รุนแรง | ว. หนักมาก, แรงมาก, เกินปรกติ, เช่น ดุว่าอย่างรุนแรง คัดค้านอย่างรุนแรง ความคิดเห็นรุนแรง. |
หัวรุนแรง | น. เรียกคนที่มีความคิดเห็นอย่างใดอย่างหนึ่งอย่างเอาจริงเอาจัง ว่า คนหัวรุนแรง. |
หัวรุนแรง | ว. ที่นิยมการเปลี่ยนแปลงความคิดเห็น การปฏิบัติ หรือนโยบายเป็นต้น อย่างหักหาญโดยไม่ยอมประนีประนอมใด ๆ. |
กระเทือนซาง | ก. เป็นทุกข์กังวลเพราะมีสิ่งใดสิ่งหนึ่งมากระทบความรู้สึกอย่างรุนแรง เช่น ว่าเท่าไร ๆ ก็ไม่กระเทือนซาง ถูกตำหนิอย่างแรงทำให้รู้สึกกระเทือนซาง. |
กราดเกรี้ยว | ก. แสดงกิริยาท่าทางพร้อมทั้งดุด่าว่ากล่าวเป็นต้นอย่างรุนแรงด้วยความโกรธ, เกรี้ยวกราด ก็ใช้. |
กลัดมัน | ว. มีความรู้สึกในทางกามารมณ์อย่างรุนแรง. |
กลียุค | (กะลี-) น. ชื่อยุคที่ ๔ ของจตุรยุคตามคติของพราหมณ์ ในยุคนี้ธรรมะของมนุษย์ลดลงเหลือเพียง ๑ ใน ๔ ส่วน เมื่อเทียบกับในสมัยกฤดายุค และอายุของมนุษย์ก็สั้นลงโดยไม่มีกำหนดเวลาแน่นอน (ดู จตุรยุค), ช่วงเวลาที่มีแต่ความรุนแรงเลวร้ายเกิดขึ้น . |
ก๊าซน้ำตา, แก๊สน้ำตา | น. สารที่อยู่ในสภาพที่แพร่กระจายเป็นไอหรือควัน ทำให้ระคายเคืองนัยน์ตาอย่างรุนแรง นํ้าตาไหล และมองไม่เห็นชั่วขณะหนึ่ง. |
กำเริบ | ก. รุนแรงขึ้น เช่น โรคกำเริบ กิเลสกำเริบ. |
เกรี้ยวกราด | ก. แสดงกิริยาท่าทางพร้อมทั้งดุด่าว่ากล่าวเป็นต้นอย่างรุนแรงด้วยความโกรธ, กราดเกรี้ยว ก็ใช้. |
แกล้งดิน | ก. กระบวนการแก้ปัญหาสภาพดินเปรี้ยวตามแนวพระราชดำริของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว โดยใช้กรรมวิธีเร่งปฏิกิริยาเคมีในดิน ทำให้ดินเปรี้ยวอย่างรุนแรงแล้วใช้ระบบชลประทานนำน้ำมาเจือจางดินเปรี้ยวทำสลับไปมา จนเปลี่ยนสภาพดินให้สามารถเพาะปลูกได้. |
โกรธ | (โกฺรด) ก. ขุ่นเคืองใจอย่างแรง, ไม่พอใจอย่างรุนแรง, ราชาศัพท์ว่า ทรงพระโกรธ เช่น ก็จะทรงพระโกรธดั่งเพลิงกาล (อิเหนา). |
ขย้ำ | (ขะยํ่า) ก. เอาปากงับกัดอย่างแรง, โดยปริยายหมายถึงการทำร้ายด้วยวาจาหรือการกระทำอย่างรุนแรง. |
ไข้ผื่น | น. ไข้ที่มีผื่นและการเปลี่ยนแปลงอย่างอื่นทางผิวหนัง มีลักษณะอาการและความรุนแรงต่าง ๆ กัน ตั้งแต่เป็นเม็ดเล็ก ๆ เหมือนหัวเข็มหมุด จนถึงปื้นใหญ่ ๆ ในรายที่รุนแรงมากอาจมีเลือดออกใต้ผิวหนังบริเวณผื่นหรือปื้น และผิวหนังจะเปลี่ยนเป็นสีคล้ำ, ไข้กาฬ หรือ ไข้ส่า ก็เรียก. |
คลี่คลาย | ก. บรรเทาลงโดยลำดับ เช่น เหตุการณ์รุนแรงคลี่คลายลง |
ความเครียด | ลักษณะอาการที่สมองไม่ได้ผ่อนคลายเพราะคร่ำเคร่งอยู่กับงานจนเกินไป, ลักษณะอาการที่จิตใจมีอารมณ์บางอย่างมากดดันความรู้สึกอย่างรุนแรง. |
คอแข็ง | ทนต่อรสอันเข้มหรือรุนแรงของเหล้าได้, ตรงข้ามกับ คออ่อน. |
คออ่อน ๑ | ว. ทนต่อรสอันเข้มหรือรุนแรงของเหล้าไม่ได้, ตรงข้ามกับ คอแข็ง. |
คู่อาฆาต | น. ผู้ที่มีเรื่องบาดหมางกันรุนแรงและผูกพยาบาทต่อกัน. |
โคม่า | น. ภาวะหมดสติขั้นรุนแรง เกิดจากโรค การบาดเจ็บ ยาพิษ. |
จงอาง | น. ชื่องูพิษชนิด Ophiophagus hannah (Cantor) ในวงศ์ Elapidae เป็นงูพิษรุนแรงที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในโลก โตเต็มวัยยาวประมาณ ๔.๕ เมตร หัวโต เกล็ดบนหัวใหญ่ สามารถยกหัวและลำตัวท่อนบนตั้งขึ้นได้สูงและแผ่บริเวณคอออกได้ เรียกว่า แผ่แม่เบี้ย แต่ไม่แผ่เป็นแผ่นกว้างเท่างูเห่า ขณะแผ่แม่เบี้ยจะเห็นลายขีดบั้งที่ด้านหลังคอ ตัวสีเขียวอมเทาหรือสีคลํ้า พบทั้งในป่าโปร่งและป่าทึบ, บองหลา ก็เรียก. |
โจมตี | ก. ใช้กำลังบุกเข้าตี เช่น โจมตีข้าศึก, โดยปริยายหมายความว่า พูดหรือเขียนว่าหรือกล่าวหาผู้อื่นอย่างรุนแรง เช่น ๒ พรรคการเมืองโจมตีกันและกัน หนังสือพิมพ์โจมตีผู้บริหารที่ทุจริต. |
ฉกรรจ์ | (ฉะกัน) ว. ห้าวหาญ เช่น ใจฉกรรจ์, แข็งแรงสมบูรณ์ เช่น วัยฉกรรจ์ ชายฉกรรจ์, รุนแรงอาจถึงตาย เช่น แผลฉกรรจ์. |
เฉียบพลัน | ว. อาการที่เริ่มอย่างรวดเร็วและรุนแรงมาก (มักใช้แก่อาการของโรค) เช่น หัวใจวายเฉียบพลัน. |
ช็อก | น. สภาวะที่ร่างกายเสียเลือดจนความดันเลือดต่ำมาก หรือถูกกระทบจิตใจอย่างรุนแรง หรือถูกกระแสไฟฟ้าไหลผ่าน เป็นต้น จนทำให้เป็นลมหรือหมดสติในทันที. |
ชัก ๒ | ก. อาการที่กล้ามเนื้อกระตุกอย่างกะทันหันและรุนแรง มักมีอาการมือเท้าเกร็ง. |
ชายธง ๒ | น. ชื่องูทะเลมีพิษรุนแรงหลายชนิดหลายสกุล ในวงศ์ Hydrophiidae ตลอดตัวมักมีลายคล้ายธงราวสีจาง ๆ หางแบนเป็นพายในแนวตั้ง มักพบตามชายฝั่งทะเล ออกลูกเป็นตัว กินปลา เช่น ชายธงนวลหรือทะเลจุดขาว [ Aipysurus eydouxii (Gray) ] ชายธงท้องบาง [ Praescutata viperina (Schmidt) ] ชายธงหลังดำ [ Pelamis Platurus (Linn.) ]. |
ซม | ว. อาการอย่างเป็นไข้ในระยะรุนแรงถึงกับนอนจนไม่อยากลืมตา เรียกว่า นอนซม. |
ซ้าย | เรียกกลุ่มที่มีอุดมคติเพื่อลดช่องว่างระหว่างชนชั้นในด้านเศรษฐกิจและการเมือง เป็นต้น มักใช้วิธีการที่รุนแรงและรวดเร็ว ว่า ฝ่ายซ้าย, โดยทั่วไปใช้หมายถึงกลุ่มที่นิยมลัทธิสังคมนิยมและคอมมิวนิสต์. |
ดุเดือด | ว. รุนแรง เช่น นักมวยชกกันอย่างดุเดือด. |
ตกมัน | ว. ลักษณะที่ต่อมน้ำมันที่ขมับของช้างบวมโตและมีน้ำมันใส ๆ ไหลออกมา ช้างตัวผู้จะมีอารมณ์รุนแรง ก้าวร้าว ดุร้าย มีกลิ่นสาบฉุน, เรียกช้างที่มีอาการเช่นนั้น ว่า ช้างตกมัน. |
ตัวเป็นเกลียว | แสดงกิริยาท่าทางด้วยความรู้สึกรุนแรง เช่น เมื่อนั้น โฉมนางตะเภาทองผ่องใส ทั้งนางตะเภาแก้วแววไว ครั้นได้ข่าวผัวตัวเป็นเกลียว จึงว่าดูเอาหรือเจ้าไกร ว่าจะไปหาครูสักประเดี๋ยว มิรู้ช่างโป้ปดลดเลี้ยว ไปเที่ยวเกี้ยวชู้แล้วพามา (ไกรทอง). |
