85 ผลลัพธ์ สำหรับ *มุสลิม*
หรือค้นหา: มุสลิม, -มุสลิม-

Longdo Unapproved MS - TH
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
Bumiputera(n) (การเมือง) ภูมิบุตร หมายถึง ชาวมาเลย์ที่เป็นมุสลิมและมีถิ่นฐานอยู่ในอาณาเขตของประเทศมาเลเซียปัจจุบัน เช่น minimum 30% Bumiputera shareholding requirement หมายถึงจะต้องมีผู้ถือหุ้นเป็นชาวมาเลย์ดังกล่าวเกิน 30% ของผู้ถือหุ้นทั้งหมด, See also: S. Bhumiputera

NECTEC Lexitron-2 Dictionary (TH-EN)
มุสลิม(n) Muslim, See also: Moslem, Syn. ชาวมุสลิม, Example: สุเหร่าแห่งนี้เป็นสุเหร่าศักดิ์สิทธิ์ของมุสลิมในอินเดียที่สร้างขึ้นมาตั้งแต่สมัยคริสต์ศตวรรษที่ 16, Count Unit: คน, Thai Definition: ผู้นับถือศาสนาอิสลาม
ชาวมุสลิม(n) Muslim, See also: Moslem, Islam, Syn. ชาวอิสลาม, คนมุสลิม, Example: ชาวมุสลิมมักนิยมแต่งงานกันเองในหมู่มุสลิมกันเอง, Count Unit: คน
ศาสนามุสลิม(n) Mohammedanism, See also: Muslimism, Islam, Islamism, Moslemism, Syn. ศาสนาอิสลาม, มุสลิม, อิสลาม, Example: ศาสนามุสลิมมีข้อห้ามไม่ให้ดื่มสุรา

พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔
มุสลิม(มุดสะลิม) น. ผู้นับถือศาสนาอิสลาม.
กะดีคำที่ใช้เรียกศาสนสถานของศาสนาอื่น เช่น กะดีเจ้าเซ็นและกะดีขาวเป็นมัสยิดของชาวมุสลิม กะดีจีนเป็นศาลเจ้าของชาวจีน, ปัจจุบันคือมัสยิดหรือสุเหร่า. (เลือนมาจาก กุฎี).
กุฎีคำที่ใช้เรียกศาสนสถานของศาสนาอื่น เช่น กุฎีเจ้าเซ็นและกุฎีขาวเป็นมัสยิดของชาวมุสลิม กุฎีจีนเป็นศาลเจ้าของชาวจีน, โบราณเรียกว่า กะดี, ปัจจุบันคือมัสยิดหรือสุเหร่า.
ข้าวหมกน. อาหารชนิดหนึ่งของมุสลิม ประกอบด้วยข้าวสวยปรุงด้วยเครื่องเทศและขมิ้น มีเนื้อไก่หรือเนื้อแพะหมกในข้าว.
จุฬาราชมนตรีน. ตำแหน่งผู้นำสูงสุดทางด้านการบริหารกิจการมุสลิมในประเทศไทย เป็นที่ปรึกษาทางราชการเกี่ยวกับกิจการมุสลิมทั้งปวง.
บิหลั่นน. ผู้ประกาศเชิญชวนให้มุสลิมปฏิบัติศาสนกิจตามเวลา.
มะตะบะน. ชื่ออาหารอย่างมุสลิมชนิดหนึ่ง คล้ายโรตี แต่มีไส้ทำด้วยเนื้อหรือไก่ผัดกับหอมหัวใหญ่ใส่เครื่องเทศ กินกับอาจาด.
มัสมั่น(มัดสะหฺมั่น) น. ชื่อแกงชนิดหนึ่ง นํ้าแกงข้น เป็นแกงอย่างมุสลิม ใช้เนื้อหรือไก่เป็นต้นชิ้นโต ๆ ปรุงด้วยเครื่องเทศ มีรสเค็ม หวาน และออกเปรี้ยวเล็กน้อย.
มัสยิด(มัดสะหฺยิด, มัดสะยิด) น. สถานที่ซึ่งชาวมุสลิมใช้เป็นที่ประกอบศาสนกิจ, สุเหร่า ก็เรียก. (อา.)
มัสรู่ ๒(มัดสะหฺรู่) น. แกงเผ็ดอย่างมุสลิม.
