดี | เรื่องหรือความที่ฟ้องร้องหรือกล่าวหากันในทางกฎหมาย ซึ่งต้องดำเนินการตามกระบวนวิธีพิจารณาความตามที่กฎหมายกำหนด เช่น คดีแพ่ง คดีอาญา คดีปกครอง. |
คบคนให้ดูหน้าซื้อผ้าให้ดูเนื้อ | ก. จะพิจารณาคนหรือสิ่งใดสิ่งหนึ่งให้พิจารณาอย่างละเอียดรอบคอบ. |
คำฟ้อง | น. กระบวนพิจารณาใด ๆ ที่โจทก์ได้เสนอข้อหาต่อศาลไม่ว่าจะเสนอด้วยวาจาหรือทำเป็นหนังสือ. |
คิดตก | ก. พิจารณาจนเห็นจริงแล้วปล่อยไปตามสภาพ |
โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ | น. โครงการที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวพระราชทานแนวทางแก่หน่วยงานที่เกี่ยวข้องรับพระราชดำริไปพิจารณาความเหมาะสมและความเป็นไปได้ในการร่วมกันดำเนินงานเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตและความเป็นอยู่ของประชาชน หรือบรรเทาปัญหาต่าง ๆ ตามสภาพสังคมและภูมิประเทศ เดิมเรียกว่า โครงการตามพระราชดำริ มีสำนักงานคณะกรรมการพิเศษเพื่อประสานงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ เรียกย่อว่า กปร. มีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับการประสานงานโครงการ. |
ใคร่ครวญ | (ไคฺร่คฺรวน) ก. ตรึกตรอง, พิจารณา, คิดทบทวน. |
จตุปาริสุทธิศีล | (-ปาริสุดทิสีน) น. ศีลคือความบริสุทธิ์ หรือ ศีลคือเครื่องให้บริสุทธิ์ ๔ ประการ คือ ๑. สำรวมในพระปาติโมกข์ (ปาติโมกฺขสํวร) ๒. สำรวมตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ (อินฺทฺริยสํวร) ๓. เลี้ยงชีพโดยทางชอบ (อาชีวปาริสุทฺธิ) ๔. บริโภคปัจจัยด้วยการพิจารณา (ปจฺจยสนฺนิสฺสิต). |
จรวดไจร | (จะหฺรวดจะไร) ก. ตรวจดู, พิจารณาดู, เช่น ทังทุ่มทู้ต่างย้าง จรวจไจร (ยวนพ่าย). |
จริยศาสตร์ | น. ปรัชญาสาขาหนึ่งว่าด้วยการแสวงหาความดีสูงสุดของชีวิตมนุษย์ แสวงหาเกณฑ์ในการตัดสินความประพฤติของมนุษย์ว่าอย่างไหนถูกไม่ถูก ดีไม่ดี ควรไม่ควร และพิจารณาปัญหาเรื่องสถานภาพของค่าทางศีลธรรม. |
จารีตนครบาล | น. วิธีไต่สวนพิจารณาคดีนครบาลซึ่งเป็นคดีโจรผู้ร้ายหรือคดีที่มีโทษหลวง เมื่อคนร้ายจนต่อพยานหลักฐานแล้วแต่ยังไม่ยอมรับสารภาพ โดยให้ใช้ได้ตามเงื่อนไขที่กฎหมายกำหนด เช่น เฆี่ยน แต่ไม่ให้ถึงแก่ชีวิต. |
จิตตานุปัสสนา | น. การพิจารณาจิตเป็นอารมณ์เป็นข้อ ๑ ในสติปัฏฐาน ๔. |
เจว็ด | โดยปริยายหมายความว่า ผู้ที่ได้รับยกย่องให้เป็นประธานหรือเป็นใหญ่ แต่ไม่มีอำนาจ เช่น ประธานไม่ได้เป็นเจว็ด ต้องมีสิทธิ์พิจารณาเรื่องที่เสนอได้ |
เจ้าพนักงานบังคับคดี | น. เจ้าพนักงานผู้มีอำนาจตามบทบัญญัติแห่งกฎหมาย ในอันที่จะปฏิบัติตามวิธีการที่บัญญัติไว้ เพื่อคุ้มครองสิทธิของคู่ความในระหว่างการพิจารณา หรือเพื่อบังคับตามคำพิพากษาหรือคำสั่งของศาล. |
ใจเร็ว | ว. ตกลงใจอย่างรวดเร็วโดยไม่พิจารณาให้รอบคอบ. |
ชำระ | พิจารณาตัดสิน เช่น ชำระความ |
ชู้เหนือผัว | น. ชายที่ลอบได้เสียกับหญิงซึ่งสามียังมีชีวิตอยู่ เช่น หญิงใดทำชู้เหนือผัว ผัวจับชู้ได้มิทันพิจารณาบันดาลโกรธตีด่าฆ่าฟันแทงชายชู้นั้นตาย (สามดวง ลักษณ-ผัวเมีย). |
ฎีกา | การคัดค้านคำพิพากษาหรือคำสั่งศาลชั้นต้นหรือศาลอุทธรณ์ เพื่อเสนอให้ศาลฎีกาพิจารณาพิพากษาหรือวินิจฉัยชี้ขาด |
ดำเนินคดี | ร้องทุกข์ กล่าวโทษ สอบสวน ฟ้องคดี หรือพิจารณาพิพากษาคดี ตามกฎหมายวิธีพิจารณาความ. |
ดำรวจ | (-หฺรวด) ก. ตรวจตรา, พิจารณา, เขียนเป็น ดำรวด ก็มี เช่น ฝ่ายคนผู้ข้าได้ดำรวดดารทาน (ม. คำหลวง ทานกัณฑ์). |
ดู | ก. ใช้สายตาเพื่อให้เห็น เช่น ดูภาพ ดูละคร, ระวังรักษา เช่น ดูบ้านให้ด้วย ไม่มีคนดูเด็ก, พินิจพิจารณา เช่น ดูให้ดี |
ดูช้างให้ดูหาง ดูนางให้ดูแม่ | ก. ให้รู้จักพิจารณาผู้หญิงที่จะเลือกเป็นคู่ครองโดยดูจากนิสัยใจคอและความประพฤติของมารดา, ดูวัวให้ดูหาง ดูนางให้ดูแม่ ก็ว่า. |
ดูวัวให้ดูหาง ดูนางให้ดูแม่ | ก. ให้รู้จักพิจารณาผู้หญิงที่จะเลือกเป็นคู่ครองโดยดูจากนิสัยใจคอและความประพฤติของมารดา, ดูช้างให้ดูหาง ดูนางให้ดูแม่ ก็ว่า. |
ตจปัญจก-กรรมฐาน | (ตะจะปันจะกะกำมะถาน) น. กรรมฐานอันบัณฑิตกำหนดด้วยอาการมีหนังเป็นลำดับที่ ๕ เป็นอารมณ์ คือ กรรมฐานที่ท่านสอนให้พิจารณาส่วนต่าง ๆ ของร่างกายได้แก่ ๑. ผม ๒. ขน ๓. เล็บ ๔. ฟัน และ ๕. หนัง ให้เห็นว่าเป็นของไม่เที่ยง. |
ตรวจ | (ตฺรวด) ก. พิจารณาดูความเรียบร้อย เช่น ตรวจพล ตรวจราชการ, พิจารณาดูว่าถูกหรือผิด ดีหรือร้าย เป็นต้น เช่น ตรวจบัญชี ตรวจแบบฝึกหัด ตรวจดวงชะตา, พิจารณาหาสมุฏฐาน เช่น ตรวจโรค, สำรวจ เช่น ตรวจพื้นที่. |
ตรวจข่าว | ก. พิจารณาข่าวว่าควรอนุญาตให้พิมพ์ได้หรือไม่, พิจารณาข่าวที่ตีพิมพ์ลงในหนังสือพิมพ์แล้ว. |
ตรวจตรา | ก. พิจารณาดูให้รอบคอบถี่ถ้วน. |
ตัดประเด็น | ก. ตัดข้อความสำคัญบางเรื่องที่หยิบยกขึ้นพิจารณาออก เช่น คดีนี้ตำรวจตัดประเด็นชู้สาวออก. |
ตื่นตูม | ก. ตกใจโดยไม่ได้พิจารณา เช่น กระต่ายตื่นตูม. |
privileged question | ปัญหาที่จะได้รับการพิจารณาก่อน [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
procedural law | กฎหมายวิธีพิจารณาความ [ ดู adjective law ] [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
procedural law | กฎหมายวิธีพิจารณาความ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
procedure | วิธีพิจารณาความ, วิธีดำเนินการ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
public trial | การพิจารณาคดีโดยเปิดเผย [ ดู trial in open court ] [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
public trial | การพิจารณาคดีโดยเปิดเผย [ ดู open court ] [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
pais, trial per; per pais, trial | การพิจารณาคดีในท้องถิ่น [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
pendens lis (L.); pending actions | คดีซึ่งอยู่ในระหว่างพิจารณา [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