ตัวตืด | น. ชื่อพยาธิหลายชนิดหลายวงศ์ ในชั้น Cestoda ตัวแบนเป็นปล้องเรียงต่อกันเป็นแถบยาว หัวมีอวัยวะใช้เกาะยึด ถัดมาลำตัวเป็นปล้อง จำนวนปล้องแตกต่างกันไป มีตั้งแต่ ๒-๓ ปล้อง จนถึง ๑, ๐๐๐ ปล้อง ปล้องท้ายสุดเกิดก่อน ปล้องถัดจากคอเกิดหลังสุด มักอาศัยดูดอาหารในลำไส้ของมนุษย์และสัตว์มีกระดูกสันหลัง ทำให้เป็นโรคโลหิตจาง ถ้ามีจำนวนมากจะไปกั้นทางเดินอาหาร ทำให้ปวดท้องอย่างรุนแรง ชนิดที่อยู่ในคน เช่น ชนิด Taenia solium Linn. ซึ่งตัวอ่อน เรียก เม็ดสาคู อยู่ในเนื้อหมู ชนิด T. saginata Goeze ซึ่งตัวอ่อนอยู่ในเนื้อวัว, ทั้ง ๒ ชนิดอยู่ในวงศ์ Taeniidae และเป็นพยาธิในลำไส้เล็กของมนุษย์และสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมบางชนิด. |
ถึงเป็นถึงตาย | ว. อย่างเอาจริงเอาจังเกินไป, อย่างรุนแรง เช่น ต่อสู้กันอย่างถึงเป็นถึงตาย. |
ถึงพริกถึงขิง | ว. เผ็ดร้อนรุนแรง เช่น การโต้วาทีคราวนี้ถึงพริกถึงขิง. |
ถึงลูกถึงคน | ว. รุนแรง (ใช้แก่การเล่นกีฬาประเภทลูกบอลเช่นฟุตบอล) |
ทอร์นาโด | น. ชื่อพายุประจำถิ่นชนิดหนึ่ง มีความรุนแรงมาก มีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง ๒-๓ กิโลเมตร บริเวณศูนย์กลางพายุมีความกดอากาศต่ำมาก จึงทำให้อากาศรอบนอกที่พัดเข้าหาศูนย์กลางพายุมีความเร็วสูงมาก เมื่อเริ่มเกิดเมฆจะม้วนตัวเป็นรูปกรวยหรืองวงยื่นออกมาจากฐานเมฆ ส่วนมากเกิดในบริเวณตอนกลางของสหรัฐอเมริกาและทางตะวันตกของออสเตรเลีย, ลมงวง หรือ ลมงวงช้าง ก็เรียก. |
ทุ่มเถียง | ก. เถียงกันรุนแรงอย่างทะเลาะ. |
บอบ | ว. อ่อนเปลี้ยหรือหมดแรงเพราะถูกทุบตีอย่างรุนแรง หรือเจ็บป่วยอย่างหนัก หรือออกกำลังมากเกินไปเป็นต้น. |
บ้าดีเดือด | ว. มีอาการคลุ้มคลั่งมุทะลุดุดันเป็นคราว ๆ, โดยปริยายหมายความว่า มีอารมณ์หุนหันพลันแล่นชอบทำอะไรรุนแรง. |
เบามือ, เบาไม้เบามือ | ก. ทำเบา ๆ หรือค่อย ๆ ด้วยความระมัดระวัง, ทำไม่ให้หนักมือหรือรุนแรง เช่น เบามือหน่อย อย่าตีแรงนัก |
ใบแดง | ใบแสดงการลงโทษผู้เล่นฟุตบอลที่กระทำผิดกติกาอย่างรุนแรง โดยไล่ออกจากการแข่งขัน. |
ประสานงา | ขัดแย้งกันอย่างรุนแรง, โดยปริยายหมายถึง ลักษณะที่รถหรือเรือแล่นเข้าชนกันอย่างแรง. |
ป่วนปั่น | ก. เคลื่อนไหวไปมาอย่างรุนแรงผิดปรกติ เช่น ทะเลป่วนปั่น, สับสนวุ่นวายผิดปรกติ เช่น ใจคอป่วนปั่น ท้องป่วนปั่น บ้านเมืองป่วนปั่น, ปั่นป่วน ก็ว่า. |
ปั่นป่วน | ก. เคลื่อนไหวไปมาอย่างรุนแรงผิดปรกติ เช่น ทะเลปั่นป่วน, สับสนวุ่นวายผิดปรกติ เช่น ใจคอปั่นป่วน ท้องปั่นป่วน บ้านเมืองปั่นป่วน, ป่วนปั่น ก็ว่า. |
ปีกหัก | ว. ที่ประสบความผิดหวังหรือพลาดพลั้งอย่างรุนแรงจนหมดกำลัง. |
เป็นฟืนเป็นไฟ | ว. รุนแรง, เต็มที่, (ใช้แก่กริยาโกรธ) เช่น โกรธเป็นฟืนเป็นไฟ. |
ผ่อนหนักเป็นเบา | ก. ลดความรุนแรงลง, ลดหย่อนลง. |
เผ็ดร้อน | รุนแรง เช่น โต้คารมอย่างเผ็ดร้อน. |
ฝ่ายซ้าย | น. กลุ่มที่มีอุดมคติเพื่อลดช่องว่างระหว่างชนชั้นในด้านเศรษฐกิจและการเมืองเป็นต้น มักใช้วิธีการที่รุนแรงและรวดเร็ว, โดยทั่วไปใช้หมายถึงกลุ่มที่นิยมลัทธิสังคมนิยมและคอมมิวนิสต์. |
Severe acute respiratory syndrome | โรคทางเดินหายใจเฉียบพลันรุนแรง [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Cerebrovascular syndrome | กลุ่มอาการทางระบบประสาทส่วนกลาง, กลุ่มอาการป่วยจากการได้รับรังสีที่มีอำนาจทะลุทะลวงสูงจากภายนอกทั่วร่างกายในระยะเวลาสั้นๆ ปริมาณตั้งแต่ 50 เกรย์ขึ้นไป อาการที่เกิดได้แก่ กระวนกระวาย สับสน คลื่นไส้และอาเจียนอย่างรุนแรง ไม่รู้สึกตัว และจะเสียชีวิตภายในระยะเวลาอันสั้น (ดู Radiation syndrome, Bone marrow syndrome และ Gastrointestinal syndrome ประกอบ) [นิวเคลียร์] |
Central nervous system syndrome | กลุ่มอาการทางระบบประสาทส่วนกลาง, กลุ่มอาการป่วยจากการได้รับรังสีที่มีอำนาจทะลุทะลวงสูงจากภายนอกทั่วร่างกายในระยะเวลาสั้นๆ ปริมาณตั้งแต่ 50 เกรย์ขึ้นไป อาการที่เกิดได้แก่ กระวนกระวาย สับสน คลื่นไส้และอาเจียนอย่างรุนแรง ไม่รู้สึกตัว และจะเสียชีวิตภายในระยะเวลาอันสั้น (ดู Radiation syndrome, Bone marrow syndrome และ Gastrointestinal syndrome ประกอบ) [นิวเคลียร์] |
Deterministic effect | ผลชัดเจน, ผลที่เกิดขึ้นเมื่อร่างกายได้รับปริมาณรังสีเกินขีดเริ่มเปลี่ยน ทำให้เห็นผลกระทบอย่างชัดเจน ผลนี้จะรุนแรงมากขึ้นเมื่อได้รับปริมาณรังสีมากขึ้น [นิวเคลียร์] |
Stochastic effect of radiation | ผลไม่ชัดเจน , ผลของรังสีที่คาดคะเนจากข้อมูลทางสถิติของผู้ที่ได้รับรังสี โดยโอกาสเกิดผลกระทบจะเป็นสัดส่วนโดยตรงกับปริมาณรังสี แต่ความรุนแรงของผลกระทบไม่ขึ้นกับปริมาณรังสี เช่น โอกาสของการเกิดมะเร็งจะเพิ่มขึ้นเมื่อได้รับปริมาณรังสีสูงขึ้น [นิวเคลียร์] |
Radicidation | การฆ่าเชื้อโรคด้วยรังสี, การฉายรังสีอาหารหรือผลิตภัณฑ์อาหารด้วยปริมาณรังสีต่ำกว่า 10 กิโลเกรย์ เพื่อฆ่าเชื้อโรคชนิดที่ไม่สร้างสปอร์ เช่น ซาลโมเนลลา ชิเกลลา อี.โคไล เชื้อโรคเหล่านี้เป็นต้นเหตุทำให้ท้องเสียอย่างรุนแรง ปวดท้อง ขาดน้ำ อาเจียน และเป็นไข้ อาหารที่ผ่านการฉายรังสีเพื่อฆ่าเชื้อโรค เช่น แหนม กุ้งแช่แข็ง ขากบแช่แข็ง เนื้อไก่แช่แข็ง การฆ่าเชื้อโรคด้วยวิธีนี้เทียบได้กับการพาสเจอไรซ์ <br>(ดู food irradiation ประกอบ)</br> [นิวเคลียร์] |
Nuclear incident | อุบัติการณ์นิวเคลียร์, เหตุการณ์ที่เกิดขัดข้องในโรงงานนิวเคลียร์ ทั้งโดยเจตนาและไม่เจตนา ซึ่งอาจก่อให้เกิดความเสียหาย แต่ไม่รุนแรงเท่าอุบัติเหตุนิวเคลียร์ (ดู INES ประกอบ) [นิวเคลียร์] |
Non-stochastic effect | ผลชัดเจน, ผลที่เกิดขึ้นเมื่อร่างกายได้รับปริมาณรังสีเกินขีดเริ่มเปลี่ยน ทำให้เห็นผลกระทบอย่างชัดเจน ผลนี้จะรุนแรงมากขึ้นเมื่อได้รับปริมาณรังสีมากขึ้น [นิวเคลียร์] |