รองเง็งน. ศิลปะการแสดงแบบหนึ่งของชาวไทยมุสลิมภาคใต้ เป็นการเต้นรำคู่ชายหญิง และร้องเพลงคลอไปด้วย.
ศีลอด(สีน-) น. การถือบวชของชาวมุสลิม ไม่ดื่มไม่กินอะไรเลยตลอดเวลากลางวันตั้งแต่พระอาทิตย์ขึ้นจนถึงพระอาทิตย์ตกในเดือนเราะมะฎอน อันเป็นเดือนที่ ๙ แห่งปีในศาสนาอิสลามนับแบบจันทรคติ.
สุเหร่า(-เหฺร่า) น. สถานที่ซึ่งชาวมุสลิมใช้เป็นที่ประกอบศาสนกิจ, มัสยิด ก็เรียก.
อิสลามน. ศาสนาที่สำคัญศาสนาหนึ่งของโลก มีศาสดาชื่อมุฮัมมัด นับถือพระเจ้าองค์เดียวคืออัลลอฮ์ มีคัมภีร์อัลกุรอานเป็นหลัก ไม่มีนักบวช, เรียกผู้ที่นับถือศาสนาอิสลามว่า มุสลิม.
ฮาเร็มน. สถานที่ที่จัดไว้ให้เป็นที่อยู่ของบรรดานางสนมหรือนางบำเรอของพระเจ้าแผ่นดิน ผู้มีอำนาจ หรือเศรษฐีที่เป็นมุสลิม มักจะเป็นประเทศในแถบเอเชียตะวันออกกลางและอินเดียสมัยที่มุสลิมปกครองเป็นต้น.

คลังศัพท์ไทย (สวทช.)
Muslim childrenเด็กมุสลิม [TU Subject Heading]
Muslim familiesครอบครัวมุสลิม [TU Subject Heading]
Muslim pilgrims and pilgrimagesผู้จาริกและการจาริกแสวงบุญของชาวมุสลิม [TU Subject Heading]
Muslim studentsนักเรียนมุสลิม [TU Subject Heading]
Muslim studentsนักศึกษามุสลิม [TU Subject Heading]
Muslim womenสตรีมุสลิม [TU Subject Heading]
Muslim youthเยาวชนชาวมุสลิม [TU Subject Heading]
Muslimsมุสลิม [TU Subject Heading]
Muslims in literatureมุสลิมในวรรณกรรม [TU Subject Heading]
D-8กลุ่มความร่วมมือของประเทศกำลังพัฒนาที่เป็นมุสลิมและเป็นสมาชิก OIC " ซึ่งมีประชากรมากที่สุด ประกอบด้วยสมาชิก 8 ประเทศ ได้แก่ บังกลาเทศ ปากีสถาน อินโดนีเซีย มาเลเซีย อียิปต์ อิหร่าน ตุรกี และไนจีเรีย จัดการประชุมสุดยอดครั้งแรกเมื่อวันที่ 15 มิถุนายน 2540 ที่นครอิสตันบูล ประเทศตุรกี " [การทูต]
Gorbachev doctrineนโยบายหลักของกอร์บาชอฟ เป็นศัพท์ที่สื่อมวลชนของประเทศฝ่ายตะวันตกบัญญัติขึ้น ในตอนที่กำลังมีการริเริ่มใหม่ๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง เกี่ยวกับนโยบายต่างประเทศของโซเวียตในด้านความร่วมมือระหว่างประเทศอภิมหา อำนาจตั้งแต่ ค.ศ. 1985 เป็นต้นมา ภายใต้การนำของ นายมิคาอิล กอร์บาชอฟ ในระยะนั้น โซเวียตเริ่มเปลี่ยนทิศทางของสังคมภายในประเทศใหม่ โดยยึดหลักกลาสนอสต์ (Glasnost) ซึ่งหมายความว่า การเปิดกว้าง รวมทั้งหลักเปเรสตรอยก้า (Perestroika) อันหมายถึงการปรับเปลี่ยนโครงสร้างใหม่ในช่วงปี ค.