รัศมี | (n) halo, See also: ring of light, aura, nimbus, radiance, corona, Syn. แสงสว่าง, Example: พระพุทธรูปองค์นี้มีรัศมีเป็นรูปเปลวไฟ, Thai Definition: แสงสว่างที่พวยพุ่งออกจากจุดกลาง, Notes: (บาลี/สันสกฤต) |
รัศมี | (n) radius, Example: เราส่งสัญญาณไปได้ในรัศมีเพียง 200-300 เมตร, Thai Definition: เส้นที่ลากจากจุดศูนย์กลางของวงกลมไปถึงเส้นรอบวง, Notes: (บาลี/สันสกฤต) |
ทาบรัศมี | (v) scramble for superiority, See also: vie for superiority, Example: ผู้สมัครส.ส.ฉายแววว่าจะเป็นดาวรุ่งที่มีสิทธิ์จะทาบรัศมีเจ้าของพื้นที่เดิม, Thai Definition: ยกตัวขึ้นเทียบ, Notes: (ปาก) |
แผ่รัศมี | (v) radiate, See also: emit, diffuse, give out, shine, Syn. เปล่งรัศมี, Example: ทุกคนในที่นั้นมองเห็นพระพุทธรูปแผ่รัศมีออกมาจากทางด้านหลังเป็นแฉกๆ, Thai Definition: เปล่งแสงสว่างพวยพุ่งออกจากจุดกลาง |
ส่องรัศมี | (v) glitter, See also: glow, shine, gleam, radiate, Syn. เปล่งรัศมี, แผ่รัศมี, Example: รูปปั้นส่องรัศมีเป็นแสงสีทองออกมาอย่างน่าประหลาดใจ, Thai Definition: ส่องแสงสว่างพวยพุ่งออกมาจากจุดกลาง |
เส้นรัศมี | (n) radius, Syn. รัศมี, Example: ระยะห่างระหว่างจุดติดต่อจะต้องอยู่ในระยะเส้นรัศมีไม่เกิน 500 ฟุต, Count Unit: เส้น, Thai Definition: เส้นตรงที่เชื่อมจุดศูนย์กลางของวงกลมกับจุดใดๆ บนเส้นรอบวง, Notes: (คณิตศาสตร์) |
เปล่งรัศมี | (v) glow, See also: shine, gleam, glimmer, brighten, Example: สร้อยทองเปล่งรัศมีเหลืองอร่ามอยู่ที่ลำคอของชายคนนั้น |
จาตุรนต์รัศมี | น. ผู้มีรัศมีแผ่ไปในทิศทั้ง ๔ คือ พระอาทิตย์. |
รัศมี | น. แสงสว่างที่พวยพุ่งออกจากจุดกลาง, แสงสว่าง |
รัศมี | เส้นที่ลากจากจุดศูนย์กลางของวงกลมไปถึงเส้นรอบวง. |
สีตลรัศมี | ว. มีรัศมีเย็น หมายถึง พระจันทร์ คู่กับ อุษณรัศมี มีรัศมีร้อน หมายถึง พระอาทิตย์. |
เส้นรัศมี | น. เส้นตรงที่เชื่อมจุดศูนย์กลางของวงกลมกับจุดใด ๆ บนเส้นรอบวง. |
หิรัณยรัศมี | (หิรันยะรัดสะหฺมี) ว. มีสีผ่องดั่งเงินอย่างสีช้างเผือก. |
อุษณรัศมี | ว. มีรัศมีร้อน หมายถึง พระอาทิตย์, คู่กับ สีตลรัศมี มีรัศมีเย็น หมายถึง พระจันทร์. |
กระกร | ก. ฉายรัศมี เช่น ทินกรกระกรจามี- กรกรรัศมี ดุรงครัตน์พรรณราย (สมุทรโฆษ). |
กระแสง ๒ | น. แสง, รัศมี |
กระอุ | ร้อนรน เช่น กระอุอุระประปราณ (สมุทรโฆษ; สรรพสิทธิ์), หนึ่งรัศมีพระสุริยเย็น รัศมีพระจันทร์เป็น กระอุแลกลับร้อนรน (อภิไธยโพธิบาทว์), ใช้เป็น กระอุก หรือ ประอุก ก็มี. |
กลม ๒ | (กฺลม) ว. มีสัณฐานโดยรอบไม่เป็นเหลี่ยม, ถ้าเหมือนลูกหิน เรียกว่า ลูกกลม, ถ้าเหมือนเส้นที่ลากเป็นวงมาจดกัน โดยมีเส้นรัศมียาวเท่ากัน เรียกว่า วงกลม, ถ้าเหมือนสตางค์ เรียกว่า กลมแบน, ถ้าเหมือนกระบอกไม้ไผ่ เรียกว่า กลมยาว, ถ้าเหมือนไข่ไก่ แต่หัวและท้ายเท่ากัน เรียกว่า กลมรี |
เกตุมาลา | น. พระรัศมีซึ่งเปล่งอยู่เหนือพระเศียรของพระพุทธเจ้า. |
ฉัพพรรณรังสี | (ฉับพันนะ-) น. รัศมี ๖ ประการ คือ ๑. นีล เขียวเหมือนดอกอัญชัน ๒. ปีต เหลืองเหมือนหรดาลทอง ๓. โลหิต แดงเหมือนตะวันอ่อน ๔. โอทาต ขาวเหมือนแผ่นเงิน ๕. มัญเชฐ สีหงสบาทเหมือนดอกเซ่งหรือหงอนไก่ ๖. ประภัสสร เลื่อมพรายเหมือนแก้วผลึก. (ปฐมสมโพธิ). |