International Nuclear Event Scale | มาตราระหว่างประเทศว่าด้วยเหตุการณ์ทางนิวเคลียร์, ขั้นความรุนแรงของเหตุการณ์เกี่ยวกับปัญหาด้านความปลอดภัยที่เกิดขึ้นในโรงงานนิวเคลียร์ โดยกำหนดเป็นมาตราสากล ตั้งแต่ระดับ 0 ถึง 7 เพื่อสื่อสารแก่ประชาชนให้เข้าใจได้ทันที [นิวเคลียร์] |
Gastrointestinal syndrome | กลุ่มอาการทางระบบทางเดินอาหาร, กลุ่มอาการป่วยจากการได้รับรังสีที่มีอำนาจทะลุทะลวงสูงจากภายนอกทั่วร่างกายในระยะเวลาสั้นๆ ปริมาณตั้งแต่ 10 เกรย์ขึ้นไป มีอาการท้องร่วง คลื่นไส้ และอาเจียนอย่างรุนแรง และจะเสียชีวิตภายใน 2 สัปดาห์ [นิวเคลียร์] |
Youth and violence | เยาวชนกับความรุนแรง [TU Subject Heading] |
Anaphylaxis | อาการแพ้รุนแรง [TU Subject Heading] |
Antiretroviral therapy, Highly active | การรักษาด้วยยาต้านไวรัสที่มีประสิทธิภาพรุนแรง [TU Subject Heading] |
Dating violence | ความรุนแรงในการนัดพบฉันท์ชู้สาว [TU Subject Heading] |
Family violence | ความรุนแรงในครอบครัว [TU Subject Heading] |
Low-intensity conflicts (Military science) | ความขัดแย้งแบบลดความรุนแรง (การทหาร) [TU Subject Heading] |
Marital violence | ความรุนแรงในคู่สมรส [TU Subject Heading] |
Nonviolence | การไม่ใช้ความรุนแรง [TU Subject Heading] |
Political violence | ความรุนแรงทางการเมือง [TU Subject Heading] |
Prison violence | ความรุนแรงในเรือนจำ [TU Subject Heading] |
School violence | ความรุนแรงในโรงเรียน [TU Subject Heading] |
Severe acute respiratory syndrome | โรคระบบทางเดินหายใจเฉียบพลันรุนแรง [TU Subject Heading] |
Victims of dating violence | เหยื่อความรุนแรงในการนัดพบฉันท์ชู้สาว [TU Subject Heading] |
Victims of family violence | เหยื่อความรุนแรงในครอบครัว [TU Subject Heading] |
Violence | ความรุนแรง [TU Subject Heading] |
Violence in mass media | ความรุนแรงในสื่อมวลชน [TU Subject Heading] |
Violence in motion pictures | ความรุนแรงในภาพยนตร์ [TU Subject Heading] |
Violence on television | ความรุนแรงในโทรทัศน์ [TU Subject Heading] |
Hyperinflation | เงินเฟ้อรุนแรง, Example: สถานการณ์ซึ่งเกิดขึ้นเมื่ออัตราการเพิ่มขึ้น ในราคาสินค้าและบริการทั่วไป ในระบบเศรษฐกิจเป็นอย่างรุนแรงและรวดเร็ว ซึ่งนำไปสู่วิกฤตการณ์ในระบบเศรษฐกิจ ในสถานการเช่นนี้เงินจะไม่มีค่าและระบบเศรษฐกิจจะเริ่มหันกลับมาใช้ระบบการ แลกเปลี่ยนแบบสินค้ากับสินค้า (ดู Barter System) จุดที่แบ่งแยกระหว่างภาวะเงินเฟ้อปกติกับภาวะเงินเฟ้อรุนแรงนั้น ยังไม่สามารถกำหนดแน่นอนได้ เงินเฟ้อรุนแรงหรือ Hyperinflation แต่เดิมเรียกว่า Galloping Inflation [สิ่งแวดล้อม] |
Break of Diplomatic Relations | การตัดความสัมพันธ์ทางการทูต เมื่อสองรัฐตัดความสัมพันธ์ทางการทูตซึ่งกันและกัน เพราะมีการไม่ลงรอยกันอย่างรุนแรง หรือเพราะเกิดสงคราม จึงไม่มีหนทางติดต่อกันได้โดยตรง ดังนั้น แต่ละรัฐมักจะขอให้มิตรประเทศที่เป็นกลางแห่งใดแห่งหนึ่ง ซึ่งเป็นที่ยอมรับของรัฐอีกฝ่ายหนึ่ง ช่วยทำหน้าที่พิทักษ์ดูแลผลประโยชน์ของตนในอีกรัฐหนึ่ง โดยเฉพาะอย่างยิ่งให้ช่วยดูแลคนชาติของรัฐนั้น ตัวอย่างเช่น ในตอนที่สหรัฐอเมริกากับคิวบาได้ตัดความสัมพันธ์ทางการทูตกดัน สหรัฐอเมริกาได้ขอให้คณะผู้แทนทางการทูตของสวิส ณ กรุงฮาวานา ช่วยพิทักษ์ดูแลผลประโยชน์ของสหรัฐฯ ในประเทศคิวบา ในขณะเดียวกัน สถานเอกอัครราชทูตเช็คโกสโลวาเกียในกรุงวอชิงตัน ก็ได้รับการขอจากประเทศคิวบา ให้ช่วยพิทักษ์ดูแลผลประโยชน์ของตนในสหรัฐอเมริกาถึงสังเกตว่า การตัดความสัมพันธ์ทางการทูตนี้ มิได้หมายความว่าความสัมพันธ์ทางกงสุลจะต้องตัดขาดไปด้วย มาตรา 45 ของอนุสัญญากรุงเวียนนาได้บัญญัติว่า ?ถ้าความสัมพันธ์ทางการทูตระหว่างสองรัฐขาดลง หรือถ้าคณะผู้แทนถูกเรียกกลับเป็นการถาวรหรือชั่วคราวก. แม้ในกรณีการขัดแย้งกันด้วยอาวุธ รัฐผู้รับจะต้องเคารพและคุ้มครองสถานที่ของคณะผู้แทน รวมทั้งทรัพย์สินและบรรณสารของคณะผู้แทนด้วยข. รัฐผู้ส่งอาจมอบหมายการพิทักษ์สถานที่ของคณะผู้แทน รวมทั้งทรัพย์สินและบรรณสารของคณะผู้แทน ให้แก่รัฐที่สามซึ่งเป็นที่ยอมรับแก่รัฐผู้รับก็ได้ค. รัฐผู้ส่งอาจมอบหมายการอารักขาผลประโยชน์ของคนและคนชาติของตน แก่รัฐที่สามซึ่งเป็นที่ยอมรับได้แก่รัฐผู้รับก็ได้ [การทูต] |
Genocide | การฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ หรือฆ่ามนุษย์เป็นกลุ่มก้อน เมื่อวันที่ 11 ธันวาคม ค.ศ. 1946 สมัชชาสหประชาชาติได้ยืนยันเป็นเอกฉันท์ว่า การฆ่าล้างเผ่าพันธุ์หรือการฆ่ามนุษย์เป็นกลุ่มก้อนนั้นให้ถือเป็นอาชญากรรม ตามกฎหมายระหว่างประเทศ ซึ่งโลกที่บรรลุความเจริญแล้วประณามอย่างรุนแรงอนุสัญญาว่าด้วยการป้องกัน และการลงโทษอาชญากรรมเกี่ยวกับการฆ่าล้างเผ่าพันธุ์นี้ สมัชชาสหประชาชาติได้ลงมติรับรองเป็นเอกฉันท์เมื่อวันที่ 9 ธันวาคม ค.