ศ. 1985 ถึง 1986 บุคคลสำคัญชั้นนำของโซเวียตผู้มีอำนาจในการตัดสินใจนี้ ได้เล็งเห็นและสรุปว่าการที่ประเทศพยายามจะรักษาสถานภาพประเทศอภิมหาอำนาจ และครองความเป็นใหญ่ในแง่อุดมคติทางการเมืองของตนนั้นจำต้องแบกภาระทาง เศรษฐกิจอย่างหนักหน่วง แต่ประโยชน์ที่จะได้จริง ๆ นั้นกลับมีเพียงเล็กน้อย เขาเห็นว่า แม้ในสมัยเบรสเนฟ ซึ่งได้เห็นความพยายามอันล้มเหลงโดยสิ้นเชิงของสหรัฐฯ ในสงครามเวียดนาม การปฏิวัติทางสังคมนิยมที่เกิดขึ้นในแองโกล่า โมซัมบิค และในประเทศเอธิโอเปีย รวมทั้งกระแสการปฏิวัติทวีความรุนแรงยิ่งขึ้นในแถบประเทศละตินอเมริกา ก็มิได้ทำให้สหภาพโซเวียตได้รับประโยชน์ หรือได้เปรียบอย่างเห็นทันตาแต่ประการใด แต่กลับกลายเป็นภาระหนักอย่างยิ่งเสียอีก แองโกล่ากับโมแซมบิคกลายสภาพเป็นลูกหนี้อย่างรวดเร็ว เอธิโอเปียต้องประสบกับภาวะขาดแคลนอาหารอย่างสาหัส และการที่โซเวียตใช้กำลังทหารเข้ารุกรานประเทศอัฟกานิสถานเมื่อปี ค.ศ. 1979 ทำให้ระบบการทหารและเศรษฐกิจของโซเวียตต้องเครียดหนักยิ่งขึ้น และการเกิดวิกฤตด้านพลังงาน (Energy) ในยุโรปภาคตะวันออกระหว่างปี ค.ศ. 1984-1985 กลับเป็นการสะสมปัญหาที่ยุ่งยากมากขึ้นไปอีก ขณะเดียวกันโซเวียตตกอยู่ในฐานะต้องพึ่งพาอาศัยประเทศภาคตะวันตกมากขึ้นทุก ขณะ ทั้งในด้านวิชาการทางเทคโนโลยี และในทางโภคภัณฑ์ธัญญาหารที่จำเป็นแก่การดำรงชีวิตของพลเมืองของตน ยิ่งไปกว่านั้น การที่เกิดการแข่งขันกันใหม่ด้านอาวุธยุทโธปกรณ์กับสหรัฐอเมริกา โดยเฉพาะแผนยุทธการของสหรัฐฯ ที่เรียกว่า SDI (U.S. Strategic Defense Initiative) ทำให้ต้องแบกภาระอันหนักอึ้งทางการเงินด้วยเหตุนี้โซเวียตจึงต้องทำการ ประเมินเป้าหมายและทิศทางการป้องกันประเทศใหม่ นโยบายหลักของกอร์บาซอฟนี่เองทำให้โซเวียตต้องหันมาญาติดี รวมถึงทำความตกลงกับสหรัฐฯ ในรูปสนธิสัญญาว่าด้วยกำลังนิวเคลียร์ในรัศมีปานกลาง (Intermediate Range Force หรือ INF) ซึ่งได้ลงนามกันในกรุงวอชิงตันเมื่อปี ค.ศ. 1987เหตุการณ์นี้ถือกันว่าเป็นมาตรการที่มีความสำคัญที่สุดในด้านการควบคุม ยุทโธปกรณ์ตั้งแต่เริ่มสงครามเย็น (Cold War) ในปี ค.ศ. 1946 เป็นต้นมา และเริ่มมีผลกระทบต่อทิศทางในการที่โซเวียตเข้าไปพัวพันกับประเทศ อัฟกานิสถาน แอฟริกาภาคใต้ ภาคตะวันออกกลาง และอาณาเขตอ่าวเปอร์เซีย กอร์บาชอฟถึงกับประกาศยอมรับว่า การรุกรานประเทศอัฟกานิสถานเป็นการกระทำที่ผิดพลาด พร้อมทั้งถอนกองกำลังของตนออกไปจากอัฟกานิสถานเมื่อปี ค.