ชวาลา | น. เครื่องตามไฟชนิดหนึ่ง ทำด้วยทองเหลือง มีรูปอย่างหม้อขนาดย่อม ๆ สำหรับใส่น้ำมัน มีพวยต่อออกมาข้าง ๆ ๒ พวยบ้าง ๓ พวยบ้าง ใส่ด้ายดิบเป็นไส้ ใช้จุดไฟ และประกอบกับแกนรับหม้อใส่น้ำมันตั้งบนถาด ใช้ได้ทั้งตั้งและแขวน เช่น ถับถึงคฤหาสน์หอทอง ชวาลาเรืองรองรยับด้วยรัตนรัศมี (สรรพสิทธิ์). |
โชติรส | (โชติ-) น. แก้ววิเศษชนิดหนึ่งมีรัศมีรุ่งเรือง. |
ดารา | เครื่องประกอบราชอิสริยาภรณ์ตั้งแต่ชั้นทวีติยาภรณ์ขึ้นไป มีลักษณะเป็นดาวรัศมี ๘ แฉกบ้าง ๑๖ แฉกบ้าง, ถ้าเป็นดาราจักรี ก็ทำเป็นรูปจักร ๑๐ กลีบ. |
ทางมะพร้าว | น. ชื่องูขนาดกลางชนิด Elaphe radiata (Schlegel) ในวงศ์ Colubridae หัวสีน้ำตาลอมแดงด้านข้างมีลายสีดำจากตามาถึงปาก จากหัวถึงครึ่งลำตัวมีลายตามยาวหรือเป็นดวงสีดำสลับขาว เป็นรัศมีคล้ายแสงอาทิตย์ ส่วนที่เหลือถึงหางสีแดงอมน้ำตาล น้ำตาลอมแดง หรือน้ำตาลอมเหลือง ไม่มีพิษ, ก้านมะพร้าว ก็เรียก. |
นารา | น. รัศมี. |
บดบัง | ก. บังแสง, บังรัศมี. |
บริราช | (บอริราด) ก. ส่องแสงทุกด้าน, ฉายรัศมีโดยรอบ. |
ประภามณฑล | น. รัศมีที่พวยพุ่งขึ้นจากศีรษะของผู้ศักดิ์สิทธิ์และพระพุทธรูป. |
เปล่ง | (เปฺล่ง) ก. ฉายออก, แผ่ออก, เช่น เปล่งรัศมี, ออกเสียง เช่น เปล่งเสียง. |
พวยพุ่ง | ว. ช่วงโชติ, พุ่งเป็นลำออกไปโดยเร็ว เช่น แสงพวยพุ่ง รัศมีพวยพุ่ง. |
ภัสสร | (พัดสอน) น. แสงสว่าง, รัศมี. |
ภา | น. แสงสว่าง, รัศมี. |
มนทกานติ | น. “ผู้มีรัศมีอ่อน” คือ ดวงเดือน. |
มยูขะ | น. รัศมี. |
ระยับ | ว. พราวแพรว, วับวาบ, (ใช้แก่แสงหรือรัศมี) เช่น ผ้ามันระยับ, นิยมใช้เข้าคู่กับคำ ระยิบ เป็น ระยิบระยับ เช่น ดาวส่องแสงระยิบระยับ. |
รัศมิมัต | ว. มีรัศมี, ใช้ รัศมิมาน ก็ได้. |
รัศมิมาน | ว. มีรัศมี. |
วงกลม | น. รูปวงที่กลมรอบมีรัศมีจากจุดศูนย์กลางไปถึงขอบมีขนาดเท่ากันหมด |
วิภา | น. รัศมี, แสงสว่าง, ความแจ่มแจ้ง, ความสุกใส, ความงดงาม. |
ศิรประภา | น. รัศมีที่พวยพุ่งขึ้นจากศีรษะของผู้ศักดิ์สิทธิ์และพระพุทธรูป. |
สัมโภคกาย | (สำโพกคะ-) น. พระกายของพระพุทธเจ้าอันเป็นทิพยภาวะ มีรัศมีรุ่งเรืองแผ่ซ่านทั่วไป และจะปรากฏแก่พระโพธิสัตว์ มหาสัตว์ แม้จนบัดนี้. |
อรรธกรรณ | (อัดทะกัน) น. “ครึ่งเส้นผ่าศูนย์กลาง” คือ รัศมีของวงกลม. |
อังคีรส | (-คีรด) ว. มีรัศมีซ่านออกจากพระกาย, เป็นพระนามของพระพุทธเจ้าพระองค์หนึ่ง. |
อังศุ | แสง, รัศมี. |
อาภา | น. แสง, รัศมี, ความสว่าง. |
อาภาส | (-พาด) น. รัศมี, แสงสว่าง. |
Betatron | บีตาทรอน, เครื่องเร่งอิเล็กตรอน ที่มีลักษณะเป็นรูปโดนัต อิเล็กตรอนถูกเร่งให้วิ่งเป็นวงกลมรัศมีคงที่โดยการเปลี่ยนแปลงสนามแม่เหล็ก เครื่องที่มีรัศมีประมาณ 0.75-1.00 เมตร สามารถเร่งอิเล็กตรอนให้มีพลังงานสูงถึง 340 ล้านอิเล็กตรอนโวลต์ บีตาทรอนเครื่องแรกสร้างโดย Donald W. Kerst ในปี พ.ศ. 2483 ตั้งอยู่ที่มหาวิทยาลัยอิลลินอยส์ ประเทศสหรัฐอเมริกา สามารถเร่งอิเล็กตรอนให้มีพลังงาน 2.5 ล้านอิเล็กตรอนโวลต์ [นิวเคลียร์] |