ศ. 1948 อนุสัญญานี้ได้นิยามคำว่าการฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ (Genocide) หมายถึงการประกอบอาชญากรรมบางอย่าง โดยมีเจตนาที่จะทำลายล้างกลุ่มชนชาติ กลุ่มเผ่าพันธุ์ กลุ่มเชื้อชาติ หรือกลุ่มศาสนา ในบางส่วนหรือทั้งหมดก็ตาม การประกอบกรรมซึ่งถือเป็นการฆ่าล้างชาตินั้นได้แก่ การฆ่า การทำให้เกิดความเสียหายอย่างสาหัส ทั้งต่อร่างกายหรือจิตใจ และการบังคับให้มีสภาวะการครองชีพที่เจตนาจะให้ชีวิตร่ายกายถูกทำลาย ไม่ว่าจะเพียงส่วนหนึ่งหรือทั้งหมดก็ตาม ตลอดจนออกมาตรการกีดกันมิให้มีลูกและโยกย้ายเด็ก ๆ ไม่เพียงแต่การฆ่าล้างชาติอย่างเดียว หากแต่การคบคิดหรือการยุยงให้มีการฆ่าล้างชาติ รวมทั้งความพยายามที่จะฆ่าล้างชาติและสมรู้ร่วมคิดในอาชญากรรมดังกล่าว ย่อมถูกลงโทษได้ตามนัยแห่งอนุสัญญานี้ บรรดาผู้ที่มีความผิดฐานฆ่าล้างชาติจะต้องถูกลงโทษไม่ว่าผู้นั้นจะเป็นผู้ ปกครอง เจ้าหน้าที่ฝ่ายบ้านเมือง หรือเอกชนส่วนบุคคลที่มีหน้าที่รับผิดของตามกฎหมายก็ตามบรรดาประเทศที่ภาคี อนุสัญญานี้จำเป็นต้องออกกฎหมายของตนเพื่อรองรับ และจะต้องตกลงเรื่องส่งผู้ร้ายข้ามแดนในกรณีที่บุคคลนั้นๆ มีความผิดฐานฆ่าล้างชาติ และบุคคลที่มีความผิดฐานฆ่าล้างชาติจะต้องถูกพิจารณาลงโทษในประเทศที่มีการ ประกอบอาชญากรรมดังกล่าวขึ้น หรือโดยศาลระหว่างประเทศที่มีอำนาจครอบคลุมถึงเจตนารมณ์ของสนธิสัญญานี้ เพื่อต้องการป้องกัน และลงโทษอาชญากรรมฆ่าล้างชาติ ไม่ว่าจะประกอบขึ้นในยามสงครามหรือในยามสงบก็ตามอนุสัญญาดังกล่าวได้เริ่มมี ผลบังคับเมื่อวันที่ 12 มกราคม ค.ศ. 1951 เป็นเวลา 90 วันหลังจากที่ 20 ประเทศได้ให้สัตยาบัน หรือให้ภาคยานุวัติตามที่ระบุอยู่ในอนุสัญญา อนุสัญญานี้จะมีผลบังคับเป็นเวลา 10 ปี และมีการต่ออายุสัญญาทุก 5 ปี สำหรับประเทศที่มิได้บอกเลิกสัญญา หากประเทศที่ยังเป็นภาคีอนุสัญญามีจำนวนเหลือไม่ถึง 16 ประเทศ อนุสัญญานี้จะเลิกมีผลบังคับทันที [การทูต] |
Gorbachev doctrine | นโยบายหลักของกอร์บาชอฟ เป็นศัพท์ที่สื่อมวลชนของประเทศฝ่ายตะวันตกบัญญัติขึ้น ในตอนที่กำลังมีการริเริ่มใหม่ๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง เกี่ยวกับนโยบายต่างประเทศของโซเวียตในด้านความร่วมมือระหว่างประเทศอภิมหา อำนาจตั้งแต่ ค.ศ. 1985 เป็นต้นมา ภายใต้การนำของ นายมิคาอิล กอร์บาชอฟ ในระยะนั้น โซเวียตเริ่มเปลี่ยนทิศทางของสังคมภายในประเทศใหม่ โดยยึดหลักกลาสนอสต์ (Glasnost) ซึ่งหมายความว่า การเปิดกว้าง รวมทั้งหลักเปเรสตรอยก้า (Perestroika) อันหมายถึงการปรับเปลี่ยนโครงสร้างใหม่ในช่วงปี ค.ศ. 1985 ถึง 1986 บุคคลสำคัญชั้นนำของโซเวียตผู้มีอำนาจในการตัดสินใจนี้ ได้เล็งเห็นและสรุปว่าการที่ประเทศพยายามจะรักษาสถานภาพประเทศอภิมหาอำนาจ และครองความเป็นใหญ่ในแง่อุดมคติทางการเมืองของตนนั้นจำต้องแบกภาระทาง เศรษฐกิจอย่างหนักหน่วง แต่ประโยชน์ที่จะได้จริง ๆ นั้นกลับมีเพียงเล็กน้อย เขาเห็นว่า แม้ในสมัยเบรสเนฟ ซึ่งได้เห็นความพยายามอันล้มเหลงโดยสิ้นเชิงของสหรัฐฯ ในสงครามเวียดนาม การปฏิวัติทางสังคมนิยมที่เกิดขึ้นในแองโกล่า โมซัมบิค และในประเทศเอธิโอเปีย รวมทั้งกระแสการปฏิวัติทวีความรุนแรงยิ่งขึ้นในแถบประเทศละตินอเมริกา ก็มิได้ทำให้สหภาพโซเวียตได้รับประโยชน์ หรือได้เปรียบอย่างเห็นทันตาแต่ประการใด แต่กลับกลายเป็นภาระหนักอย่างยิ่งเสียอีก แองโกล่ากับโมแซมบิคกลายสภาพเป็นลูกหนี้อย่างรวดเร็ว เอธิโอเปียต้องประสบกับภาวะขาดแคลนอาหารอย่างสาหัส และการที่โซเวียตใช้กำลังทหารเข้ารุกรานประเทศอัฟกานิสถานเมื่อปี ค.ศ. 1979 ทำให้ระบบการทหารและเศรษฐกิจของโซเวียตต้องเครียดหนักยิ่งขึ้น และการเกิดวิกฤตด้านพลังงาน (Energy) ในยุโรปภาคตะวันออกระหว่างปี ค.ศ. 1984-1985 กลับเป็นการสะสมปัญหาที่ยุ่งยากมากขึ้นไปอีก ขณะเดียวกันโซเวียตตกอยู่ในฐานะต้องพึ่งพาอาศัยประเทศภาคตะวันตกมากขึ้นทุก ขณะ ทั้งในด้านวิชาการทางเทคโนโลยี และในทางโภคภัณฑ์ธัญญาหารที่จำเป็นแก่การดำรงชีวิตของพลเมืองของตน ยิ่งไปกว่านั้น การที่เกิดการแข่งขันกันใหม่ด้านอาวุธยุทโธปกรณ์กับสหรัฐอเมริกา โดยเฉพาะแผนยุทธการของสหรัฐฯ ที่เรียกว่า SDI (U.S. Strategic Defense Initiative) ทำให้ต้องแบกภาระอันหนักอึ้งทางการเงินด้วยเหตุนี้โซเวียตจึงต้องทำการ ประเมินเป้าหมายและทิศทางการป้องกันประเทศใหม่ นโยบายหลักของกอร์บาซอฟนี่เองทำให้โซเวียตต้องหันมาญาติดี รวมถึงทำความตกลงกับสหรัฐฯ ในรูปสนธิสัญญาว่าด้วยกำลังนิวเคลียร์ในรัศมีปานกลาง (Intermediate Range Force หรือ INF) ซึ่งได้ลงนามกันในกรุงวอชิงตันเมื่อปี ค.ศ. 1987เหตุการณ์นี้ถือกันว่าเป็นมาตรการที่มีความสำคัญที่สุดในด้านการควบคุม ยุทโธปกรณ์ตั้งแต่เริ่มสงครามเย็น (Cold War) ในปี ค.ศ. 1946 เป็นต้นมา และเริ่มมีผลกระทบต่อทิศทางในการที่โซเวียตเข้าไปพัวพันกับประเทศ อัฟกานิสถาน แอฟริกาภาคใต้ ภาคตะวันออกกลาง และอาณาเขตอ่าวเปอร์เซีย กอร์บาชอฟถึงกับประกาศยอมรับว่า การรุกรานประเทศอัฟกานิสถานเป็นการกระทำที่ผิดพลาด พร้อมทั้งถอนกองกำลังของตนออกไปจากอัฟกานิสถานเมื่อปี ค.ศ. 1989 อนึ่ง เชื่อกันว่าการที่ต้องถอนทหารคิวบาออกไปจากแองโกล่า ก็เป็นเพราะผลกระทบจากนโยบายหลักของกอร์บาชอฟ ซึ่งได้เปลี่ยนท่าทีและบทบาทใหม่ของโซเวียตในภูมิภาคตอนใต้ของแอฟริกานั้น เอง ส่วนในภูมิภาคตะวันออกกลาง นโยบายหลักของกอร์บาชอฟได้เป็นผลให้ นายเอ็ดวาร์ด ชวาดนาเซ่ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ซึ่งเป็นผู้ที่ได้รับการแต่งตั้งจากนายกอร์บาชอฟ เริ่มแสดงสันติภาพใหม่ๆ เช่น ทำให้โซเวียตกลับไปรื้อฟื้นสัมพันธภาพทางการทูตกับประเทศอิสราเอล ทำนองเดียวกันในเขตอ่าวเปอร์เซีย โซเวียตก็พยายามคืนดีด้านการทูตกับประเทศอิหร่าน เป็นต้นการเปลี่ยนทิศทางใหม่ทั้งหลายนี้ ถือกันว่ายังผลให้มีการเปลี่ยนแปลงนโยบายภายในประเทศทั้งด้านเศรษฐกิจและ ด้านสังคมของโซเวียต อันสืบเนื่องมาจากนโยบาย Glasnost and Perestroika ที่กล่าวมาข้างต้นนั่นเองในที่สุด เหตุการณ์ทั้งหลายเหล่านี้ก็ได้นำไปสู่การล่มสลายอย่างกะทันหันของสหภาพ โซเวียตเมื่อปี ค.