ศ. 1989 อนึ่ง เชื่อกันว่าการที่ต้องถอนทหารคิวบาออกไปจากแองโกล่า ก็เป็นเพราะผลกระทบจากนโยบายหลักของกอร์บาชอฟ ซึ่งได้เปลี่ยนท่าทีและบทบาทใหม่ของโซเวียตในภูมิภาคตอนใต้ของแอฟริกานั้น เอง ส่วนในภูมิภาคตะวันออกกลาง นโยบายหลักของกอร์บาชอฟได้เป็นผลให้ นายเอ็ดวาร์ด ชวาดนาเซ่ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ซึ่งเป็นผู้ที่ได้รับการแต่งตั้งจากนายกอร์บาชอฟ เริ่มแสดงสันติภาพใหม่ๆ เช่น ทำให้โซเวียตกลับไปรื้อฟื้นสัมพันธภาพทางการทูตกับประเทศอิสราเอล ทำนองเดียวกันในเขตอ่าวเปอร์เซีย โซเวียตก็พยายามคืนดีด้านการทูตกับประเทศอิหร่าน เป็นต้นการเปลี่ยนทิศทางใหม่ทั้งหลายนี้ ถือกันว่ายังผลให้มีการเปลี่ยนแปลงนโยบายภายในประเทศทั้งด้านเศรษฐกิจและ ด้านสังคมของโซเวียต อันสืบเนื่องมาจากนโยบาย Glasnost and Perestroika ที่กล่าวมาข้างต้นนั่นเองในที่สุด เหตุการณ์ทั้งหลายเหล่านี้ก็ได้นำไปสู่การล่มสลายอย่างกะทันหันของสหภาพ โซเวียตเมื่อปี ค.ศ. 1991 พร้อมกันนี้ โซเวียตเริ่มพยายามปรับปรุงเปลี่ยนแปลง รวมทั้งปรับโครงสร้างทางเศรษฐกิจการเมืองของประเทศให้ทันสมัยอย่างขนานใหญ่ นำเอาทรัพยากรที่ใช้ในด้านการทหารกลับไปใช้ในด้านพลเรือน พฤติกรรมเหล่านี้ทำให้เกิดจิตใจ (Spirit) ของการเป็นมิตรไมตรีต่อกัน (Détente) ขึ้นใหม่ในวงการการเมืองโลก เห็นได้จากสงครามอ่าวเปอร์เซีย ซึ่งโซเวียตไม่เล่นด้วยกับอิรัก และหันมาสนับสนุนอย่างไม่ออกหน้ากับนโยบายของประเทศฝ่ายสัมพันธมิตรนัก วิเคราะห์เหตุการณ์ต่างประเทศหลายคนเห็นพ้องต้องกันว่า การที่เกิดการผ่อนคลาย และแสวงความเป็นอิสระในยุโรปภาคตะวันออกอย่างกะทันหันนั้น เป็นผลจากนโยบายหลักของกอร์บาชอฟโดยตรง คือเลิกใช้นโยบายของเบรสเนฟที่ต้องการให้สหภาพโซเวียตเข้าแทรกแซงอย่างจริง จังในกิจการภายในของกลุ่มประเทศยุโรปตะวันออก กระนั้นก็ยังมีความรู้สึกห่วงใยกันไม่น้อยว่า อนาคตทางการเมืองของกอร์บาชอฟจะไปได้ไกลสักแค่ไหน รวมทั้งความผูกพันเป็นลูกโซ่ภายในสหภาพโซเวียตเอง ซึ่งยังมีพวกคอมมิวนิสต์หัวรุนแรงหลงเหลืออยู่ภายในประเทศอีกไม่น้อย เพราะแต่เดิม คณะพรรคคอมมิวนิสต์ในสหภาพโซเวียตนั้น เป็นเสมือนจุดรวมที่ทำให้คนสัญชาติต่าง ๆ กว่า 100 สัญชาติภายในสหภาพ ได้รวมกันติดภายในประเทศที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในโลก คือมีพื้นที่ประมาณ 1 ใน 6 ส่วนของพื้นที่โลก และมีพลเมืองทั้งสิ้นประมาณ 280 ล้านคนจึงสังเกตได้ไม่ยากว่า หลังจากสหภาพโซเวียตล่มสลายไปแล้ว พวกหัวเก่าและพวกที่มีความรู้สึกชาตินิยมแรง รวมทั้งพลเมืองเผ่าพันธุ์ต่างๆ เกิดความรู้สึกไม่สงบ เพราะมีการแก่งแย่งแข่งกัน บังเกิดความไม่พอใจกับภาวะเศรษฐกิจที่ตนเองต้องเผชิญอยู่ จึงเป็นสาเหตุที่ทำให้จักรวรรดิของโซเวียตต้องแตกออกเป็นส่วน ๆ เช่น มีสาธารณรัฐที่มีอำนาจ ?