Synchrotron | ซิงโครทรอน, เครื่องเร่งอนุภาค ที่อนุภาคถูกเร่งโดยสนามไฟฟ้าซึ่งเปลี่ยนแปลงด้วยความถี่ในย่านความถี่ของคลื่นวิทยุ และถูกบังคับให้วิ่งเป็นวงกลมรัศมีคงที่โดยการควบคุมของสนามแม่เหล็กที่เพิ่มขึ้น พร้อมสัมพันธ์กับความเร็วของอนุภาคที่เพิ่มขึ้น ซิงโครทรอนเครื่องแรก ชื่อ คอสโมทรอน (Cosmotron) สร้างขึ้น ในปี พ.ศ. 2495 ตั้งอยู่ที่ Brookhaven National Laboratory ประเทศสหรัฐอเมริกา สามารถเร่งโปรตอนให้มีพลังงานสูงถึง 2, 300 ล้านอิเล็กตรอนโวลต์, Example: [นิวเคลียร์] |
Neutron bomb | ลูกระเบิดนิวตรอน, ลูกระเบิดไฮโดรเจนขนาดเล็ก ออกแบบเป็นพิเศษให้มีผลทำลายน้อยที่สุดจากแรงระเบิดและความร้อนในวงจำกัดรัศมีสองร้อยถึงสามร้อยเมตร แต่มีผลในวงกว้างทำให้สิ่งมีชีวิตถึงตายได้จากอนุภาคนิวตรอนและรังสีแกมมา ลูกระเบิดนิวตรอนนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อทำลายรถถังและกองทหารในสนามรบโดยไม่เป็นอันตรายต่อตัวเมืองและย่านชุมชนที่อยู่ห่างออกไป <br>(ดู H-bomb ประกอบ)</br> [นิวเคลียร์] |
Gorbachev doctrine | นโยบายหลักของกอร์บาชอฟ เป็นศัพท์ที่สื่อมวลชนของประเทศฝ่ายตะวันตกบัญญัติขึ้น ในตอนที่กำลังมีการริเริ่มใหม่ๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง เกี่ยวกับนโยบายต่างประเทศของโซเวียตในด้านความร่วมมือระหว่างประเทศอภิมหา อำนาจตั้งแต่ ค.ศ. 1985 เป็นต้นมา ภายใต้การนำของ นายมิคาอิล กอร์บาชอฟ ในระยะนั้น โซเวียตเริ่มเปลี่ยนทิศทางของสังคมภายในประเทศใหม่ โดยยึดหลักกลาสนอสต์ (Glasnost) ซึ่งหมายความว่า การเปิดกว้าง รวมทั้งหลักเปเรสตรอยก้า (Perestroika) อันหมายถึงการปรับเปลี่ยนโครงสร้างใหม่ในช่วงปี ค.ศ. 1985 ถึง 1986 บุคคลสำคัญชั้นนำของโซเวียตผู้มีอำนาจในการตัดสินใจนี้ ได้เล็งเห็นและสรุปว่าการที่ประเทศพยายามจะรักษาสถานภาพประเทศอภิมหาอำนาจ และครองความเป็นใหญ่ในแง่อุดมคติทางการเมืองของตนนั้นจำต้องแบกภาระทาง เศรษฐกิจอย่างหนักหน่วง แต่ประโยชน์ที่จะได้จริง ๆ นั้นกลับมีเพียงเล็กน้อย เขาเห็นว่า แม้ในสมัยเบรสเนฟ ซึ่งได้เห็นความพยายามอันล้มเหลงโดยสิ้นเชิงของสหรัฐฯ ในสงครามเวียดนาม การปฏิวัติทางสังคมนิยมที่เกิดขึ้นในแองโกล่า โมซัมบิค และในประเทศเอธิโอเปีย รวมทั้งกระแสการปฏิวัติทวีความรุนแรงยิ่งขึ้นในแถบประเทศละตินอเมริกา ก็มิได้ทำให้สหภาพโซเวียตได้รับประโยชน์ หรือได้เปรียบอย่างเห็นทันตาแต่ประการใด แต่กลับกลายเป็นภาระหนักอย่างยิ่งเสียอีก แองโกล่ากับโมแซมบิคกลายสภาพเป็นลูกหนี้อย่างรวดเร็ว เอธิโอเปียต้องประสบกับภาวะขาดแคลนอาหารอย่างสาหัส และการที่โซเวียตใช้กำลังทหารเข้ารุกรานประเทศอัฟกานิสถานเมื่อปี ค.ศ. 1979 ทำให้ระบบการทหารและเศรษฐกิจของโซเวียตต้องเครียดหนักยิ่งขึ้น และการเกิดวิกฤตด้านพลังงาน (Energy) ในยุโรปภาคตะวันออกระหว่างปี ค.ศ. 1984-1985 กลับเป็นการสะสมปัญหาที่ยุ่งยากมากขึ้นไปอีก ขณะเดียวกันโซเวียตตกอยู่ในฐานะต้องพึ่งพาอาศัยประเทศภาคตะวันตกมากขึ้นทุก ขณะ ทั้งในด้านวิชาการทางเทคโนโลยี และในทางโภคภัณฑ์ธัญญาหารที่จำเป็นแก่การดำรงชีวิตของพลเมืองของตน ยิ่งไปกว่านั้น การที่เกิดการแข่งขันกันใหม่ด้านอาวุธยุทโธปกรณ์กับสหรัฐอเมริกา โดยเฉพาะแผนยุทธการของสหรัฐฯ ที่เรียกว่า SDI (U.S. Strategic Defense Initiative) ทำให้ต้องแบกภาระอันหนักอึ้งทางการเงินด้วยเหตุนี้โซเวียตจึงต้องทำการ ประเมินเป้าหมายและทิศทางการป้องกันประเทศใหม่ นโยบายหลักของกอร์บาซอฟนี่เองทำให้โซเวียตต้องหันมาญาติดี รวมถึงทำความตกลงกับสหรัฐฯ ในรูปสนธิสัญญาว่าด้วยกำลังนิวเคลียร์ในรัศมีปานกลาง (Intermediate Range Force หรือ INF) ซึ่งได้ลงนามกันในกรุงวอชิงตันเมื่อปี ค.