ศ. 1991 พร้อมกันนี้ โซเวียตเริ่มพยายามปรับปรุงเปลี่ยนแปลง รวมทั้งปรับโครงสร้างทางเศรษฐกิจการเมืองของประเทศให้ทันสมัยอย่างขนานใหญ่ นำเอาทรัพยากรที่ใช้ในด้านการทหารกลับไปใช้ในด้านพลเรือน พฤติกรรมเหล่านี้ทำให้เกิดจิตใจ (Spirit) ของการเป็นมิตรไมตรีต่อกัน (Détente) ขึ้นใหม่ในวงการการเมืองโลก เห็นได้จากสงครามอ่าวเปอร์เซีย ซึ่งโซเวียตไม่เล่นด้วยกับอิรัก และหันมาสนับสนุนอย่างไม่ออกหน้ากับนโยบายของประเทศฝ่ายสัมพันธมิตรนัก วิเคราะห์เหตุการณ์ต่างประเทศหลายคนเห็นพ้องต้องกันว่า การที่เกิดการผ่อนคลาย และแสวงความเป็นอิสระในยุโรปภาคตะวันออกอย่างกะทันหันนั้น เป็นผลจากนโยบายหลักของกอร์บาชอฟโดยตรง คือเลิกใช้นโยบายของเบรสเนฟที่ต้องการให้สหภาพโซเวียตเข้าแทรกแซงอย่างจริง จังในกิจการภายในของกลุ่มประเทศยุโรปตะวันออก กระนั้นก็ยังมีความรู้สึกห่วงใยกันไม่น้อยว่า อนาคตทางการเมืองของกอร์บาชอฟจะไปได้ไกลสักแค่ไหน รวมทั้งความผูกพันเป็นลูกโซ่ภายในสหภาพโซเวียตเอง ซึ่งยังมีพวกคอมมิวนิสต์หัวรุนแรงหลงเหลืออยู่ภายในประเทศอีกไม่น้อย เพราะแต่เดิม คณะพรรคคอมมิวนิสต์ในสหภาพโซเวียตนั้น เป็นเสมือนจุดรวมที่ทำให้คนสัญชาติต่าง ๆ กว่า 100 สัญชาติภายในสหภาพ ได้รวมกันติดภายในประเทศที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในโลก คือมีพื้นที่ประมาณ 1 ใน 6 ส่วนของพื้นที่โลก และมีพลเมืองทั้งสิ้นประมาณ 280 ล้านคนจึงสังเกตได้ไม่ยากว่า หลังจากสหภาพโซเวียตล่มสลายไปแล้ว พวกหัวเก่าและพวกที่มีความรู้สึกชาตินิยมแรง รวมทั้งพลเมืองเผ่าพันธุ์ต่างๆ เกิดความรู้สึกไม่สงบ เพราะมีการแก่งแย่งแข่งกัน บังเกิดความไม่พอใจกับภาวะเศรษฐกิจที่ตนเองต้องเผชิญอยู่ จึงเป็นสาเหตุที่ทำให้จักรวรรดิของโซเวียตต้องแตกออกเป็นส่วน ๆ เช่น มีสาธารณรัฐที่มีอำนาจ ?อัตตาธิปไตย? (Autonomous) หลายแห่ง ต้องการมีความสัมพันธ์ในรูปแบบใหม่กับรัสเซีย เช่น สาธารณรัฐยูเกรน ไบโลรัสเซีย มอลดาเวีย อาร์เมเนีย และอุสเบคิสถาน เป็นต้น แต่ก็เป็นการรวมกันอย่างหลวม ๆ มากกว่า และอธิปไตยที่เป็นอยู่ขณะนี้ดูจะเป็นอธิปไตยที่มีขอบเขตจำกัดมากกว่าเช่นกัน โดยเฉพาะสาธารณรัฐมุสลิมในสหภาพโซเวียตเดิม ซึ่งมีพลเมืองรวมกันเกือบ 50 ล้านคน ก็กำลังเป็นปัญหาต่อเชื้อชาติสลาฟ และการที่พวกมุสลิมที่เคร่งครัดต่อหลักการเดิม (Fundamentalism) ได้เปิดประตูไปมีความสัมพันธ์อันดีกับประะเทศอิหร่านและตุรกีจึงทำให้มีข้อ สงสัยและครุ่นคิดกันว่า เมื่อสหภาพโซเวียตแตกสลายออกเป็นเสี่ยง ๆ ดังนี้แล้ว นโยบายหลักของกอร์บาชอฟจะมีทางอยู่รอดต่อไปหรือไม่ ซึ่งเป็นเรื่องที่ถกเถียงและอภิปรายกันอยู่พักใหญ่และแล้ว เมื่อวันที่ 19 สิงหาคม ค.ศ. 1991 ก็ได้เกิดความพยายามที่จะถอยหลังเข้าคลอง คือกลับนโยบายผ่อนเสรีของ Glasnost และ Perestroika ทั้งภายในประเทศและภายนอกประเทศโดยมีผุ้ที่ไม่พอใจได้พยายามจะก่อรัฐประหาร ขึ้นต่อรัฐบาลของนายกอร์บาชอฟ แม้การก่อรัฐประหารซึ่งกินเวลาอยู่เพียงไม่กี่วันจะไม่ประสบผลสำเร็จ แต่เหตุการณ์นี้ก่อให้เกิดผลสะท้อนลึกซึ้งมาก คือเป็นการแสดงว่า อำนาจของรัฐบาลกลางย้ายจากศูนย์กลางไปอยู่ตามเขตรอบนอกของประเทศ คือสาธารณรัฐต่างๆ ซึ่งก็ต้องประสบกับปัญหานานัปการ จากการที่ประเทศเป็นภาคีอยู่กับสนธิสัญญาระหว่างประเทศต่างๆ โดยเฉพาะความตกลงเกี่ยวกับการควบคุมอาวุธยุทโธปกรณ์ ซึ่งสหภาพโซเวียตเดิมได้ลงนามไว้หลายฉบับผู้นำของสาธารณรัฐที่ใหญ่ที่สุดคือ นายบอริส เยลท์ซินได้ประกาศว่า สหพันธ์รัฐรัสเซียยังถือว่า พรมแดนที่เป็นอยู่ขณะนี้ย่อมเปลี่ยนแปลงแก้ไขได้ ไม่ใช่เป็นสิ่งที่จะแก้ไขเสียมิได้และในสภาพการณ์ด้านต่างประทเศที่เป็นอยู่ ในขณะนี้ การที่โซเวียตหมดสภาพเป็นประเทศอภิมหาอำนาจ ทำให้โลกกลับต้องประสบปัญหายากลำบากหลายอย่าง โดยเฉพาะอย่างยิ่งปัญหาเศรษฐกิจระหว่างสาธารณรัฐต่างๆ ที่เคยสังกัดอยู่ในสหภาพโซเวียตเดิม จึงเห็นได้ชัดว่า สหภาพโซเวียตเดิมได้ถูกแทนที่โดยการรวมตัวกันระหว่างสาธารณรัฐต่างๆ อย่างหลวมๆ ในขณะนี้ คล้ายกับการรวมตัวกันระหว่างสาธารณรัฐภายในรูปเครือจักรภพหรือภายในรูป สมาพันธรัฐมากกว่า และนโยบายหลักของกอร์บาชอฟก็ได้ทำให้สหภาพโซเวียตหมดสภาพความเป็นตัวตนใน เชิงภูมิรัฐศาสตร์ (Geopolitics) [การทูต] |
Inviolability of the Mission Premises | คือความละเมิดมิได้จากสถานที่ของคณะผู้แทน หมายความว่า บ้านของตัวแทนทางการทูต รวมทั้งสถานที่อื่น ๆ ที่ใช้เพื่อจุดประสงค์ทางการทูต รวมถึงตึกรามใด ๆ ที่ผู้แทนทางการทูตใช้ดำเนินงานทางการทูตในตำแหน่งที่ของเขา ไม่ว่าสถานที่นั้น ๆ จะเป็นทรัพย์สินของรัฐบาลของเขาหรือเป็นของเขาเอง หรือแม้แต่เป็นสถานที่ที่ให้ตัวแทนทางการทูตเช่า เหล่านี้จะได้รับความคุ้มกัน (Immunity) ทั้งสิ้น นอกจากนี้ เจ้าหน้าที่ของรัฐผู้ใด โดยเฉพาะเจ้าที่ตำรวจ เจ้าหน้าที่เก็บภาษี หรือเจ้าหน้าที่ศาล จะเข้าไปในที่อยู่หรือทำเนียบของผู้แทนทางการทูตมิได้ นอกจากจะได้รับความยินยอมให้กระทำเช่นนั้นอย่างไรก็ดี หากเกิดอาชญากรรมขึ้นภายในสถานที่ของคณะผู้แทน หรือในที่อยู่ของตัวแทนทางการทูต โดยบุคคลซึ่งมิได้อุปโภคความละเมิดมิได้ ตัวแทนทางการทูตผู้นั้นจะต้องมอบตัวอาชญากรดังกล่าวให้แก่รัฐบาลท้องถิ่นตาม ที่ขอร้อง กล่าวโดยทั่วไป ตัวแทนทางการทูตจะยอมให้ที่พักพิงในสถานทูตแก่อาชญากรใด ๆ ไม่ได้ เว้นแต่ในกรณีที่เห็นว่าอาชญากรผู้นั้นตกอยู่ในอันตรายที่จะถูกฆ่าจากฝูงชน ที่ใช้ความรุนแรง ก็จะยอมให้เข้าไปพักพิงได้เป็นกรณีพิเศษในเรื่องนี้ อนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางการทูต ได้กล่าวไว้ในข้อ 22 ดังนี้ ?1. สถานที่ของคณะผู้แทนจะถูกละเมิดมิได้ ตัวแทนของรัฐผู้รับไม่อาจเข้าไปในสถานที่นั้นได้ เว้นแต่ด้วนความยินยอมของหัวหน้าคณะผู้แทน 2. รัฐผู้รับมีหน้าที่พิเศษที่จะดำเนินการทั้งมวลที่เหมาะสม เพื่อคุ้มครองสถานที่ของคณะผู้แทนจากการบุกรุกหรือความเสียหายใด ๆ และที่จะป้องกันการรบกวนใด ๆ ต่อความสงบสุขของคณะผู้แทน หรือการทำให้เสื่อมเสียเกียรติ 3. สถานที่ของคณะผู้แทน เครื่องตกแต่ง และทรัพย์สินอื่นของคณะผู้แทนในสถานที่นั้น ตลอดจนพาหนะในการขนส่งของคณะผู้แทน ให้ได้รับความคุ้มกันจาการค้น การเรียกเกณฑ์ การอายัด หรือการบังคับคดี ? [การทูต] |