pendente lite (L.) | คดีค้างระหว่างพิจารณา [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
pending actions; pendens lis (L.) | คดีซึ่งอยู่ในระหว่างพิจารณา [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
plenary action | การพิจารณาเต็มรูป [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
peremptory day | วันนัดพิจารณาคดีที่แน่นอน [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
procedure, grievance | วิธีพิจารณาเรื่องร้องทุกข์ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
proceedings | ๑. กระบวนพิจารณา๒. รายงานการประชุม [ ดู minutes และ verbatim ] [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
proceedings | ๑. กระบวนพิจารณา (ก. วิ)๒. รายงานการประชุม (ก. ทั่วไป) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
proceedings, interlocutory | กระบวนพิจารณาเบื้องต้น [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
postpone indefinitely, motion to | ญัตติขอให้เลื่อนการพิจารณาไปโดยไม่มีกำหนด [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
postponement of trial | การเลื่อนการพิจารณาคดี [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
pleading, trial without | การพิจารณาโดยไม่ต้องสืบพยาน [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
pre-sentence hearing | การนั่งพิจารณาก่อนพิพากษา [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
proceedings, legal | กระบวนพิจารณาตามกฎหมาย [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
power, rule-making | ๑. อำนาจออกกฎข้อบังคับ๒. อำนาจศาลสูงสุดในการวางหลักเกี่ยวกับวิธีพิจารณาความ (อเมริกัน) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
per pais, trial; pais, trial per | การพิจารณาคดีในท้องถิ่น [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
peers, trial by | การพิจารณาโทษโดยบรรดาขุนนางด้วยกัน [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
lack of jurisdiction | การไม่มีอำนาจพิจารณาคดี [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
legal proceedings | กระบวนพิจารณาตามกฎหมาย [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
lex fori (L.) | กฎหมายแห่งถิ่นที่ศาลซึ่งพิจารณาคดีตั้งอยู่ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
lis abili pendens (L.) | คดีที่อยู่ระหว่างการพิจารณาของศาลอื่น [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
lis pendens (L.) | คดีที่อยู่ระหว่างการพิจารณา [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
law, procedural | กฎหมายวิธีพิจารณาความ, กฎหมายวิธีสบัญญัติ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
Lloyd's Underwriter | ผู้พิจารณารับประกันภัยของสถาบันลอยด์ [ประกันภัย ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] |
retrial | การพิจารณาคดีใหม่ [ ดู re-hearing ] [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
right of audience | สิทธิที่เข้าฟังการพิจารณาของศาล [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
re-hearing | การพิจารณาคดีใหม่ (โดยศาลเดิม) [ ดู retrial ] [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
rule out | ไม่พิจารณา, ชี้ขาด [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
reading | วาระในการพิจารณาร่างกฎหมาย [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
reading | วาระ (ในการพิจารณาร่างกฎหมาย) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
reo absente (L.) | การพิจารณาลับหลังจำเลย [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
reopening a case | การรื้อฟื้นคดีขึ้นพิจารณาใหม่ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
reference | ๑. การส่งร่างกฎหมายให้คณะกรรมาธิการพิจารณา๒. การมอบคดีให้ทนายความที่ศาลตั้ง [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
recess | ๑. การพักการประชุม (สภานิติบัญญัติ)๒. การเลื่อนการนั่งพิจารณาคดี [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
recess | ๑. การพักการนั่งพิจารณา (ก. วิ.)๒. การพักการประชุม (สภานิติบัญญัติ) (ก. รัฐธรรมนูญ) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
review, judical | การพิจารณาทบทวนโดยศาล [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
reconsider | พิจารณาใหม่ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
reconsider, motion to | ญัตติขอให้พิจารณาใหม่ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
reconsideration | การพิจารณาใหม่ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
Rules, Committee on | คณะกรรมาธิการพิจารณาข้อบังคับของสภา [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
rule-making power | ๑. อำนาจออกกฎข้อบังคับ๒. อำนาจศาลสูงสุดในการวางหลักเกี่ยวกับวิธีพิจารณาความ (อเมริกัน) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
remand | ๑. การย้อนสำนวนไปยังศาลล่าง (ก. วิ.) [ ดู remission ความหมายที่ ๓ ]๒. การขังระหว่างพิจารณา (ป. วิ. อาญา) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
sittings | การนั่งพิจารณา, ครั้งประชุม [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