ศ. 1987เหตุการณ์นี้ถือกันว่าเป็นมาตรการที่มีความสำคัญที่สุดในด้านการควบคุม ยุทโธปกรณ์ตั้งแต่เริ่มสงครามเย็น (Cold War) ในปี ค.ศ. 1946 เป็นต้นมา และเริ่มมีผลกระทบต่อทิศทางในการที่โซเวียตเข้าไปพัวพันกับประเทศ อัฟกานิสถาน แอฟริกาภาคใต้ ภาคตะวันออกกลาง และอาณาเขตอ่าวเปอร์เซีย กอร์บาชอฟถึงกับประกาศยอมรับว่า การรุกรานประเทศอัฟกานิสถานเป็นการกระทำที่ผิดพลาด พร้อมทั้งถอนกองกำลังของตนออกไปจากอัฟกานิสถานเมื่อปี ค.ศ. 1989 อนึ่ง เชื่อกันว่าการที่ต้องถอนทหารคิวบาออกไปจากแองโกล่า ก็เป็นเพราะผลกระทบจากนโยบายหลักของกอร์บาชอฟ ซึ่งได้เปลี่ยนท่าทีและบทบาทใหม่ของโซเวียตในภูมิภาคตอนใต้ของแอฟริกานั้น เอง ส่วนในภูมิภาคตะวันออกกลาง นโยบายหลักของกอร์บาชอฟได้เป็นผลให้ นายเอ็ดวาร์ด ชวาดนาเซ่ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ซึ่งเป็นผู้ที่ได้รับการแต่งตั้งจากนายกอร์บาชอฟ เริ่มแสดงสันติภาพใหม่ๆ เช่น ทำให้โซเวียตกลับไปรื้อฟื้นสัมพันธภาพทางการทูตกับประเทศอิสราเอล ทำนองเดียวกันในเขตอ่าวเปอร์เซีย โซเวียตก็พยายามคืนดีด้านการทูตกับประเทศอิหร่าน เป็นต้นการเปลี่ยนทิศทางใหม่ทั้งหลายนี้ ถือกันว่ายังผลให้มีการเปลี่ยนแปลงนโยบายภายในประเทศทั้งด้านเศรษฐกิจและ ด้านสังคมของโซเวียต อันสืบเนื่องมาจากนโยบาย Glasnost and Perestroika ที่กล่าวมาข้างต้นนั่นเองในที่สุด เหตุการณ์ทั้งหลายเหล่านี้ก็ได้นำไปสู่การล่มสลายอย่างกะทันหันของสหภาพ โซเวียตเมื่อปี ค.ศ. 1991 พร้อมกันนี้ โซเวียตเริ่มพยายามปรับปรุงเปลี่ยนแปลง รวมทั้งปรับโครงสร้างทางเศรษฐกิจการเมืองของประเทศให้ทันสมัยอย่างขนานใหญ่ นำเอาทรัพยากรที่ใช้ในด้านการทหารกลับไปใช้ในด้านพลเรือน พฤติกรรมเหล่านี้ทำให้เกิดจิตใจ (Spirit) ของการเป็นมิตรไมตรีต่อกัน (Détente) ขึ้นใหม่ในวงการการเมืองโลก เห็นได้จากสงครามอ่าวเปอร์เซีย ซึ่งโซเวียตไม่เล่นด้วยกับอิรัก และหันมาสนับสนุนอย่างไม่ออกหน้ากับนโยบายของประเทศฝ่ายสัมพันธมิตรนัก วิเคราะห์เหตุการณ์ต่างประเทศหลายคนเห็นพ้องต้องกันว่า การที่เกิดการผ่อนคลาย และแสวงความเป็นอิสระในยุโรปภาคตะวันออกอย่างกะทันหันนั้น เป็นผลจากนโยบายหลักของกอร์บาชอฟโดยตรง คือเลิกใช้นโยบายของเบรสเนฟที่ต้องการให้สหภาพโซเวียตเข้าแทรกแซงอย่างจริง จังในกิจการภายในของกลุ่มประเทศยุโรปตะวันออก กระนั้นก็ยังมีความรู้สึกห่วงใยกันไม่น้อยว่า อนาคตทางการเมืองของกอร์บาชอฟจะไปได้ไกลสักแค่ไหน รวมทั้งความผูกพันเป็นลูกโซ่ภายในสหภาพโซเวียตเอง ซึ่งยังมีพวกคอมมิวนิสต์หัวรุนแรงหลงเหลืออยู่ภายในประเทศอีกไม่น้อย เพราะแต่เดิม คณะพรรคคอมมิวนิสต์ในสหภาพโซเวียตนั้น เป็นเสมือนจุดรวมที่ทำให้คนสัญชาติต่าง ๆ กว่า 100 สัญชาติภายในสหภาพ ได้รวมกันติดภายในประเทศที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในโลก คือมีพื้นที่ประมาณ 1 ใน 6 ส่วนของพื้นที่โลก และมีพลเมืองทั้งสิ้นประมาณ 280 ล้านคนจึงสังเกตได้ไม่ยากว่า หลังจากสหภาพโซเวียตล่มสลายไปแล้ว พวกหัวเก่าและพวกที่มีความรู้สึกชาตินิยมแรง รวมทั้งพลเมืองเผ่าพันธุ์ต่างๆ เกิดความรู้สึกไม่สงบ เพราะมีการแก่งแย่งแข่งกัน บังเกิดความไม่พอใจกับภาวะเศรษฐกิจที่ตนเองต้องเผชิญอยู่ จึงเป็นสาเหตุที่ทำให้จักรวรรดิของโซเวียตต้องแตกออกเป็นส่วน ๆ เช่น มีสาธารณรัฐที่มีอำนาจ ?