Normal Diplomacy | การติดต่อทางการทูตโดยวิถีทางทูตตามปกติ มักจะกระทำกันดังนี้ เมื่อรัฐบาลต้องการจะหยิบยกปัญหาขึ้นกับอีกรัฐบาลหนึ่ง ตัวรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศจะส่งคำสั่งไปยังเอกอัครราชทูตของ ประเทศตนที่ประจำอยู่ในประเทศผู้รับส่งให้ยกเรื่องนั้นขึ้นเจรจากับรัฐบาล ของประเทศผู้รับ โดยปกติเอกอัครราชทูตจะมีหนังสือทางการทูต (Diplomatic Note) เกี่ยวกับเรื่องดังกล่าวไปยังรัฐมนตรีวาการกระทรวงการต่างประเทศ ของประเทศผู้รับนั้นก่อน หรือไม่ก็ไปพบกับรัฐมนตรีด้วยตนเอง ณ กระทรวงการต่างประเทศ การเจรจากันอาจทำให้จำเป็นต้องมีการบันทึกของทูตแลกเปลี่ยนกันขึ้น ในรูปบันทึกช่วยจำ (Aide-Memoire ) ในบางกรณี เอกอัครราชทูตจำเป็นต้องไปพูดจา ณ กระทรวงการต่างประเทศ อีกหลายครั้งกว่าจะเสร็จเรื่อง ในระหว่างนั้น เอกอัครราชทูตมีหน้าที่จะต้องรายงานผลการเจรจาแต่ะครั้งไปยังกระทรวงการต่าง ประเทศของตน และบางคราวอาจจะต้องขอคำสั่งเพิ่มเติมอีกเมื่อเกิดกรณีใหม่โดยมิได้คาดหมาย มาก่อนเป็นต้น ในขณะเดียวกันกระทรวงการต่างประเทศของประเทศผู้รับก็จะส่งคำสั่งไปยังเอก อัครราชทูตของตน แนะว่าควรดำเนินการอย่างไรเกี่ยวกับปัญหาที่กำลังเจรจากันกับรัฐบาลของ ประเทศที่ตนประจำอยู่ผลการเจรจาอาจเป็นที่ตกลงกันได้ระหว่างรัฐบาลทั้งสอง ฝ่าย หรืออาจจะจบลงด้วยภาวะชะงักงัน ( Stalemate ) หรือรัฐบาลทั้งสองอาจจะตกลงกันว่าไม่สามารถตกลงกันได้ และปล่อยให้ปัญหาคาราคาซังไปก่อน จนกว่าจะมีการรื้อฟื้นเจรจากันใหม่ บางคราวปัญหาที่ยังตกลงกันไม่ได้นั้น อาจกลายเป็นปัญหาขัดแย้งกันอย่างรุนแรงต่อไปก็ได้ [การทูต] |
Recall of Diplomats | การเรียกตัวนักการทูตกลับประเทศของตน คือ ผู้แทนทางการทูตอาจถูกรัฐบาลของตนริเริ่มเรียกตัวกลับประเทศได้ด้วยเหตุผล ต่าง ๆ เช่น ผู้แทนทางการทูตนั้นขอลาออก หรือลาออกจากราชการเพื่อรับบำเหน็จบำนาญ หรือถูกโยกย้ายไปประจำอีกแห่งหนึ่ง หรือเกิดความไม่พอใจอย่างใดอย่างหนึ่งก็ได้ถ้าหากรัฐบาลปรารถนาจะเรียกหัว หน้าคณะผู้แทนทางการทูตกลับโดยถาวรเนื่องจากไม่พอใจในตัวเขา โดยมากเป็นธรรมเนียมปฏิบัติกัน คือ รัฐบาลจะเปิดโอกาสให้หัวหน้าคณะทูตผู้นั้นทำหนังสือขอลาออกจากตำแหน่งเสีย มากกว่าที่จะใช้วิธีสั่งปลด อันเป็นการกระทำที่รุนแรงกว่ามากนอกจากนี้ หัวหน้าคณะผู้แทนทางการทูตหรือเอกอัครราชทูตอาจถูกรัฐบาลเรียกตัวกลับตามคำ ขอร้องของรัฐบาลประเทศผู้รับ เนื่องจากกระทำตนไม่เป็นที่พึงปราถนาของประเทศผู้รับ (Persona non grata) ก็ได้ ตามปกติ คำขอร้องจากรัฐผู้รับขอให้เรียกตัวกลับนั้น มักได้รับการตอบสนองโดยดีในทันทีจากรัฐผู้ส่ง แต่ถ้าหากรัฐผู้ส่งปฏิเสธคำขอร้องดังกล่าวนั้น รัฐผู้รับอาจขับให้ออก (Dismiss) จากประเทศก็ได้ [การทูต] |
radicidation | การฆ่าเชื้อโรคด้วยรังสี, คือ การนำอาหารหรือผลิตภัณฑ์อาหาร ซึ่งผ่านกรรมวิธีการผลิตที่ถูกสุขลักษณะ ไปผ่านการฉายรังสีแกมมา หรือรังสีเอกซ์ หรืออิเล็กตรอน ด้วยปริมาณรังสีต่ำกว่า 10 กิโลเกรย์ เพื่อฆ่าเชื้อโรคชนิดที่ไม่สร้างสปอร์ เช่น ซาลโมเนลลา ชิเกลลาอี.โคไล ฯลฯ เชื้อโรคเหล่านี้เป็นต้นเหตุทำให้เกิดอาการท้องเสียอย่างรุนแรง ปวดท้อง ขาดน้ำ อาเจียน และเป็นไข้ ตัวอย่างอาหารที่นำมาฉายรังสีเพื่อฆ่าเชื้อโรค ได้แก่ แหนม กุ้งแช่แข็ง ขากบแช่แข็ง และเนื้อไก่แช่แข็ง การฆ่าเชื้อโรคด้วยวิธีนี้เทียบได้กับการพาสเจอร์ไรซ์ [พลังงาน] |
Hydrogenated acrylonitrile-butadiene rubber | ยางไฮโดรจิเนตอะไครโลไนไทรล์บิวทาไดอีน หรือยาง HNBR เป็นยางสังเคราะห์ชนิดหนึ่งซึ่งได้จากการเกิดปฏิกิริยาไฮโดรจิเนชัน (Hydrogenation) ของยาง NBR สมบัติของยาง HNBR มีความทนทานต่อการเสื่อมสภาพอันเนื่องมาจากความร้อน รังสีที่มีพลังงานสูง และโอโซนสูงมาก ใกล้เคียงกับยาง EPDM และเนื่องจากมี CN อยู่ในโมเลกุลทำให้ยางชนิดนี้ทนต่อน้ำมันได้ดี ยาง HNBR มีสมบัติทั่วไปอยู่ระหว่างยาง NBR และยางฟลูออโรคาร์บอน เนื่องจากยางชนิดนี้มีราคาสูง จึงนิยมใช้ยาง HNBR แทนยาง NBR เฉพาะกรณีที่ต้องการใช้งานในสภาวะที่รุนแรงหรือที่อุณหภูมิสูงเท่านั้น นอกจากนี้ยางชนิดนี้ยังมีข้อดีเหนือกว่ายางฟลูออโรคาร์บอน คือ มีความทนทานต่อสารตัวเติมที่มีฤทธิ์เป็นด่าง เช่น สารประกอบเอมีน ได้ดี จึงนิยมใช้ในการผลิตชิ้นส่วนยางที่ใช้ในแท่นขุดเจาะน้ำมัน [เทคโนโลยียาง] |
Abdominal Cramps | ปวดท้องอย่างรุนแรง, ตะคริว, ปวดบริเวณท้องจากตะคริว, ปวดท้อง [การแพทย์] |
Abdominal Emergency, Acute | อาการทางท้องอย่างรุนแรงและเฉียบพลัน [การแพทย์] |
Abdominal Trauma, Severe | ความบวมช้ำในช่องท้องอย่างรุนแรง [การแพทย์] |
Acute | อาการรวดเร็วรุนแรง, เฉียบพลัน, เร็วแรง, ปัจจุบันทันด่วน, ชนิดเฉียบพลัน [การแพทย์] |
Acute Episode | ระยะอักเสบรุนแรง, อาการเฉียบพลันเป็นพักๆ [การแพทย์] |
Acute Fulminating Form | โรคเหน็บชาในทารกชนิดเป็นอย่างรุนแรงเฉียบพลัน [การแพทย์] |
Acute Period | ระยะอาการขั้นรุนแรงที่สุด [การแพทย์] |
Acute Stage | ระยะเฉียบพลัน, ระยะที่มีอาการรุนแรงเต็มที่ [การแพทย์] |
Acute Yellow Atrophy | ตับฝ่อเหลืองเฉียบพลัน, ตับเล็กลงอย่างรวดเร็วเนื่องจากตับอักเสบ, โรคออโตอิมมูนของตับชนิดมีอาการรุนแรงเฉียบพลัน [การแพทย์] |