อัตตาธิปไตย? (Autonomous) หลายแห่ง ต้องการมีความสัมพันธ์ในรูปแบบใหม่กับรัสเซีย เช่น สาธารณรัฐยูเกรน ไบโลรัสเซีย มอลดาเวีย อาร์เมเนีย และอุสเบคิสถาน เป็นต้น แต่ก็เป็นการรวมกันอย่างหลวม ๆ มากกว่า และอธิปไตยที่เป็นอยู่ขณะนี้ดูจะเป็นอธิปไตยที่มีขอบเขตจำกัดมากกว่าเช่นกัน โดยเฉพาะสาธารณรัฐมุสลิมในสหภาพโซเวียตเดิม ซึ่งมีพลเมืองรวมกันเกือบ 50 ล้านคน ก็กำลังเป็นปัญหาต่อเชื้อชาติสลาฟ และการที่พวกมุสลิมที่เคร่งครัดต่อหลักการเดิม (Fundamentalism) ได้เปิดประตูไปมีความสัมพันธ์อันดีกับประะเทศอิหร่านและตุรกีจึงทำให้มีข้อ สงสัยและครุ่นคิดกันว่า เมื่อสหภาพโซเวียตแตกสลายออกเป็นเสี่ยง ๆ ดังนี้แล้ว นโยบายหลักของกอร์บาชอฟจะมีทางอยู่รอดต่อไปหรือไม่ ซึ่งเป็นเรื่องที่ถกเถียงและอภิปรายกันอยู่พักใหญ่และแล้ว เมื่อวันที่ 19 สิงหาคม ค.ศ. 1991 ก็ได้เกิดความพยายามที่จะถอยหลังเข้าคลอง คือกลับนโยบายผ่อนเสรีของ Glasnost และ Perestroika ทั้งภายในประเทศและภายนอกประเทศโดยมีผุ้ที่ไม่พอใจได้พยายามจะก่อรัฐประหาร ขึ้นต่อรัฐบาลของนายกอร์บาชอฟ แม้การก่อรัฐประหารซึ่งกินเวลาอยู่เพียงไม่กี่วันจะไม่ประสบผลสำเร็จ แต่เหตุการณ์นี้ก่อให้เกิดผลสะท้อนลึกซึ้งมาก คือเป็นการแสดงว่า อำนาจของรัฐบาลกลางย้ายจากศูนย์กลางไปอยู่ตามเขตรอบนอกของประเทศ คือสาธารณรัฐต่างๆ ซึ่งก็ต้องประสบกับปัญหานานัปการ จากการที่ประเทศเป็นภาคีอยู่กับสนธิสัญญาระหว่างประเทศต่างๆ โดยเฉพาะความตกลงเกี่ยวกับการควบคุมอาวุธยุทโธปกรณ์ ซึ่งสหภาพโซเวียตเดิมได้ลงนามไว้หลายฉบับผู้นำของสาธารณรัฐที่ใหญ่ที่สุดคือ นายบอริส เยลท์ซินได้ประกาศว่า สหพันธ์รัฐรัสเซียยังถือว่า พรมแดนที่เป็นอยู่ขณะนี้ย่อมเปลี่ยนแปลงแก้ไขได้ ไม่ใช่เป็นสิ่งที่จะแก้ไขเสียมิได้และในสภาพการณ์ด้านต่างประทเศที่เป็นอยู่ ในขณะนี้ การที่โซเวียตหมดสภาพเป็นประเทศอภิมหาอำนาจ ทำให้โลกกลับต้องประสบปัญหายากลำบากหลายอย่าง โดยเฉพาะอย่างยิ่งปัญหาเศรษฐกิจระหว่างสาธารณรัฐต่างๆ ที่เคยสังกัดอยู่ในสหภาพโซเวียตเดิม จึงเห็นได้ชัดว่า สหภาพโซเวียตเดิมได้ถูกแทนที่โดยการรวมตัวกันระหว่างสาธารณรัฐต่างๆ อย่างหลวมๆ ในขณะนี้ คล้ายกับการรวมตัวกันระหว่างสาธารณรัฐภายในรูปเครือจักรภพหรือภายในรูป สมาพันธรัฐมากกว่า และนโยบายหลักของกอร์บาชอฟก็ได้ทำให้สหภาพโซเวียตหมดสภาพความเป็นตัวตนใน เชิงภูมิรัฐศาสตร์ (Geopolitics) [การทูต]