Innovation | นวัตกรรม, นวัตกรรม หรือนวกรรม หมายถึง วิธีการปฏิบัติใหม่ๆ ที่แปลกไปจากเดิม โดยอาจจะได้มาจากการคิดค้นพบวิธีการใหม่ๆ ขึ้นมา หรือการปรุงแต่งของเก่าให้ใหม่และเหมาะสม และสิ่งทั้งหลายเหล่านี้ได้รับการทดลองพัฒนาจนเป็นที่เชื่อถือได้แล้วว่าได้ผลดีในทางปฏิบัติ ทำให้ระบบก้าวไปสู่จุดหมายปลายทางได้อย่างมีประสิทธิภาพขึ้น โดย มีหลักการที่สำคัญอยู่ 3 ประการ ที่จัดเป็นหลักพิจารณาว่าสิ่งใดเป็นนวัตกรรมทางการศึกษาหรือไม่ คือ <ul><li>สิ่งนั้นควรเป็นสิ่งที่ค้นพบ หรือประดิษฐ์ขึ้นมาใหม่ หรือการปรับปรุงแต่งของเก่าให้ใหม่เหมาะสมกับกาลสมัยมาใช้ในวงการศึกษา เพื่อให้ระบบการศึกษาก้าวหน้าไปอย่างมีประสิทธิภาพ</li><li>ได้ผ่านการทดลอง การปรับปรุงพัฒนา จนเป็นที่ยอมรับกับอย่างแพร่หลาย</li><li>ได้มีการนำมาปฏิบัติจริงในวงการนั้น</li></ul> [เทคโนโลยีการศึกษา] |
Preinvestment study | การพิจารณาศึกษาก่อนการลงทุน [เศรษฐศาสตร์] |
Area survey | การสำรวจพื้นที่, ขั้นตอนเบื้องต้นในการหาพื้นที่เพื่อเป็นที่ตั้งสถานปฏิบัติการทางนิวเคลียร์หรือทางรังสี โดยสำรวจข้อมูลและปัจจัยต่างๆ ของแต่ละพื้นที่ เพื่อพิจารณาผลกระทบที่อาจมีต่อความปลอดภัยของสถานปฏิบัติการ และคัดสถานที่ที่ไม่เหมาะสมออก [นิวเคลียร์] |
X-ray fluorescence analysis | การวิเคราะห์ธาตุโดยการเรืองรังสีเอกซ์, การวิเคราะห์ธาตุในสารตัวอย่าง โดยพิจารณาจากสเปกตรัมซึ่งแสดงค่าพลังงานและความเข้มของรังสีเอกซ์ลักษณะเฉพาะที่เกิดขึ้นจากการเรืองรังสีเอกซ์ของธาตุนั้นๆ การวิเคราะห์นี้สามารถบอกชนิด และปริมาณธาตุได้ถึงระดับส่วนในล้านส่วน [นิวเคลียร์] |
syntax error | ผิดไวยากรณ์, ความผิดพลาดในโปรแกรมอันเกิดจากการสะกดคำสั่งผิดบ้าง หรือใช้รูปแบบคำสั่งผิดบ้าง โปรแกรมทีเขียนด้วยภาษาระดับสูงนั้นจะต้องนำไปแปลเป็นภาษาเครื่องก่อนจึงจะนำไปใช้สั่งงานคอมพิวเตอร์ได้ ในการแปลนั้นตัวแปลภาษาจะตรวจสอบการใช้ไวยากรณ์ในโปรแกรมนั้นไปด้วย ถ้าหากมีที่ผิดตัวแปลภาษาก็จะรายงานความผิดพลาดให้ทราบ เพื่อที่เราจะได้นำไปพิจารณาแก้ไข [คอมพิวเตอร์] |
system | ระบบ, ที่รวมของส่วนประกอบต่างๆ ที่ทำงานร่วมกัน มีจุดประสงค์ร่วมกัน และมีขอบเขตโดยแน่ชัด เช่น คอมพิวเตอร์เป็นระบบ เพราะประกอบด้วยฮาร์ดแวร์และซอฟแวร์ที่ทำงานร่วมกัน เพื่อแก้ปัญหาตามที่ผู้ใช้กำหนด ร่างกายมนุษย์เป็นระบบเพราะประกอบด้วยอวัยวะต่างๆ ที่ทำงานร่วมกันโดยมีวัตถุประสงค์ที่จะให้ร่างกายมีชีวิตอยู่ ระบบทั้งหลายต้องรับอินพุดรูปแบบใดรูปแบบหนึ่งเข้าไปในระบบ ต่อจากนั้นจึงนำอินพุดเหล่านั้นมาดำเนินการให้เกิดเป็นเอาท์พุต หรือปรับอินพุดหรือการดำเนินการให้เหมาะสมยิ่งขึ้น การนำเอาท์พุดมาพิจารณาแล้วปรับ ดังนี้เรียกว่า การป้อนกลับ (feedback) [คอมพิวเตอร์] |
Pending | ช่วงระยะเวลาที่สำนักงานสิทธิบัตรกำลังพิจารณา ยังไม่ตัดสินว่าจะให้สิทธิหรือปฏิเสธแก่การประดิษฐ์ [ทรัพย์สินทางปัญญา] |
Continuation | การดำเนินการยื่นต่อแบบต่อเนื่องหลังจากถูกค้างการพิจารณาไว้, Example: การดำเนินการยื่นต่อแบบต่อเนื่องหลังจากถูกค้างการพิจารณาไว้ ส่วนใหญ่เกิดที่สหรัฐอเมริกาโดยที่ส่วนข้อขอถือสิทธิต้องเหมือนต้นฉบับเดิม [ทรัพย์สินทางปัญญา] |
Preliminary Examination | สำนักงานสิทธิบัตรทำการพิจารณาเอกสารสิทธิบัตรในขั้นตอนแรกสุด, สำนักงานสิทธิบัตรทำการพิจารณาเอกสารสิทธิบัตรในขั้นตอนแรกสุด, Example: เพื่อตรวจสอบข้อมูลรายละเอียดต่าง ๆ ถึงความเหมาะสมและจัดทำรายงานสรุปออกมา [ทรัพย์สินทางปัญญา] |
Administrative procedure | วิธีพิจารณาคดีปกครอง [TU Subject Heading] |
Civil procedure | วิธีพิจารณาความแพ่ง [TU Subject Heading] |
Class actions (Civil procedure) | การฟ้องคดีในนามกลุ่มบุคคล (วิธีพิจารณาความแพ่ง) [TU Subject Heading] |
Complaints (Administrative procedure) | การร้องทุกข์ (วิธีพิจารณาคดีปกครอง) [TU Subject Heading] |
Complaints (Civil procedure) | การร้องทุกข์ (วิธีพิจารณาความแพ่ง) [TU Subject Heading] |
Complaints (Criminal procedure) | การร้องทุกข์ (วิธีพิจารณาความอาญา) [TU Subject Heading] |
Consideration (Law) | การพิจารณาคดี [TU Subject Heading] |
Court congestion and delay | คดีล้นศาลและความล่าช้าในการพิจารณาคดี [TU Subject Heading] |
Criminal procedure | วิธีพิจารณาความอาญา [TU Subject Heading] |
Criminal procedure (International law) | วิธีพิจารณาความอาญา (กฎหมายระหว่างประเทศ) [TU Subject Heading] |
Defense (Criminal procedure) | การป้องกัน (วิธีพิจารณาความอาญา) [TU Subject Heading] |
Fair trial | การพิจารณาคดีด้วยความเป็นธรรม [TU Subject Heading] |
Judgments by default | การพิจารณาโดยขาดนัด [TU Subject Heading] |
New Trials | การพิจารณาและตัดสินคดีใหม่ [TU Subject Heading] |
Pleading (Criminal procedure) | คำให้การ (วิธีพิจารณาความอาญา) [TU Subject Heading] |
Pleas (Criminal procedure) | คำให้การแก้ฟ้อง (วิธีพิจารณาความอาญา) [TU Subject Heading] |
Pre-trial procedure | วิธีการก่อนพิจารณาและตัดสินคดี [TU Subject Heading] |
Preliminary examinations (Criminal procedure) | การไต่สวนมูลฟ้อง (วิธีพิจารณาความอาญา) [TU Subject Heading] |
Psychotherapy, Rational-Emotive | จิตบำบัดตามแนวพิจารณาเหตุผลอารมณ์และพฤติกรรม [TU Subject Heading] |
Speedy trial | การพิจารณาคดีอย่างรวดเร็ว [TU Subject Heading] |
Summary proceedings | กระบวนพิจารณาคดีแบบรวบรัด [TU Subject Heading] |
Trial practice | ระเบียบปฎิบัติการพิจารณาคดี [TU Subject Heading] |
Trials | การพิจารณาและตัดสินคดี [TU Subject Heading] |
Trials (Assassination) | การพิจารณาและตัดสินคดี (การลอบฆ่า) [TU Subject Heading] |
Trials (Fraud) | การพิจารณาและตัดสินคดี (การฉ้อโกง) [TU Subject Heading] |
Trials (Kidnapping) | การพิจารณาและตัดสินคดี (การจับกุมตัวเรียกค่าไถ่) [TU Subject Heading] |
Trials (Libel) | การพิจารณาและตัดสินคดี (การหมิ่นประมาทด้วยลายลักษณ์อักษร) [TU Subject Heading] |