อัตตาธิปไตย? (Autonomous) หลายแห่ง ต้องการมีความสัมพันธ์ในรูปแบบใหม่กับรัสเซีย เช่น สาธารณรัฐยูเกรน ไบโลรัสเซีย มอลดาเวีย อาร์เมเนีย และอุสเบคิสถาน เป็นต้น แต่ก็เป็นการรวมกันอย่างหลวม ๆ มากกว่า และอธิปไตยที่เป็นอยู่ขณะนี้ดูจะเป็นอธิปไตยที่มีขอบเขตจำกัดมากกว่าเช่นกัน โดยเฉพาะสาธารณรัฐมุสลิมในสหภาพโซเวียตเดิม ซึ่งมีพลเมืองรวมกันเกือบ 50 ล้านคน ก็กำลังเป็นปัญหาต่อเชื้อชาติสลาฟ และการที่พวกมุสลิมที่เคร่งครัดต่อหลักการเดิม (Fundamentalism) ได้เปิดประตูไปมีความสัมพันธ์อันดีกับประะเทศอิหร่านและตุรกีจึงทำให้มีข้อ สงสัยและครุ่นคิดกันว่า เมื่อสหภาพโซเวียตแตกสลายออกเป็นเสี่ยง ๆ ดังนี้แล้ว นโยบายหลักของกอร์บาชอฟจะมีทางอยู่รอดต่อไปหรือไม่ ซึ่งเป็นเรื่องที่ถกเถียงและอภิปรายกันอยู่พักใหญ่และแล้ว เมื่อวันที่ 19 สิงหาคม ค.ศ. 1991 ก็ได้เกิดความพยายามที่จะถอยหลังเข้าคลอง คือกลับนโยบายผ่อนเสรีของ Glasnost และ Perestroika ทั้งภายในประเทศและภายนอกประเทศโดยมีผุ้ที่ไม่พอใจได้พยายามจะก่อรัฐประหาร ขึ้นต่อรัฐบาลของนายกอร์บาชอฟ แม้การก่อรัฐประหารซึ่งกินเวลาอยู่เพียงไม่กี่วันจะไม่ประสบผลสำเร็จ แต่เหตุการณ์นี้ก่อให้เกิดผลสะท้อนลึกซึ้งมาก คือเป็นการแสดงว่า อำนาจของรัฐบาลกลางย้ายจากศูนย์กลางไปอยู่ตามเขตรอบนอกของประเทศ คือสาธารณรัฐต่างๆ ซึ่งก็ต้องประสบกับปัญหานานัปการ จากการที่ประเทศเป็นภาคีอยู่กับสนธิสัญญาระหว่างประเทศต่างๆ โดยเฉพาะความตกลงเกี่ยวกับการควบคุมอาวุธยุทโธปกรณ์ ซึ่งสหภาพโซเวียตเดิมได้ลงนามไว้หลายฉบับผู้นำของสาธารณรัฐที่ใหญ่ที่สุดคือ นายบอริส เยลท์ซินได้ประกาศว่า สหพันธ์รัฐรัสเซียยังถือว่า พรมแดนที่เป็นอยู่ขณะนี้ย่อมเปลี่ยนแปลงแก้ไขได้ ไม่ใช่เป็นสิ่งที่จะแก้ไขเสียมิได้และในสภาพการณ์ด้านต่างประทเศที่เป็นอยู่ ในขณะนี้ การที่โซเวียตหมดสภาพเป็นประเทศอภิมหาอำนาจ ทำให้โลกกลับต้องประสบปัญหายากลำบากหลายอย่าง โดยเฉพาะอย่างยิ่งปัญหาเศรษฐกิจระหว่างสาธารณรัฐต่างๆ ที่เคยสังกัดอยู่ในสหภาพโซเวียตเดิม จึงเห็นได้ชัดว่า สหภาพโซเวียตเดิมได้ถูกแทนที่โดยการรวมตัวกันระหว่างสาธารณรัฐต่างๆ อย่างหลวมๆ ในขณะนี้ คล้ายกับการรวมตัวกันระหว่างสาธารณรัฐภายในรูปเครือจักรภพหรือภายในรูป สมาพันธรัฐมากกว่า และนโยบายหลักของกอร์บาชอฟก็ได้ทำให้สหภาพโซเวียตหมดสภาพความเป็นตัวตนใน เชิงภูมิรัฐศาสตร์ (Geopolitics) [การทูต] |
betatron | เครื่องบีตาตรอน, เป็นเครื่องเร่งอิเล็กตรอนแบบหนึ่ง โดยที่อิเล็กตรอนถูกเร่งให้วิ่งเป็นวงกลมที่มีรัศมีคงที่ โดยใช้แรงกระทำที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงสนามแม่เหล็ก เครื่องเร่งที่มีลักษณะเป็นรูปโดนัท รัศมีวงจรประมาณ 0.75-1.00 เมตร เครื่องนี้สามารถเร่งอิเล็กตรอนให้มีพลังงานสูงถึง 340 ล้านอิเล็กตรอนโวลต์ บีตาตรอนเครื่องแรกสร้างโดย Donald W. Kerst ในปี พ.ศ.2483 ที่มหาวิทยาลัยอิลลินอยส์ (University of Illinois) ประเทศสหรัฐอเมริกา เร่งอิเล็กตรอนให้มีพลังงาน 2.5 ล้านอิเล็กตรอน [พลังงาน] |