Advanced | เป็นรุนแรง, เป็นมากๆ [การแพทย์] |
Affective Disorders, Major | โรคอารมณ์แปรปรวนชนิดรุนแรง [การแพทย์] |
Aggressive, More | รุนแรงกว่า [การแพทย์] |
Aggressiveness | ก้าวร้าว, อาการก้าวร้าว, ความรุนแรง [การแพทย์] |
acid | (n) ยาเสพติดแอลเอสดี (คำสแลง), See also: ยาเสพติดชนิดหนึ่งที่มีฤทธิ์หลอนประสาทรุนแรง, Syn. LSD, hallucinogen |
acrid | (adj) ดุเดือด (คำพูด, กิริยาวาจา), See also: รุนแรง, เผ็ดร้อน, Syn. sarcastic, caustic |
acrid | (adj) รุนแรง (กลิ่นหรือรส), See also: ฉุน, แสบจมูก, Syn. bitter, sharp, stinging |
acrimony | (n) ความรุนแรง, See also: ความเกรี้ยวกราด, Syn. bitterness, harshness |
acute | (adj) รุนแรง, See also: หนัก, ร้ายแรง, อย่างแรง, สาหัส, Syn. severe, serious |
acutely | (adv) อย่างรุนแรง, Syn. severely |
add | (vi) ทำให้รุนแรงขึ้น, See also: เสริม, เพิ่ม |
aftershock | (n) แผ่นดินไหวเล็กน้อยที่เกิดหลังจากแผ่นดินไหวรุนแรง |
almighty | (adj) รุนแรง, See also: สุดขีด, อย่างมาก, อย่างที่สุด, Syn. extreme, great |
almighty | (adv) อย่างรุนแรง, See also: อย่างสุดขั้ว, อย่างที่สุด, Syn. extremely |
angina pectoris | (n) อาการปวดอย่างรุนแรงบริเวณหัวใจที่แผ่จากหัวใจไปยังไหล่แล้วไปที่แขนข้างซ้ายหรือจากหัวใจไปที่ท้อง |
appassionato | (adj) มีอารมณ์รุนแรง (ทางดนตรี), Syn. impassioned |
ardent | (adj) ร้อนแรง, See also: รุนแรง, เร่าร้อน, Syn. passionate, fervent, impassioned |
ardor | (n) อารมณ์ที่รุนแรง, Syn. passion, fervor |
ardour | (n) อารมณ์ที่รุนแรง |
astringent | (adj) ที่รุนแรง, Syn. harsh, bitter |
add fuel to the flames | (idm) ทำให้รู้สึกรุนแรงยิ่งขึ้น |
backlash | (n) การสะท้อนกลับอย่างรุนแรง, See also: การกระตุก, ปฏิกิริยารุนแรงฉับพลัน, Syn. backfire |
backlash | (n) ปฏิกิริยาที่รุนแรงและไม่เอื้อประโยชน์ (ทางด้านการพัฒนาของสังคมและการเมือง), Syn. revolt |
badly | (adv) รุนแรง, Syn. severely, extremely |
bad-tempered | (adj) อารมณ์เสีย, See also: โมโหรุนแรง, Syn. petulant, Ant. mild-tempered |
banditry | (n) การขโมยและก่อความรุนแรงของผู้ร้าย |
bash | (vt) วิจารณ์อย่างรุนแรง |
baste | (vt) ทุบตีอย่างรุนแรง, See also: ทุบ, นวด, ตี, Syn. beat |
battering | (n) การทุบตีอย่างรุนแรง |
blaze | (vi) (ดวงตา)ส่องแสงจ้าเนื่องจากมีอารมณ์รุนแรง |
blitz | (n) การโจมตีทางอากาศอย่างรวดเร็วและรุนแรง, Syn. bombardment, attack |
blitz | (vt) โจมตีทางอากาศอย่างรวดเร็วและรุนแรง, See also: ี, Syn. bombard |
brunt | (n) ผลกระทบที่รุนแรง, Syn. impact |
brunt | (n) ความหนักหน่วง, See also: ความรุนแรง |
brunt | (n) การโจมตีอย่างรุนแรง, Syn. attack |
brutal | (adj) โหดร้าย, See also: รุนแรง, Syn. cruel, Ant. kindly |
bust-up | (n) การโต้เถียงรุนแรง |
be for the high jump | (idm) ได้รับการลงโทษอย่างรุนแรง (คำไม่เป็นทางการ), See also: โดนลงโทษหนัก |
be hard on | (phrv) ปฏิบัติกับ (บางคน) อย่างหยาบคายมาก, See also: กระทำรุนแรงกับ, เลวร้ายกับ |
bear down on | (phrv) ลงโทษอย่างรุนแรง, See also: ลงโทษอย่างหนัก |
bear down upon | (phrv) ลงโทษอย่างรุนแรง, See also: ลงโทษอย่างหนัก |
beat up | (phrv) ตีจนบาดเจ็บอย่างรุนแรง, Syn. bash up, do over, work over |
blaze down | (phrv) เผาไหม้อย่างรุนแรง, See also: เผาเป็นจุณ |
blaze up | (phrv) กระพือ (ความโกรธ, ความรุนแรง, ความร้อน), See also: ลุกโชน, ลุกโชติช่วง, Syn. burn up, flame out, flame up, flare up |
blow up | (phrv) มากขึ้น, See also: รุนแรงขึ้น, ปะทุขึ้น |
buck off | (phrv) (ม้า) กระโดดรุนแรงจนทำให้ผู้ขี่ตกลงมา |
bully into | (phrv) ขู่ให้กลัวหรือใช้ความรุนแรงอื่นเพื่อต้องการให้ทำบางสิ่ง, See also: ขู่เข็ญ, ทำให้หวาดกลัว |
castigate | (vt) วิพากษ์วิจารณ์อย่างรุนแรง, Syn. chasten, chastise, objurgate |
cataclysm | (n) การเปลี่ยนแปลงที่รุนแรง (โดยเฉพาะทางสังคมหรือการเมือง) |
cataclysm | (n) การเปลี่ยนแปลงที่รุนแรงของเปลือกโลก, Syn. catastrophe |
catastrophe | (n) การเปลี่ยนแปลงอย่างรุนแรงของเปลือกโลก, Syn. cataclysm |
catfight | (n) การโต้เถียงอย่างรุนแรง (โดยเฉพาะระหว่างผู้หญิง), Syn. quarrel |
catharsis | (n) การปลดปล่อยอารมณ์ที่รุนแรง (โดยอาจได้รับอิทธิพลจากละครหรือเพลง) เพื่อให้อารมณ์นั้นอ่อนลง |
censure | (vi) วิจารณ์อย่างรุนแรง, Syn. criticize |
access | (แอค' เซส) n. ทางเข้า, การเข้าไปได้, วิธีเข้า, อารมณ์รุนแรงและกระทันหัน, Syn. way |
acerbity | (อะเซอ' บิที) n. รสเปรี้ยวและฝาด, ความรุนแรง, Syn. harshness, sourness |
acid | (แอส' ซิด) adj., n. กรด, เปรี้ยว, รุนแรง, ฉุนเฉียว, สิ่งที่เปรี้ยว, LSD. -acidly adv. |
acidulous | (อะซิด' ดิวลัส) adj. ค่อนข้างเปรี้ยว, รุนแรง, ทารุณ, เป็นกรดปานกลาง. -acidulent adj. |
acrid | (แอค' ริด) adj. (กลิ่นหรือรส) รุนแรง, ฉุน, เผ็ด, ซึ่งกัดกร่อน, เหี้ยม, แสบตาหรือจมูก. |
acrimonious | (แอคริดโม' เนียส) adj. รุนแรง, เผ็ดร้อน, ดุเดือด. -acrimoniousness n., Syn. sharp, biting, Ant. kind, soft, gentle |
acrimony | (แอค'ริโมนี) n. ความรุนแรง, ความดุเดือด, ความเหี้ยม, Syn. acerbity |
acuity | (อะคิว' อิที) n. ความหลักแหลม, ความคม, ความรุนแรง, ความคมกริบ, ความชัดเจน |