Muslim World League (Rabita)สันนิบาตมุสลิมโลก " ก่อตั้งเมื่อปี พ.ศ. 2505 เป็นองค์กรพัฒนาเอกชนอิสลามที่มีวัตถุประสงค์ในการช่วยเหลือและเผยแพร่ศาสนา อิสลาม และปกป้อง สิทธิประโยชน์ของชาวมุสลิมทั่วโลก " [การทูต]

Volubilis Dictionary (TH-EN-FR)
โลกมุสลิม[lōk Mutsalim] (n, exp) FR: monde musulman [ m ]
มุสลิม[Mutsalim] (n) EN: Muslim ; Moslem  FR: musulman [ m ]
ศาสนามุสลิม[sātsanā Mutsalim] (n, exp) EN: Mohammedanism ; Muslimism ; Islam ; Islamism ; Moslemism  FR: islamisme [ m ] ; mahométisme [ m ] (vx)

NECTEC Lexitron Dictionary EN-TH
arrack(n) เหล้าชนิดหนึ่งในประเทศมุสลิม
begum(n) คำเรียกอย่างให้เกียรติหญิงมุสลิมสูงศักดิ์หรือแต่งงานแล้ว
caliph(n) ผู้นำทางศาสนาของประเทศมุสลิม
hadji(n) มุสลิมที่ได้ไปแสวงบุญที่กรุงเมกกะ, Syn. haji, hajji
haji(n) มุสลิมที่ได้ไปแสวงบุญที่กรุงเมกกะ, Syn. hajji
hajji(n) มุสลิมที่ได้ไปแสวงบุญที่กรุงเมกกะ, Syn. haji
harem(n) กลุ่มผู้หญิงในบ้านของคนมุสลิม
harem(n) ส่วนของบ้านคนมุสลิมสำหรับให้ผู้หญิงอยู่, See also: ฮาเร็ม
Islam(n) มุสลิมและประเทศมุสลิม
Islamite(n) อิสลามิกชน, See also: มุสลิม
jihad(n) สงครามศักดิ์สิทธิ์, See also: สงครามศาสนาที่ถือเป็นหน้าที่ของชาวมุสลิม
Moor(n) คนมุสลิมที่อาศัยในแอฟริกาตะวันตกเฉียงเหนือ
Moslem(n) มุสลิม, Syn. Muslim
Moslem(n) ชาวมุสลิม, Syn. Muslim
Moslem(adj) มุสลิม, Syn. Muslim, Islamic
Moslem(adj) เกี่ยวกับมุสลิม, Syn. Muslim
muezzin(n) เจ้าหน้าที่ซึ่งประกาศเรียกชาวมุสลิมทำพิธีละหมาดในสุเหร่า, Syn. fumble, miscarry
Mufti(n) ผู้เชี่ยวชาญเกี่ยวกับมุสลิม, Syn. mufti
Muslim(n) มุสลิม, Syn. Arab, Moslem
Muslim(n) ชาวมุสลิม, Syn. Arab, Moslem
Ramadan(n) เดือนถือศีลอดของชาวมุสลิม, See also: เดือนเก้าในปฏิทินอิสลามซึ่งถือเป็นฤดูถือศีลอด
salaam(n) การคำนับโดยการเอามือขวาแตะที่หน้าผาก (มุสลิม)
salaam(vi) ทักทายด้วยมือขวาแตะหน้าผาก (มุสลิม), Syn. salute
salaam(vt) ทักทายด้วยมือขวาแตะหน้าผาก (มุสลิม), Syn. salute
Sufi(n) ผู้นับถือนิกายมุสลิม
sultan(n) สุลต่าน, See also: ประมุขของประเทศที่นับถือศาสนาอิสลาม, ประมุขของประเทศมุสลิม, Syn. emperor, king, ruler
turban(n) ผ้าโพกหัวของชาวมุสลิม