synchrotron | เครื่องซินโครตรอน, เป็นเครื่องเร่งอนุภาคชนิดหนึ่ง อนุภาคถูกเร่งภายใต้สนามไฟฟ้าซึ่งเปลี่ยนแปลงด้วยความถี่ ในย่านความถี่ของคลื่นวิทยุ ในขณะเดียวกันกับที่อนุภาคถูกบังคับให้วิ่งเป็นวงกลมรัศมีคงที่ โดยการควบคุมของสนามแม่เหล็กที่เพิ่มมากขึ้น พร้อมสัมพันธ์กับความเร็วของอนุภาคที่เพิ่มขึ้น ซินโครตรอนเครื่องแรกชื่อ คอสโมตรอน (cosmotron) ตั้งอยู่ที่ห้องปฏิบัติการบรูคเฮเวน (Brookhaven National Laboratory) มลรัฐนิวยอร์ก ประเทศสหรัฐอเมริกา สร้างขึ้นในปี พ.ศ. 2495 เครื่องมือนี้ใช้แม่เหล็กมีน้ำหนักถึง 2, 200 ตัน สามารถเร่งโปรตรอนให้มีพลังงานสูงถึง 2, 300 ล้านอิเล็กตรอนโวลต์ [พลังงาน] |
Interlocking or Intermeshing | ลักษณะของโรเตอร์ในเครื่องผสมยางระบบปิดที่มีรัศมีการหมุนของโรเตอร์ ทั้งสองคาบเกี่ยวกัน [เทคโนโลยียาง] |
Non-interlocking or Non-intermeshing | ลักษณะของโรเตอร์ในเครื่องผสมยางระบบปิดที่มีรัศมีการหมุนของโรเตอร์ ทั้งสองไม่คาบเกี่ยวกัน [เทคโนโลยียาง] |
Atomic Radius | รัศมีของอะตอม [การแพทย์] |
Fold, Radiating | รอยจีบย่นในแนวรัศมี [การแพทย์] |
Radiation point | จุดแผ่รัศมี [อุตุนิยมวิทยา] |
hydraulic radius | hydraulic radius, รัศมีชลศาสตร์ [เทคนิคด้านการชลประทานและการระบายน้ำ] |
unit circle | วงกลมหนึ่งหน่วย, วงกลมที่มีรัศมียาว 1 หน่วย จุดศูนย์กลางอยู่ที่จุด (0, 0) [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
atomic radius | รัศมีอะตอม, ความยาวครึ่งหนึ่งของระยะทางระหว่างนิวเคลียสของอะตอมหนึ่งไปยังนิวเคลียสของอีกอะตอมหนึ่ง โดยการวัดแบบรัศมีโคเวเลนต์ รัศมีวันเดอวาลส์หรือรัศมีโลหะ ซึ่งขึ้นอยู่กับชนิดของพันธะระหว่างอะตอมนั้น ๆ ดังนั้นรัศมีอะตอมของธาตุหนึ่งอาจมีค่าต่างกันซึ่งขึ้นอยู่กับว่าเป็ [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
radian | เรเดียน, หน่วยวัดมุม 1 เรเดียน หมายถึงมุมที่ศูนย์กลางของวงกลมซึ่งรองรับส่วนโค้งของวงกลมที่มีความยาวเท่ากับรัศมีของวงกลมนั้น [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
radius | รัศมี, ส่วนของเส้นตรงที่เชื่อมระหว่างจุดศูนย์กลางของวงกลมกับจุดใดจุดหนึ่งบนเส้นรอบวง [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
mobile phone communication | การสื่อสารโดยใช้โทรศัพท์เคลื่อนที่, ใช้คลื่นวิทยุความถี่สูงส่งสัญญาณสื่อสารกันระหว่างเครื่องโทรศัพท์และเสารับส่งสัญญาณ ที่อยู่ในรัศมีการติดต่อสื่อสาร ซึ่งเรียกบริเวณที่แต่ละเสาสัญญาณครอบคลุมว่าเซล สัญญาณการสื่อสารระหว่างโทรศัพท์ในแต่ละเซล จะถูกส่งต่อจากเสารับส่งสัญญาณเข้าสู่เครือข่ายระบบโทร [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
angular speed | อัตราเร็วเชิงมุม, มุมที่รัศมีของการเคลื่อนที่กวาดได้ในหนึ่งหน่วยเวลา อัตราเร็วเชิงมุม มีหน่วย เรเดียนต่อวินาที [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
Iridescent Sheen | รัศมีเหลือง, เงาประกายรอบๆ [การแพทย์] |
Mediators, Short Range | รัศมีการทำงานในระยะใกล้ [การแพทย์] |