Trials (Military offenses) | การพิจารณาและตัดสินคดี (ความผิดทางทหาร) [TU Subject Heading] |
Trials (Misconduct in office) | การพิจารณาและตัดสินคดี (การฉ้อราษฎร์บังหลวง) [TU Subject Heading] |
Trials (Murder) | การพิจารณาและตัดสินคดี (ฆาตกรรม) [TU Subject Heading] |
Trials (Offenses against the enviornment) | การพิจารณาและตัดสินคดี (ความผิดเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม) [TU Subject Heading] |
Trials (Rape) | การพิจารณาและตัดสินคดี (การข่มขืน) [TU Subject Heading] |
Trials (Slander) | การพิจารณาและตัดสินคดี (การหมิ่นประมาทด้วยวาจา) [TU Subject Heading] |
Trials, litigation, etc. | การพิจารณาและตัดสินคดี, การฟ้องร้อง, ฯลฯ [TU Subject Heading] |
Public Hearing | ประชาพิจารณ์, Example: การประชุมร่วมระหว่างเจ้าของโครงการ เจ้าหน้าที่ ผู้ได้เสีย และนักวิชาการ เพื่อแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกัน และเพื่อหาทางออก ที่ดีที่สุด [สิ่งแวดล้อม] |
ASEAN-Canada Business Council | การประชุมสภาธุรกิจอาเซียน-แคนาดา มีการประชุมทุกปีในระหว่างการประชุมสภาหอการค้าและอุตสาหกรรมอาเซียน เพื่อพิจารณาปัญหาและอุปสรรคในการติดต่อค้าขาย และการร่วมลงทุนระหว่างกัน ตลอดจนเสนอแนะแนวทางของความร่วมมือ [การทูต] |
Accession | การภาคยานุวัติ คือการที่รัฐหนึ่งเข้าไปเป็นภาคีสนธิสัญญา ซึ่งรัฐอื่น ๆ ได้วินิจฉัยตกลงก่อนแล้วและสนธิสัญญานั้นได้มีผลใช้บังคับก่อนแล้วด้วย บางที่ใช้คำ ?accession? ซึ่งตรงกับคำในภาษาฝรั่งเศสว่า ?adhésion? รัฐจะเข้าเป็นภาคีสนธิสัญญาไม่ได้ นอกจากว่าในสนธิสัญญานั้นมีบทบัญญัติยอมให้รัฐอื่นเข้ามาเป็นภาคีด้วยได้ เช่น มาตรา 4 ของกฎบัตรแห่งสหประชาชาติบัญญัติไว้ว่า?(1) สมาชิกภาพในสหประชาชาติ เปิดรับบรรดารัฐอื่นๆ ทั้งหลายที่ยอมรับพันธกรณีที่ระบุไว้ในกฎบัตรปัจจุบันและองค์การสหประชาชาติ พิจารณาวินิจฉัยแล้วว่า รัฐนั้น ๆ สามารถและเต็มใจที่จะปฏิบัติตามพันธกรณีเหล่านั้น??(2) การรับรัฐใดๆ ดังกล่าวเข้าเป็นสมาชิกในสหประชาชาติจะเป็นผลสำเร็จก็ต่อเมื่อสมัชชาสหประชา ชาติได้ลงมติรับรองตามข้อเสนอแนะของคณะมนตรีความมั่นคง? คือ เอกสิทธิ์ทางการทูตในการที่จะได้มีถิ่นพำนัก [การทูต] |
Ad hoc | เพื่อวัตถุประสงค์หรือความมุ่งหมายโดยเฉพาะ เช่น คณะกรรมการการเมืองพิเศษของสหประชาชาติ ซึ่งมีหน้าที่พิจารณาเรื่องต่าง ๆ โดยเฉพาะ ตามที่รับมอบหมายจากสมัชชาสหประชาชาตินั้น แต่เดิมมีชื่อว่าคณะกรรมการการเมืองเฉพาะเรื่อง (Ad hoc Committee) [การทูต] |
ASEAN Economic Ministers Meeting | การประชุมรัฐมนตรีเศรษฐกิจอาเซียน เป็นการประชุมระดับรัฐมนตรีพาณิชย์หรือรัฐมนตรีด้านการ ค้าต่างประ- เทศ ปกติจัดขึ้นปีละครั้งประมาณเดือนกันยายน/ตุลาคมของทุกปี เพื่อหารือ ทบทวนและพิจารณากำหนดแนวทางความร่วมมือทางเศรษฐกิจของอาเซียน [การทูต] |
Amnesty International | องค์การนิรโทษกรรมสากล องค์การนี้เริ่มต้นจากเป็นขบวนการเล็ก ๆ ก่อน เพื่อทำหน้าที่ประท้วง (Protest) แต่ภายในเวลาไม่นานนัก ได้ขยายตัวออกเป็นองค์การ เพื่อให้สมกับเป้าหมายและภารกิจที่ต้องปฏิบัติเพิ่มขึ้นมากมาย คติดั้งเดิมของการรณรงค์ระหว่างประเทศเพื่อสนับสนุนบรรดาบุคคลที่ต้องถูกคุม ขังอยู่ทั่วโลก ด้วยข้อหาเกี่ยวกับความเชื่อถือทางการเมืองและการศาสนานั้น ได้บังเกิดจากความคิดของบุคคลหนึ่งชื่อปีเตอร์ เบเนนสันปีเตอร์ เบเนนสัน ได้เขียนบทความลงในหนังสือพิมพ์ประจำวันอาทิตย์ของอังกฤษชื่อ Sunday Observer เมื่อเดือนพฤษภาคม ค.ศ. 1961 โดยให้หัวเรื่องบทความว่า ?นักโทษที่ถูกลืม? (The Forgotten Prisoners) บทความนี้ได้ประทับใจมติมหาชนทั่วโลกทันที และภายในปีเดียว องค์การได้รับเรื่องร้องเรียนในนามของนักโทษกว่า 200 รายองค์การนิรโทษกรรมสากลมีเป้าหมายนโยบายกว้างๆ อยู่ 3 ข้อ คือ ต้องการให้ปล่อยนักโทษผู้มีนโนธรรม (Prisoners of Conscience) ทั้งหมด ให้มีการยุติการทรมานนักโทษไม่ว่าด้วยวิธีใดๆ รวมทั้งการลงโทษประหารชีวิตและให้มีการพิจารณาพิพากษาคดีนักโทษการเมืองทั้ง หมดอย่างเป็นธรรมและไม่รอช้า องค์การนี้นอกจากจะมีชื่อเสียงว่าเป็นผู้ดำรงความเป็นกลางไม่เข้ากับฝ่ายใด และเป็นที่น่าเชื่อถือไว้วางใจได้อย่างแท้จริงแล้ว ยังเป็นเสมือนศูนย์ข้อมูลและข้อสนเทศที่สำคัญ ซึ่งบรรดาบุคคลสำคัญๆ ทางการเมืองทั่วโลกได้ใช้อ้างอิงอีกด้วยในปัจจุบัน องค์การนิรโทษกรรมมีสมาชิกและผู้สนับสนุนเป็นจำนวนกว่า 1 ล้านคน จากประเทศต่างๆ กว่า 150 ประเทศ องค์การอยู่ภายใต้การบริหารของคณะกรรมการบริหารจำนวน 9 คน รวมทั้งตัวเลขาธิการอีกผู้หนึ่ง ทำหน้าที่ปฏิบัติให้เป็นไปตามข้อมติเกี่ยวกับนโยบาย และเป็นหัวหน้าของสำนักเลขาธิการขององค์การด้วย มีสำนักงานใหญ่ตั้งอยู่ ณ กรุงลอนดอน ประเทศอังกฤษ องค์การมีผู้แทนของตนประจำอยู่กับองค์การสหประชาชาติ เมื่อปี ค.ศ. 1978 ได้รับรางวัลเกี่ยวกับสิทธิมนุษยชนของสหประชาชาติ และในปี ค.ศ. 1977 ก็ได้รับรางวัลสันติภาพโนเบลมาแล้ว [การทูต] |