turban(n) หมวกที่คล้ายผ้าโพกหัวของชาวมุสลิม
vizier(n) ขุนนางผู้ใหญ่ในประเทศมุสลิม
vizierate(n) ความเป็นขุนนางผู้ใหญ่ในประเทศมุสลิม

Hope Dictionary
azan(อาซาน') n. การเรียกให้สวดมนต์ (วันละห้าครั้ง) ของชาวมุสลิม
cadi(คา'ดี, เค'ดี) n. ผู้พิพากษาในชุมชนมุสลิม, ดะโต๊ะ, Syn. kadi
crusade(ครูเซด') n. สงครามศาสนา, สงครามศาสนาในศตวรรษที่ 11, 12, 13 ระหว่างทหารคริสเตียนกับทหารมุสลิม, การปราบปราม vi. ทำสงครามครูเสด, ปราบปราม
giaour(จัว'เออะ) n. ผู้ไม่เชื่อ, ผู้ไม่เลื่อมใสในศาสนา, ผู้ที่ไม่ใช้มุสลิม (โดยเฉพาะผู้ที่เป็นคริสเตียน)
hajj(แฮจ) n. การเดินทางไปนมัสการสิ่งที่เคารพที่กรุงเมกกะซึ่งชาวมุสลิมทุกคนต้องไปครั้งหนึ่งอย่างน้อยในชีวิต -pl. hajjis, Syn. hadj
hajji(แฮจ'จี) n. มุสลิมทีเดินทางไปนมัสการ, สิ่งที่เคารพในกรุงเมกกะ -pl. hajjis, Syn. hadji, haji
imam(อิมาม') n. พระมุสลิมในสุเหร่า, ตำแหน่งผู้นำทางศาสนาของมุสลิม., Syn. imaum
istamite(อิส'ละไมทฺ) n. ชาวอิสลาม, ชาวมุสลิม, Syn. Muslim
jihad(จิฮาด) n. สงครามพิทักษ์ศาสนามุสลิม, การต่อสู้เพื่อพิทักษ์ความเลื่อมใสหลักการหรือความคิด, Syn. jehad
minaret(มินนะเรท', มิน'นะเรท) n. หอสูงชะลูดที่ติดกันสุเหร่ามุสลิม
mohammedanism(โมแฮบ'มิดันนิซึม) n. ศาสนาอิสลาม, ศาสนามุสลิม, Syn. Islam
moslem(มอซ'เลิม, มอส'เลิม) n., adj. มุสลิม, Syn. Muslim pl. Moslems, Moslem
muhammadan(มูแฮม'มิเดิน) adj., n. มุสลิม, อิสลาม., Syn. Muhammedan
muslim(มัซ'ลิม, มูซ'ลิม) n. ชาวมุสลิม pl. Muslims, Muslim
paynim(เพ'นิม) n. คนนอกศาสนา, ชาวมุสลิม
sultan(ซัล'เทิน) n. ประมุขของประเทศมุสลิม, สุลต่าน, See also: sultanic adj. . sultanship n.
turban(เทอ'เบิน) n. หมวโพกศรีษะของชาวมุสลิมในตอนใต้ของเอเซีย, หมวกที่คล้ายหมวกดังกล่าว, หมวกสตรีที่โพกคล้ายหมวกแขก, See also: turbaned adj.
vizi(er) (วิเซียร์', วิส'เซียร์) n. ขุนนางผู้ใหญ่ในประเทศมุสลิม (โดยเฉพาะที่เป็นรัฐมนตรี) ., See also: vizierate n. vizirate n. viziership n. vizirship n. vizierial adj. vizerial adj.

Nontri Dictionary
Islam(n) ศาสนาอิสลาม, ชาวอิสลาม, ชาวมุสลิม

Longdo Approved JP-TH
シーア派[しーあは, shi-aha] (n) มุสลิมนิกายซีอะห์

Saikam JP-TH-EN Dictionary
回教[かいきょう, kaikyou] TH: มุสลิม

Time: 0.0289 seconds, cache age: 0.927 (clear)Longdo Dict -- https://dict.longdo.com/