Metallic Radius | รัศมีโลหะ [การแพทย์] |
aura | (n) พลังหรือรัศมีที่ออกมาจากคนหรือสิ่งของ |
ecliptic | (adj) เกี่ยวกับจันทรคราสหรือสุริยคราส, See also: เกี่ยวกับการบดบังรัศมี, เกี่ยวกับการกินเป็นวง, Syn. orbital |
get within | (phrv) อยู่ภายในรัศมีของ, See also: อยู่ใกล้พอที่จะยิ่ง, Syn. come within |
halo | (vi) ทรงกลด, See also: มีรัศมี, ล้อมรอบด้วยรัศมี |
halo | (n) รัศมี, See also: ฉัพพรรณรังสี, Syn. glory, nimbus |
nimbus | (n) วงแหวนเรืองแสงรอบศีรษะของนักบุญหรือผู้ที่มีความศักดิ์สิทธิ์, See also: ทรงกลด, รัศมี, Syn. aura, glory, halo |
outshine | (vt) บดบังรัศมี, Syn. overshadow, outclass |
radio | (prf) แท่ง, See also: รัศมี, รังสี |
radial | (adj) ซึ่งเป็นรัศมีของวงกลม, See also: ที่มีลักษณะเป็นเส้นออกจากจุดศูนย์กลางของวงกลม |
radian | (n) มุมที่เกิดระหว่างเส้นรัศมี 2 เส้นของวงกลม, See also: ความยาวของเส้นรอบวงที่อยู่ตรงข้ามกับมุมนี้มีค่าเท่ากับความยาวของเส้นรัศมี 1 เส้น |
radii | (n) รัศมี (คำพหูพจน์ของคำว่า radius) |
radius | (n) รัศมี, See also: ความยาวจากจุดศูนย์กลางถึงเส้นรอบวงของวงกลม |
ray | (n) รังสี, See also: รัศมี, ลำแสง, Syn. beam, flash, light, gleam |
ray | (vi) ปล่อยรังสี, See also: ปล่อยรัศมี |
sector | (n) ส่วนของวงกลม (ทางเรขาคณิต), See also: รูปตัดที่อยู่ระหว่างเส้นรัศมี 2 เส้นกับส่วนของเส้นรอบวง, เซ็กเตอร์ |
actinomorphic | (แอคทิโนมอร์' ฟิค) fadj. ซึ่งเกี่ยวกับรัศมีสมมาตรหรือสัดส่วน, แบ่งออกได้ในแนวตั้งตรงเป็นครึ่งเล็ก ๆ ที่เหมือนกัน. -actinomorpous adj. actinomorphy n. |
aura | (ออ'ระ) n., (pl. auras, aurae) กลิ่นไอ, รัศมี, กลด, กระแสลม, ไฟฟ้า, แสงสว่าง, ความรู้สึกสังหรณ์-aural adj., Syn. air, atmosphere |
aureole | (ออ'รีโอล, -ละ) n. กลด, รัศมีคล้ายแสงเรืองรอบศีรษะของภาพเทพเจ้า, แสงหรือสีที่มีลักษณะดังกล่าว |
blip | (บลิพ) n. ตำแหน่งแสงบนจอเรดาร์ที่แสดงตำแหน่งวัตถุในรัศมีเรดาร์, เสียงสั้นที่ดังชัด, สัญลักษณ์, เสียงขาดหายไประหว่างรายการโทรทัศน์, การหยุดในระยะเวลาสั้น -v. สับสวิตช์ออกและเข้าอย่างรวดเร็ว, ลบคำหรือข้อความหรือเสียงที่ไม่ต้องการออก -S... |
cannonshot | n. ลูกปืนใหญ่, รัศมีกระสุนปืนใหญ่ |
eclipse | (อิคลิพซฺ') n. จันทรคราส (eclipse of the moon) สุริยคราส (eclipse of the sun) , อุปราคา, ความมัวหมอง, ความมืดมนลง, การบดบังรัศมี. vt. ทำให้เกิดการบดบังรัศมี, Syn. darken |
ecliptic | (อิคลิพ'ทิค) adj. เกี่ยวกับจันทรคราสหรือสุริยคราส n. วงกลมที่บดบังรัศมี, See also: ecliptically adv. ดูecliptic |
eyeshot | n. รัศมีสายตา, การมอง, การชำเลืองมอง, ภาพ |
gloriole | n. รัศมีที่แผ่ออกรอบศีรษะของผู้วิเศษ, ทรงกลด |
halo | (เฮ'โล) n. รัศมี, ทรงกลด, บารมี, บุญวาสนา, ความรุ่งโรจน์, วงแหวนรอบหัวนม. vt. ล้อมรอบด้วยทรงกลด. vi. กลายเป็นทรงกลด, Syn. nimbus |
radial | (เร'เดียล) adj. แผ่ออกจากศูนย์กลาง, แผ่รัศมี, เกี่ยวกับรัศมี, เกี่ยวกับกระดูกแขนท่อนนอก, เกี่ยวกับลูกสูบที่เคลื่อนเข้าออกจากจุดกลางหรือเพลา, See also: radially adv. radiality n. |