ASEAN Regional Forum | การประชุมอาเซียนว่าด้วยความร่วมมือด้านการเมืองและความมั่นคงในภูมิภาค เอเชีย-แปซิฟิก " เป็นการประชุมระหว่างรัฐมนตรีต่างประเทศอาเซียนกับรัฐมนตรี ต่างประเทศของประเทศคู่เจรจาของอาเซียน (Dialogue Partners) ได้แก่ ญี่ปุ่น สาธารณรัฐเกาหลี (เกาหลีใต้) สหรัฐอเมริกา แคนาดา ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ อินเดีย จีน รัสเซีย และสหภาพยุโรป ผู้สังเกตการณ์ (Observers) ของอาเซียน ได้แก่ ปาปัวนิวกินี และประเทศอื่น ๆ ที่มีบทบาทสำคัญในภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก เช่น มองโกเลียและสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนเกาหลี (เกาหลีเหนือ) โดย ARF ได้ใช้ ""geographical footprint"" หรือขอบเขตทางภูมิศาสตร์ เป็นปัจจัยสำคัญเพื่อประกอบการพิจารณารับสมาชิกใหม่ ปัจจุบัน ARF มีประเทศสมาชิก 22 ประเทศ กับ 1 กลุ่ม (สหภาพยุโรป) โดยมีการประชุมเป็นประจำทุกปีในช่วงต่อเนื่องกับการประชุมรัฐมนตรี ต่างประเทศอาเซียน (ASEAN Ministerial Meeting - AMM) เป็นเวทีปรึกษาหารือเพื่อส่งเสริมความร่วมมือด้านการเมืองและความมั่นคง ระดับพหุภาคีในภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิก และพัฒนาแนวทางการ ดำเนินการทางการทูตเชิงป้องกัน (Preventive Diplomacy) ที่มุ่ง ป้องกันการเกิดและขยายตัวของความขัดแย้ง โดยใช้มาตรการสร้างความไว้เนื้อเชื่อใจ (Confidence Building Measures - CBMs) ระหว่างกัน ทั้งนี้ ARF มีการประชุมระดับรัฐมนตรีครั้งที่ 1 ที่กรุงเทพฯ เมื่อวันที่ 25 กรกฎาคม 2537 และไทยเป็นเจ้าภาพจัดการประชุม ARF ระดับรัฐมนตรีอีกครั้ง ซึ่งเป็นครั้งที่ 7 ที่กรุงเทพฯ เมื่อวันที่ 27 กรกฎาคม 2543 นอกจากการประชุม ARF ประจำปีแล้วยังมีการดำเนินกิจกรรมระหว่างปี (Inter-sessional Activities) ในสองระดับ คือ กิจกรรมที่เป็นทางการ (Track I) และกิจกรรมที่ไม่เป็นทางการ (Track II) ซึ่งเป็นกิจกรรมที่จัดร่วมกันระหว่างรัฐบาลกับสถาบันวิชาการของ ประเทศผู้เข้าร่วม ARF ได้แก่ (1) การประชุมระหว่างปีกิจกรรมกลุ่มสนับสนุนว่าด้วยมาตรการสร้างความไว้เนื้อ เชื่อใจของ ARF (ARF Inter-sessional Support Group on Confidence Building Measures - ARF ISG on CBMs) (2) การประชุมระหว่างปีกิจกรรมเรื่องการบรรเทาภัยพิบัติของ ARF (ARF Inter-sessional Meeting on Disaster Relief - ARF ISM on DR) (3) การประชุมระหว่างปีกิจกรรมเรื่องการรักษาสันติภาพของ ARF (Inter-sessional Meeting on Peace-keeping Operations - ARF ISM on PKO) และ (4) การประชุมระหว่างปีกิจกรรมเรื่องการประสานและร่วมมือด้านการค้นหาและกู้ภัย ของ ARF (ARF Inter-sessional Meeting on Search and Rescue Coordination - ARF ISM on SAR) " [การทูต] |
โดยมิได้พิจารณา | [dōi midāi phitjāranā] (adv) EN: without thinking |
เอกสารประกอบการพิจารณา | [ēkkasān prakøp kān phijāranā] (n, exp) EN: supporting documents ; records ; material |
ห้องพิจารณาคดี | [hǿng phijāranā khadī] (n, exp) EN: courtroom FR: salle d'audience [ f ] |
การขังระหว่างพิจารณา | [kān khang rawāng phitjāranā] (n, exp) EN: remand |
การขาดนัดพิจารณา | [kān khāt nat phijāranā] (n) EN: default |
การพิจารณา | [kān phijāranā] (n) EN: meditation |
การพิจารณาใหม่ | [kān phijāranā mai] (n, exp) EN: revision |
การพิพากษาในกรณีจำเลยขาดนัดพิจารณา | [kān phiphāksā nai karanī jamloēi khāt nat phijāranā] (n, exp) EN: judgement by default |
การพิจารณา | [kān phitjāranā] (n) EN: consideration ; meditation FR: considération [ f ] |
การพิจารณาคดี | [kān phitjāranā khadī] (n, exp) EN: hearing |
การพิจารณาคดีโดยการทรมาน | [kān phitjāranā khadī dōi kān thøramān] (n, exp) EN: trial by ordeal |
การพิจารณาคดีใหม่ | [kān phitjāranā khadī mai] (n, exp) EN: retrial |
การพิจารณาความผิดทางวินัย | [kān phitjāranā khwāmphit thāng winai] (n, exp) EN: disciplinary action |
การพิจารณาใหม่ | [kān phitjāranā mai] (n, exp) EN: revision |
การตรวจพิจารณาตามวาระ | [kān trūat phijāranā tāmwāra] (n, exp) EN: routine inspection [ f ] FR: examen de routine [ m ] |
คณะกรรมการพิจารณาค่าตอบแทน | [khanakammakān phitjāranā khā tøpthaēn] (n, exp) EN: renumeration committee ; compensation committee |
ขาดความพิจารณา | [khāt khwām phijāranā] (v, exp) EN: lack judgement |
ขาดนัดพิจารณา | [khāt nat phijāranā] (x) EN: default |
ข้อพิจารณา | [khø phitjāranā] (n, exp) EN: point worth considering |
ความพิจารณา | [khwām phijāranā] (n) EN: consideration ; judgement FR: jugement [ m ] |
กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา | [kotmāi withī phijāranā khwām āyā] (n, exp) EN: criminal procedure code ; criminal procedure law ; criminal procedure |
กฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง | [kotmāi withī phijāranā khwām phaeng] (n, exp) EN: civil procedure code ; civil procedure law ; law of civil procedures FR: code de procédure civile [ f ] |
กระบวนการพิจารณา | [krabūankān phijāranā] (n, exp) EN: proceedings |
กระบวนการพิจารณาคดี | [krabūankān phijāranā khadī] (n, exp) EN: court proceedings |
กระบวนการพิจารณาตามกฎหมาย | [krabūankān phijāranā tām kotmāi] (n, exp) EN: legal proceedings |
น่าพิจารณา | [nāphitjāranā] (adj) EN: worth considering FR: prenable en compte |
พิจารณา | [phijāranā] (v) EN: consider ; inquire ; meditate ; examine ; investigate ; judge ; peruse FR: considérer ; étudier ; examiner ; évaluer ; juger |
พิจารณาเห็น ว่า... | [phijāranā hen wā …] (v, exp) EN: it's considered that ... FR: on considère que ... |
พิจารณาคดี | [phijāranā khadī] (v, exp) EN: institute criminal proceedings |
พิจารณาคดีใหม่ | [phijāranā khadī mai] (v, exp) EN: retry FR: juger à nouveau |
พิจารณาข้อเสนอ | [phijāranā khøsanōe] (v, exp) EN: consider a proposal FR: étudier une proposition |
พิจารณาใหม่ | [phijāranā mai] (v, exp) EN: recon sider FR: reconsidérer |
พิจารณารอบคอบ | [phijāranā røpkhøp] (v, exp) EN: look at something from every angle FR: étudier sous tous les angles |
พิจารณาอย่างละเอียดถี่ถ้วน | [phijāranā yāng la-īet thīthūan] (v, exp) EN: examine very carefully FR: examiner minutieusement |
พิจารณาอย่างสุขุม | [phijāranā yāng sukhum] (v, exp) EN: consider carefully |
ประชาพิจารณ์ | [prachāphijān] (n) EN: public hearing |
วิธีพิจารณา | [withī phijāranā] (n) EN: procedure FR: procédure [ f ] |
วิธีพิจารณาคดีในศาลทรัพย์สินทางปัญญา | [withī phijāranā khadī nai sān sapsin thāng panyā] (n, exp) EN: intellectual property procedure |
วิธีพิจารณาคดีในศาลแรงงาน | [withī phijāranā khadī nai sān raēng-ngān] (n, exp) EN: ? FR: ? |
วิธีพิจารณาความอาญา | [withī phijāranā khwām āyā] (n, exp) EN: criminal procedure FR: procédure criminelle [ f ] |
วิธีพิจารณาความแพ่ง | [withī phijāranā khwām phaeng] (n, exp) EN: civil procedure FR: procédure civile [ f ] |
อยู่ในระหว่างการพิจารณา | [yū nai rawāng kān phitjāranā] (v, exp) EN: be under consideration |
account | (vt) พิจารณา, See also: ประเมินค่า, Syn. consider, judge, value |
adjudicate | (vt) วินิจฉัย, See also: พิจารณา, ตัดสิน |
adjudicate | (vi) วินิจฉัย, See also: พิจารณา, ตัดสิน, Syn. judge, adjudge |
advised | (adj) ซึ่งพิจารณามาแล้ว, Syn. thought out, considered, well-considered |
advisedly | (adv) อย่างพิจารณาแล้ว, Syn. thoughtfully, consciously, intentionally |
advisement | (n) การพิจารณาอย่างละเอียด, See also: การคิดอย่างรอบคอบ |
afterthought | (n) ความคิดหรือการพิจารณาภายหลัง, Syn. second thought, reconsideration, after-thought |
after-thought | (n) ความคิดหรือการพิจารณาภายหลัง, Syn. second thought, reconsideration, after-thought |
analyse | (vt) วิเคราะห์, See also: ศึกษา, ตรวจสอบ, พิจารณา, นำมาแยกเป็นส่วนๆ เพื่อพิจารณาในประเด็นต่างๆ, Syn. analyze, resolve into elements |
analysis | (n) การวิเคราะห์, See also: การพิเคราะห์, การนำมาแยกเป็นส่วนๆ เพื่อพิจารณาในประเด็นต่างๆ, Syn. separation, breakdown |
analyze | (vt) วิเคราะห์, See also: ศึกษา, ตรวจสอบ, พิจารณา, Syn. analyse, examine, resolve into elements |
angle | (n) แง่มุมในการพิจารณา, See also: แง่ ความเห็น, มุมมอง, Syn. standpoint, outlook, perspective |
apart | (adv) โดยไม่พิจารณา |
attention | (n) การคำนึงถึง, See also: การพิจารณาอย่างสนใจ |
all in all | (idm) โดยรวม, See also: ดูโดยรวม, พิจารณาจากทั้งหมดแล้ว |
allow for | (phrv) พิจารณา, See also: ไตร่ตรอง, คิดพิจารณา |
ascribe to | (phrv) พิจารณาว่าเขียนโดย, See also: น่าจะมาจาก, คิดว่าเขียนโดย, คิดว่าเป็นของ, Syn. arbitrate to |
at the end of the day | (idm) เมื่อไตร่ตรองทุกอย่างแล้ว (ใช้กล่าวก่อนเข้าสู่สิ่งสำคัญ), See also: เมื่อพิจารณาทุกอย่างแล้ว |
attribute to | (phrv) พิจารณาว่าเขียนโดย, See also: น่าจะมาจาก, คิดว่าเขียนโดย, คิดว่าเป็นของ, Syn. ascribe to |
bar | (n) บัลลังก์ศาล, See also: ที่พิจารณาคดี, คอก |
bat around | (phrv) พิจารณาอย่างถี่ถ้วน (คำไม่เป็นทางการ), See also: อภิปรายอย่างละเอียด |
be out | (phrv) ไม่ได้รับการพิจารณา, See also: ไม่ต้องพูดถึง, Syn. be out of |
be out of the question | (idm) ไม่ต้องพูดถึง, See also: ไม่สามารถพิจารณาได้, Syn. be out |
be the last person | (idm) คนสุดท้าย (ที่จะให้จัดการกับปัญหา), See also: คนสุดท้ายที่จะพิจารณา |
be up for | (phrv) ได้รับพิจารณา, Syn. come up for, put up |
bear in mind | (idm) พิจารณา, See also: จำไว้, ไตร่ตรอง, คิด, Ant. คิดถึง, นึกถึง |
believe in | (phrv) พิจารณาว่าเป็นจริง, See also: เห็นว่าเป็นจริง |
bring before | (phrv) ถูกนำตัวขึ้นศาล, See also: ถูกนำขึ้นพิจารณคดีต่อศาล, Syn. be before, come before, go before |
broach to | (phrv) เสนอให้พิจารณา |
broach with | (phrv) เสนอให้พิจารณา |
calculated | (adj) ที่คิดพิจารณาไว้แล้ว, See also: ที่ทำไปโดยคิดถึงผลที่จะเกิดขึ้นไว้แล้ว, Syn. estimated |
caveat | (n) คำเตือนเพื่อให้พิจารณาก่อนทำสิ่งใดสิ่งหนึ่งจะได้ไม่ผิดพลาด, Syn. warning, alert, caution |
clinch | (vt) ตัดสินใจ (หลังจากที่พิจารณาอย่างมาก) |
cogitate | (vt) พินิจพิเคราะห์, See also: ใคร่ครวญ, พิจารณา, ขบคิด, Syn. consider, contemplate, meditate, ponder |
cogitate | (vi) พินิจพิเคราะห์, See also: ใคร่ครวญ, พิจารณา, ขบคิด, Syn. consider, contemplate, meditate, ponder |
consider | (vt) พิจารณา, See also: คิดอย่างละเอียด, Syn. think, reconsider, study |
consider | (vi) พิจารณา, See also: คิดอย่างละเอียด |
consideration | (n) การคิดพิจารณา, Syn. deliberation, thought, forethought |
considered | (adj) ที่พิจารณาอย่างถี่ถ้วน, Syn. determined, carefully, thought about |
contemplate | (vt) พิจารณา, See also: คิด, Syn. consider, envision |
contemplation | (n) การพิจารณาใคร่ครวญ, See also: การเพ่งพินิจ, การใคร่ครวญ, การไตร่ตรอง |
count | (vi) พิจารณา |
count | (vt) พิจารณา |
count | (vi) รวมเข้าไปด้วย, See also: พิจารณารวมไปด้วย |
count | (vt) รวมเข้าไปด้วย, See also: พิจารณารวมไปด้วย, Syn. include |
courtroom | (n) ห้องพิจารณาคดี |
cater for | (phrv) พิจารณา, See also: ไตร่ตรอง |
chew on | (phrv) ทบทวน, See also: พิจารณาซ้ำ, ไตร่ตรอง, Syn. bite on |
chew upon | (phrv) ทบทวน, See also: พิจารณาซ้ำ, ไตร่ตรอง, Syn. bite on |
commune with | (phrv) ใคร่ครวญ, See also: ไตร่ตรอง, คิดพิจารณา |
account | (อะเคานทฺ') n., vi. บัญชี, หนี้, รายงาน, สาเหตุ, คำอธิบาย, เรื่องราว, ลูกค้า, ทำบัญชี, ชี้แจงรายการ, อธิบาย, จับ, สังหาร, ทำให้เกิด, นับ, พิจารณา, ถือเหตุ, ถือสา, Syn. description, narrative, consider, regard, rate |