radian | (เร'เดียน) n. เส้นโค้งของวงกลมที่มีความยาวเท่ากับรัศมีของความโค้งของมัน/เป็นส่วนโค้ง (arc) ที่เท่ากับ 57.2958องศา/ใช้อักษรย่อว่า.rad. |
radiance | (เร'เดียนซฺ) n. ความสว่างหรือแสงที่แผ่รัศมี, ความร่าเริงแจ่มใส., Syn. radiancy |
radius | (เร'เดียส) n. รัศมี, เส้นรัศมี, ความยาวของรัศมี, ส่วนที่รัศมี, อิทธิพล, ขอบเขต, กระดูกแขนท่อนนอก, เส้นเลือดดำตามยาวที่สำคัญในส่วนหน้าของปีกแมลง pl. radii, radiuses |
ray | (เร) n. รังสี, ส่วนหรือเส้นที่ออกเป็นรัศมีจากโครงร่างหนึ่ง, แฉก, แววแสง, แววแห่งความหวัง, ปลากระเบน, เสียงหนึ่งในจำนวนเสียงดนตรีทั้ง7 vi. ปล่อยรังสี vt. ปล่อยรังสี, ทำให้ถูกรังสี, ทำให้มีเส้นรัศมี, ทำให้เป็นแฉก, Syn. beam, spark |
secant | (ซี'แคนทฺ, -เคินทฺ) n. (เรขาคณิต) เส้นตัด (โดยเฉพาะเส้นตัดเส้นโค้งที่สองจุดหรือมากกว่าสองจุด) , (สามเหลี่ยมมุมฉาก) อัตราส่วนของด้านตรงข้ามมุมฉากกับด้านที่ติดกับมุมที่กำหนดให้, เส้นที่ลากจากจุดศูนย์กลางของวงกลมผ่านเส้นรอบวงไปจดกับเส้นสัมผัสวงกลมเดียวกัน, อัตราส่วนของความยาวเส้นลากดังกล่าวกับเส้นรัศมีของวงกลมนั้น |
sector | (เซค'เทอะ) n. รูปตัด, รูปตัดที่อยู่ระหว่างเส้นรัศมี2เส้นกับส่วนของเส้นรอบวง, อุปกรณ์คณิตศาสตร์ที่ประกอบด้วยไม้บรรทัด2อันที่ติดกันที่ปลายหนึ่งและมีขีดแบ่งมาตราส่วน vt. แบ่งออกเป็นส่วน ๆ เซ็กเตอร์วิธีการจัดรูปแบบการบันทึกข้อมูลลงบนจานบันทึกนั้น จะต้องมีการกำหนดให้เป็นวง เรียกว่า แทร็ก (track) ซึ่งจะมีลักษณะเหมือนกับลู่วิ่งวนเป็นวงกลม แล้วแบ่งแต่ละแทร็กนี้ออกเป็นส่วน ๆ เรียกว่า "ส่วนวง" หรือที่ยังนิยมเรียกทับศัพท์กันว่า "เซ็กเตอร์" ก็มีมาก แต่ละส่วนวงนี้จะเก็บข้อมูลได้ 1 ระเบียน (record) ไม่ว่าส่วนวงจะกว้างหรือแคบ (ด้านในที่ติดกับจุดศูนย์กลางจะแคบกว่าด้านนอก), See also: sectoral adj., Syn. class, ca |
swath | (สวอธ) n. รัศมีการตัดหญ้า หรือข้าวด้วยเคียว, ส่วนที่ถูกตัดออกโดยเคียว, หญ้าหรือต้นข้าวที่ถูกตัดออก, การตวัดรอบหนึ่ง, แถบ, แถว, แนว, cut a swath ดึงดูดความสนใจมาก., Syn. swathe |
aura | (n) กลิ่นอาย, รัศมี, กระแสลม |
aureole | (n) รัศมี, กลด |
eclipse | (n) สุริยุปราคา, จันทรุปราคา, ความมืด, อุปราคา, การบดบังรัศมี |
eclipse | (vt) ทำให้เกิดสุริยุปราคาหรือจันทรุปราคา, ทำให้มืด, บดบังรัศมี |
ecliptic | (adj) เกี่ยวกับสุริยุปราคา, เกี่ยวกับจันทรุปราคา, เกี่ยวกับการบดบังรัศมีค |
glorious | (adj) มีชื่อเสียง, น่าสรรเสริญ, น่ายกย่อง, สว่างจ้า, รุ่งโรจน์, เปล่งรัศมี |
glory | (n) ชื่อเสียง, บารมี, ความสว่างจ้า, รัศมี, ความรุ่งโรจน์, ความรุ่งเรือง |
glow | (vi) คุแดง, ส่องรัศมี, เรืองแสง, เปล่งแสง |
halo | (n) แสงเป็นวงกลม, รัศมี, บารมี, บุญบารมี, วาสนา |
halo | (vt) ล้อมวง, แผ่รัศมี, ทรงกลด |
overshadow | (vt) บดบังรัศมี, สำคัญกว่า, ป้องกัน, ทอดเงาเหนือ |
prestige | (n) ชื่อเสียง, อิทธิพล, ศักดิ์ศรี, บารมี, รัศมี, เกียรติยศ |
radial | (adj) เป็นแฉก, เป็นรัศมี, เป็นดาว |
radiance | (n) ความร่าเริง, ความแจ่มใส, ความสว่าง, การแผ่รัศมี |
radius | (n) รังสี, รัศมี, ขอบเขต |
ray | (vi) ปล่อยแสง, ปล่อยรังสี, ปล่อยรัศมี |