adjudicate | (อะจู' ดิเคท) vt., vi. (ศาล) สั่งตัดสินใจให้, พิจารณาลงโทษ, ชี้ขาด, Syn. adjudge |
advised | (แอดไวซดฺ') adj. ซึ่งพิจารณามาแล้ว, ทราบแล้ว. -advisedness n., Syn. considered |
advisedly | (แอดไว' ซิดลี่) adv. หลังจากการพิจารณาแล้ว, ตั้งใจ, Syn. deliberately |
aftertaste | (อาฟ' เทอะธอท, แอฟ-') n. ความคิดหรือการพิจารณาภายหลัง, ความคิดที่ล่าช้า, สิ่งเพิ่มเติมที่ไม่ได้คิดมาก่อน, Syn. addendum |
alcalde | (แอลแคล' ดี) n., (pl. -des) นายกเทศมนตรีที่มีอำนาจพิจารณาคดี., Syn. alcade |
allow | (อะเลา') vt., vi. ยอมให้, อนุญาตให้, จ่ายให้, ยกให้, พิจารณา, คิด, ให้อภัย, เพื่อให้, Syn. permit, confess, Ant. refuse, deny, withhold |
allowance | (อะเลา' เอินซฺ) n. การยินยอม, การอนุญาตให้, สิ่งที่ได้รับส่วนแบ่ง, เงินส่วนแบ่ง, เงินช่วยเหลือ, เงินค่าใช้จ่าย, ส่วนเสริม, การอดทน, การยอมรับ, การพิจารณา, การให้อภัย. vt. เพื่อให้, จัดให้, จัดสรร, Syn. share, allotment |
anvil | (แอน'วิล) n. ทั่งตีเหล็ก -on the anvil ในระหว่างการพิจารณา (an iron block) |
appellate | (อะเพล'เลท) adj. เกี่ยวกับการอุทธรณ์, ซึ่งมีอำนาจพิจารณารับการอุทธรณ์ |
assize | (อะไซซ') n. สภานิติบัญญัติ, ศาลอังกฤษที่พิจารณาความโดยข้าหลวงพิเศษ, คำสั่งหรือคำพิพากษาของศาลชนิดนี้, การไตร่สวน, การนั่งพิจารณาคดี, มาตราการกำหนดราคาสินค้า |
attention | (อะเทน'เชิน) n. การเอาใจใส่, ความสนใจ, การเอาอกเอาใจ, การดูแล, การพิจารณา, คำสั่งให้ยืนตรง (แถวทหาร) , การมีคำสั่งดังกล่าว |
bat | (แบท) 1. { batted, batting, bats } n. กระบองสั้น, ไม้ตีลูกบอล, การตี, แผ่นอิฐ, ก้อนดินเหนียว, ความเร็ว, ก้าว, ค้างคาว, โสเภณี vt. ตีด้วยไม้, ได้คะแนนตีถูกลูก, พิจารณาหรืออธิบายอย่างละเอียด vi. ตีด้วยไม้, ถึงตาตีลูก 2. ใช้เป็นนามสกุล (file type) ของแฟ้มคำสั่งรวม หรือที่เรียกว่า batch file เช่น autoexec.bat ดู batch file ประกอบ |
bethink | (บิธิงคฺ') { bethought, bethought } vt. ทำให้ต้องพิจารณา, ทำให้ระลึกถึง, Syn. recollect |
cogitate | (คอจ'จิเทท) v. พิจารณาอย่างรอบคอบ, ไตร่ตรอง, See also: cogitator n. |
cogitation | (คอจจิเท'เชิน) n. การพิจารณา, แผนงาน, โครงการ, การรับรู้, สิ่งที่ถูกรับรู้ |
cogitative | (คอจ'จิเททิฟว) adj. ซึ่งไตร่ตรอง, ซึ่งพิจารณา, ซึ่งรับรู้., See also: cogitativeness n. |
cognizable | (คอก'นิซะเบิล) adj. ซึ่งสามารถรับรู้หรือรู้ได้, ภายในขอบเขตอำนาจการพิจารณาของศาล, Syn. cognisable |
cognizance | n. การรับรู้, การยอมรับ, การสังเกต, คำสั่งศาล, อำนาจการพิจารณาคดี, อำนาจศาล, วงความรู้, ขอบข่ายของการสังเกต, Syn. cognisance |
cognizant | (คอก'นิเซินทฺ) adj. ซึ่งมีพิจารณญาณ, ซึ่งรู้ถึง, ซึ่งรับรู้, ตะหนักถึง, Syn. cognisant |
commitment | (คะมิท'เมินทฺ) n. การมอบ, การมอบหมาย (หน้าที่ความไว้วางใจ) , การส่งให้พิจารณา, การกักตัวไว้ในโรงพยาบาลโรคจิต, การส่งเข้าคุก, การให้คำมั่นสัญญา, คำสั่งศาลให้กักหรือเข้าคุก, การกระทำความผิด, การพัวพัน, การเข้าสู่สงคราม., Syn. committal, delive |
consider | (คันซิด'เดอะ) { considered, considering, considers } vt. พิจารณา, ครุ่นคิด, คิด, คำนึงถึง, See also: considerer n. ดูconsider, Syn. examine, ponder |
considerable | (คันซิด'เดอระเบิล) adj. ค่อนข้างใหญ่, ค่อนข้างมาก, น่าพิจารณา, น่านับถือ. n.จำนวนมาก, จำนวนไม่น้อย, See also: considerably adv. ดูconsiderable, Syn. large, Ant. trifling |
considerate | (คันซิด'เดอเรท) adj. ซึ่งพิจารณาอย่างรอบคอบ, เห็นอกเห็นใจ, ที่คิดถึงคนอื่น, See also: considerateness n. ดูconsiderate, Syn. thoughtful, Ant. inconsiderate |
consideration | (คันซิดเดอเร'เชิน) n. การพิจารณา, การครุ่นคิด, สิ่งที่ควรพิจารณา, การชดเชย, ความเห็นใจคนอื่น, ความสำคัญ, ความนับถือ, Syn. thinking |
considered | (คันซิด'เดอดฺ) adj. ซึ่งได้รับการพิจารณา, เป็นที่นับถือ |
considering | (คันซิด'เดอริง) prep. เกี่ยวกับ, ในด้าน, เมื่อพิจารณาถึง. -adv. เมื่อพิจารณาถึงทุกสิ่งแล้ว |
consult | (คันซัลทฺ') { consulted, consulting, consults } v. ปรึกษา, หารือ, ขอความเห็น, ปรึกษาหมอ, พิจารณา, ปรึกษากับตรวจ, ค้น n. (คอน'ซัลทฺ, คันซัลทฺ') การปรึกษา, See also: consultable adj. ดูconsult consulter n., Syn. confer |
contemplation | (คอนเทมเพล'เชิน) n. การใคร่ครวญ, การไตร่ตรอง, การพิจารณาอย่างระมัดระวัง, เจตนา, ความมุ่งหมาย, การอธิษฐาน, การเข้าญาน, Syn. thought |
counterpoise | (เคา'เทอะพอยซฺ) n. น้ำหนักสำหรับถ่วง, เครื่องถ่วง, อำนาจหรือแรงถ่วงที่เท่าเทียมกัน, ดุลยภาพ, ภาวะทรงตัว, คาน, เครื่องคาน, สติ. vt. ถ่วงด้วยน้ำหนัก, ถ่วงให้สมดุล, ทำให้ทรงตัว, พิจารณาอย่างละเอียด, Syn. compensate, offset, equalize |
courtroom | (คอร์ท'รูม) n. ห้องพิจารณาคดี |
debate | (ดิเบท') { debated, debating, debates } vt., n. (การ) ถกเถียง, อภิปราย, พิจารณา, ชิงชัย, ต่อสู้, Syn. argue |
deliberation | (ดิลิบบะเร'เชิน) n. ความสุขุม, ความรอบคอบ, เจตนา, การพิจารณาหารือ, การปรึกษา, ความเชื่องช้า, Syn. thought, Ant. haste |
deliberative | adj. (เกี่ยวกับ) การพิจารณาอย่างรอบคอบ, การปรึกษาหารือ., See also: deliberativeness n. ดูdeliberative, Syn. thoughtful |
diesnon | n. วันที่ศาลไม่สามารถพิจารณาคดี |
discreet | (ดิสครีท') adj. พิจารณารอบคอบ, สุขุม, ไตร่ตรองอย่างรอบคอบ, ระมัดระวัง., See also: discreetness n. ดูdiscreet |
dismiss | (ดิสมิส') vt. ไล่ออก, เลิก, บอกให้เลิกแถว, ไม่พิจารณา, แย้งกลับ, ไม่รับฟ้อง, ยกฟ้อง., See also: dismissible adj. ดูdismiss dismissive adj. ดูdismiss |
dismissal | (ดิสมิส'เซิล) วn. การไล่ออก, การบอกให้เลิก, การไม่พิจารณา, การยกฟ้อง, Syn. dismission |
docket | (ดอค'คิท) n. รายการคดีและคำพิพากษาของศาล, รายการเรื่องราวการพิจารณาโดยคณะกรรมการสภา, ใบเซ็นของสินค้า, ใบปะหน้า, หนังสือแสดงการเสียภาษีศุลกากร, บัตร, สาระสำคัญ. vt. นำเข้ารายการพิจารณาคดีของศาล, เขียนใบปะหน้า, สรุปสาระสำคัญ |
elide | (อิไลดฺ') vt. ตัดออก, ไม่เอา, ไม่พิจารณา, ผ่าน, มองข้าม, ยกเลิก, เลิกล้ม, Syn. omit |
entertain | (เอนเทอะเทน') vt. ทำให้เพลิดเพลิน, ทำให้สนุกสนาน, ต้อนรับ, รับรองแขก, เชิญไปเลี้ยง, ยอมรับ, รับ, รับพิจารณา. -vi. รับรองแขก |
entertainment | n. การให้ความเพลิดเพลิน, การต้อนรับแขก, สิ่งที่ให้ความเพลิดเพลิน, การแสดง, การยอมรับ, การรับพิจารณา, Syn. amusement |
hear | (เฮียร์) { heard, hearing, hears } vt. ฟัง, ได้ยิน, สดับ, รับฟัง, ได้ยินมาว่า, พิจารณา. vi. ฟัง, ได้ยิน., See also: hearable adj. hearer n., Syn. heed, listen |
hearing | (เฮีย'ริง) n. การฟัง, การพิจารณา, การได้ยิน, โสตประสาท, การพิจารณาคดี, Syn. interview |
here | (เฮียร์) adv. ที่นี่, ตรงนี้, ขณะนี้, ซึ่งกำลังพิจารณาอยู่, See also: here below ในโลกนี้, ในชีวิตนี้. -Phr. neither here nor their ไม่สำคัญ, ไร้สาระ n. ที่นี้, โลกนี้, ชีวิตนี้, ปัจจุบันนี้. interj. ขณะนี้!. เดี๋ยวนี้!, เอาละ คำที่มีความหมายเหมือนกั |
impeach | (อิมพีช') vt. กล่าวโทษ, ฟ้องร้อง, ทำคดีชั้นพิจารณา, กล่าวหา, ไม่เชื่อถือ., See also: impeacher n., Syn. charge, accuse, censure |
indiscriminate | (อินอิสคริม'มะเนท) adj. ไม่เลือกเจาะจง, ตามอำเภอใจ, สุ่มตัวอย่าง, ขาดการพิจารณา., See also: indiscriminately adv. indiscriminateness n. indiscrimination n. indiscriminative adj., Syn. casual |
indiscriminating | (อินดิสคริม'มะเนททิง) adj. ไม่เลือกที่รักมักที่ชัง, ซึ่งขาดการพิจารณา., See also: indiscriminatingly adv. |
inquest | (อิน'เควสทฺ) n. การสอบสวนคดี, การพิจารณาคดี' (โดยเฉพาะที่เกี่ยวกับการชันสูตรศพ) คณะผู้สอบสวน, Syn. legal, inquiry |
introspect | (อินทระสเพคทฺ') vt., vi.ใคร่ครวญ, บททวนความคิดของตน, หวนคิด, พินิจพิจารณาตัวเอง, See also: introspective adj. introspectively adv. introspectiveness n. |
advised | (adj) ซึ่งพิจารณามาแล้ว |
assize | (n) การไต่สวน, การพิจารณาคดี |
cogitate | (vi) ใคร่ครวญ, คิด, ไตร่ตรอง, พิจารณา, ตรึกตรอง |
cogitation | (n) การใคร่ครวญ, การไตร่ตรอง, การพิจารณา, การตรึกตรอง |
cognizance | (n) การยอมรับ, การสังเกต, อำนาจการพิจารณาคดี |
consider | (vt) คิด, คำนึงถึง, นึกถึง, พิจารณา, สนใจ |
considerable | (adj) มาก, มากมาย, สำคัญ, น่าพิจารณา |
consideration | (n) การพิจารณา, การครุ่นคิด, การคำนึงถึง, ความเห็นอกเห็นใจ |
considering | (pre) เมื่อพิจารณาถึง, เกี่ยวกับในด้าน |
consult | (vt) ปรึกษาหารือ, พิจารณา, ขอความเห็น |
consultation | (n) การปรึกษาหารือ, การพิจารณา, การประชุม |
deduce | (vt) อ้างจาก, อนุมานจาก, ลงความเห็นจาก, พิจารณาเหตุผลจาก |
diagnose | (vt) พิจารณา, วินิจฉัย, วิเคราะห์, ตรวจโรค |
diagnosis | (n) การพิจารณา, การวินิจฉัย, การวิเคราะห์, การตรวจโรค |
discuss | (vt) อภิปราย, สาธยาย, พิจารณา, โต้เถียง, โต้ตอบ, สนทนา |
discussion | (n) การอภิปราย, การพิจารณา, การสนทนา, การโต้เถียง, การโต้ตอบ |
hearing | (n) การได้ยิน, การฟัง, การสดับ, โสตประสาท, การพิจารณา |
indiscriminate | (adj) ไม่พิถีพิถัน, ไม่พิจารณา, ไม่เจาะจง, ยุ่งเหยิง, ตามอำเภอใจ |
inquest | (n) การไต่สวน, การพิจารณาคดี, การสอบสวนคดี, การชันสูตรศพ |
introspect | (vi) พิจารณา, ใคร่ครวญ, คิดหน้าคิดหลัง, หวนคิด |
introspection | (n) การพิจารณา, การใคร่ครวญ, การทบทวน, การครุ่นคิด |
judge | (n) ผู้พิพากษา, ผู้พิจารณา, ผู้ตัดสิน, ตุลาการ |
judge | (vt) พิพากษา, ตัดสิน, พิจารณา, วิจารณ์, ลงความเห็น |
judgment | (n) การตัดสิน, การพิจารณา, คำตัดสิน, คำพิพากษา |
judicial | (adj) ตามกฎหมาย, ในทางศาล, เกี่ยวกับการพิจารณาคดี |
judiciary | (n) ศาล, ตุลาการ, ผู้พิพากษา, การพิจารณาคดี |
misjudge | (vt) พิจารณาผิด, ตัดสินใจผิด, วินิจฉัยผิด |
perpend | (vi) คิด, ครุ่นคิด, พิจารณา, ไตร่ตรอง, ใช้วิจารณญาณ |
perusal | (n) การอ่าน, การพินิจพิจารณา, การตรวจ |
peruse | (vt) อ่าน, พินิจพิจารณา, ตรวจ |
ponder | (vt) ใคร่ครวญ, ครุ่นคิด, พิจารณา |
pore | (vi) พิจารณา, เพ่ง, ง่วน, เอาใจใส่ |
reckon | (vt) นับ, คิด, คาดคะเน, สรุป, คำนวณ, ประเมิน, พิจารณา |
reconsider | (vt) ไตร่ตรองใหม่, พิจารณาอีกครั้ง, คิดใหม่ |
regard | (n) ความเอาใจใส่, การมองดู, ความนับถือ, มิตรภาพ, การพิจารณา |
regard | (vt) เห็นว่า, มองดู, คำนึงถึง, เกี่ยวกับ, พิจารณา, ฟัง, นับถือ |
retrospect | (n) การหวนคิด, การพิจารณาย้อนหลัง, การนึกถึงอดีต |
retry | (vt) พิจารณาใหม่, ทดลองใหม่, ทดสอบใหม่ |
review | (vt) ทบทวน, วิจารณ์, สังเกตการณ์, พิจารณาใหม่ |
revolve | (vt) คิดทบทวน, ตรึกตรอง, พิจารณา, ครุ่นคิด |
scan | (vt) วิเคราะห์, พิจารณา, ดูผ่านตา |
scrutinize | (vt) พินิจพิเคราะห์, พิจารณา |
scrutiny | (n) การพินิจพิเคราะห์, การพิจารณา |
see | (vi) สนใจ, เห็น, พบ, สังเกต, พิจารณา, สอบถาม |
seeing | (con) เมื่อพิจารณาถึง, ด้วยเหตุว่า, ตามความเป็นจริง |
shelve | (vt) วางบนหิ้ง, วางบนชั้น, ปลดประจำการ, เลื่อนการพิจารณา |
sit | (vi) นั่ง, นั่งพิจารณาความ, เข้าสอบไล่, ประชุม, พักผ่อน |
speculate | (vi) เดา, คิด, เก็ง, เสี่ยงโชค, คาดการณ์, พิจารณา |
stay | (n) การหยุด, การพัก, เครื่องค้ำจุน, การเลื่อนการพิจารณา |
study | (vt) พิจารณา, เรียน, ศึกษา, ค้นคว้า |