aculeate | (อะคิว' ลีเอท) adj. มีส่วนที่แหลม, มีเดือยหรือเล็บแหลม, มีหนาม, รุนแรง, ดุเดือด, หลักแหลม (pointed, stinging, aculeated) |
acute | (อะคิวทฺ') adj. แหลม, คม, รุนแรง, เข้มข้น, เหี้ยม, เฉียบแหลม, มีไหวพริบดี, ไว, มีมุมนแหลม, ตาคมกริบ, ร้ายแรง, เสียงสูง. -acuteness n., Syn. keen, intense, Ant. dull, mild |
aggravate | (แอก' ระเวท) vt. ทำให้เลวขึ้นหรือรุนแรงขึ้น, รบกวน, ทำให้ระคายเคือง, ทำให้โมโห. -aggravatingly adv. -aggravative adj. -aggravator n. -aggravation n. |
agony | (แอก' โกนี่) n., (pl. -nies) การทนทุกข์ทรมาน, ความเจ็บปวดยิ่ง, ความปวดร้าวทรมาน, อาการดิ้นรนก่อนตาย, การต่อสู้ที่รุนแรง |
ahimsa | (อะฮิม' ซา, อะฮีง' ซา) อหึงสา, หลักปฏิบัติของฮินดูที่ไม่ยึดถือความรุนแรง |
amain | (อะเมน') adv. เติมกำลัง, ด้วยความเร็วเต็มที่, ทันที, ฉับพลัน, รีบร้อน, ดุเดือด, รุนแรง |
anathema | (อะแนธ' ธีมะ) n. บุคคลหรือสิ่งที่คนสาปแช่งหรือเกลียด, การขับไล่ออกจากศาสนา, การสาปแช่ง, การประณามอย่างรุนแรง. -anathema tic (al) adj., Syn. curse, execration, Ant. blessing, approval |
angina pectoris | (-เพค' โทริส) n. อา-การปวดอย่างรุนแรงที่บริเวณหัวใจ ที่แผ่จากหัวใจไปที่ไหล่แล้วไปที่แขนซ้าย หรือจากหัวใจไปที่ท้อง |
anguish | (แอง' กวิช) n. อาการปวดอย่างรุนแรง, อาการทนทุกข์ทรมานมาก, อาการกลัดกลุ้มมาก |
appasionato | (อะพาซีโอเน'โท) adj. มีอารมณ์รุนแรง (ทางดนตรี) (impassioned) |
ardent | (อาร์'เดินทฺ) adj. มีอารมณ์เร่าร้อน, กระตือรือร้น, รุนแรง (zealous, passionate) |
asperity | (อัสเพอ'ริที) n. ความหยาบ, ความไม่ละมุนละม่อม, ความรุนแรง (อากาศ) , ความลำบาก, Syn. crossness, Ant. smoothness |
assault | (อะซอลทฺ') n. การโจมตีอย่างรุนแรง, การจู่โจม, การข่มขืน, การทำลาย (ชื่อเสียง) -vt. โจมตี, จู่โจม, ทำลาย, ข่มขืน -assaulter n., Syn. attack, abuse, rape |
astringent | (แอสทริน'เจินทฺ) adj. หดตัว, รัดแน่น, สมาน, เฉียบขาด, เข้มงวด, รุนแรง -n. ยาฝาดสมาน, ยาสมานแผล, ยาห้ามเลือด. -astringency n., Syn. contractile, constrictive |
baste | (เบสทฺ) { basted, basting, bastes } vt. เย็บสอย, ทำให้ชื้น, เอาไขมันทา, ตีด้วยไม้, ตีแรง, ด่าอย่างรุนแรง, Syn. strike |
belly laugh | n. การหัวเราะอย่างรุนแรง, การหัวเราะท้องแข็ง |
berate | (บิเรท') { berated, berating, berates } vt. ด่า, ตำหนิอย่างรุนแรง |
bitter | (บิท'เทอะ) { bittered, bittering, bitters } adj. ขม, ขมขื่น, เผ็ดร้อน, ปวดแสบ, รุนแรง, ดุเดือด, จัด, หนาวจัด, สาหัส, อาฆาต n. ความขม, สิ่งที่รสขม vt. ทำให้ขม adj. ยิ่ง, จัด, มาก, รุนแรง, See also: bitterish adj. ดูbitter -bitterness n. ดูbitter คำที่มีความหมาย |
blaze | (เบลซ) { blazed, blazing, blazes } n. ไฟที่ลุกโชติช่วง, ความสว่างโชติช่วง, เปลวไฟ, ลำแสงเจิดจ้า, ความแวววาว, การระเบิดออก, จุดขาวด่างบนใบหน้าสัตว์, ร่องรอยตามต้นไม้ vi. สว่างช่วงโชติ, ลุกโพลง, ลุกไหม้เป็นเปลวไฟ, เปล่งแสงเจิดจ้า, ประทุ, ระเบิด, มีอารมณ์รุนแรง, ยิงอย่างไม่หย |
blowup | (โบล'อัพ) n. การระเบิด, การถกเถียงอย่างรุนแรง, อารมณ์ระเบิด, การขยายออก, Syn. explosion |
bolshevik | (บอล'ชะ วิค) n. พวกสังคมนิยมที่เข้าปกครองรัสเซียตั้งแต่ปี ค.ศ.1917, สมาชิกพรรคคอมมิวนิสต์ของรัสเซีย, สมาชิกพรรคคอมมิวนิสต์, ผู้ที่มีหัวรุนแรง, See also: bolshevism n. ดูBolshevik Bolshevism n. ดูBolshevik Boshevist n. ดูBolshevik bolshevistic |
broadside | n. ข้างเรือทั้งหมด, ปืนเรือทั้งหมดของข้างหนึ่งของเรือ, การโจมตีหรือวิจารณ์อย่างรุนแรง, ยกหน้าเดียว adj., vi. เอาด้านกว้างกว่าเข้าหา, Syn. volley |
brunt | (บรันทฺ) n. แรงกดดันที่หนักที่สุด, ส่วนหนักที่สุดที่ได้รับหรือกระทบ, การโจมตีอย่างรุนแรง |
canvass | (แคน'เวิส) { canvassed, canvassing, canvasses } vt., vi., n. (การ) ตรวจสอบอย่างละเอียด, หาเสียง, ออกเที่ยวชักชวน, อภิปรายอย่างละเอียด, วิจารณ์อย่างรุนแรง, See also: canvasser n. ดู canvass, Syn. examine, survey |
castigate | (แคส'ทิเกท) { castigated, castigating, castigates } vt. ทำโทษเพื่อดัดสันดาน, วิจารณ์อย่างรุนแรง, See also: castigation n. ดูcastigate castigator n. ดูcastigate |
cataclysm | (แคท'ทะคลิซ'ซึม) n. การเปลี่ยนแปลงที่รุนแรง (โดยเฉพาะทางการเมืองและสังคม) , ความเกลียด, ความหายนะ., See also: cataclysmic adj, ดูcataclysm cataclysmal adj. ดูcataclysm, Syn. disaster |
censorious | (เซนซอ'เรียส) adj. วิพากษ์วิารณ์อย่างรุนแรง, จับผิด, หาเรื่อง, See also: censoriousness n., Syn. critical |
censure | (เซน'เชอะ) vt., vi., n. (การ) ตำหนิ, ติเตียน, ด่า, ว่า, วิจารณ์อย่างรุนแรง, See also: censurer n., Syn. reproach |
chance-medley | n. การทะเลาะกันอย่างรุนแรงที่เกิดขึ้นโดยทันใด |
chauvinism | (โช'วะนิซซีม) n. การแสดงความรักชาติอย่างรุนแรงที่ชอบต่อสู้วิวาท, การยึดถืออุดมการณ์อย่างอคติ, See also: chauvinist n. chauvinistic adj. |
clamorous | (แคลม'เมอรัส) adj. อึกทึก, อลหม่าน, เสียงดัง, รุนแรง, See also: clamorousness n. ดูclamorous, Syn. noisy, Ant. quiet |
clemency | (เคลม'เมินซี) n. ความมีใจเมตตากรุณาปรานี, ความไม่รุนแรง, การผ่อนผัน, ภาวะเย็นสบาย, ความอำนวย, Syn. leniency |
clement | (เคลม'เมินทฺ) adj. เมตตากรุณา, ผ่อนผัน, ไม่รุนแรง, เย็นสบาย, อำนวย, Syn. mild |
clinch | (คลินชฺ) v., n. (การ) ตอกติด, ยึดติด, กำหนดแน่นอน, โอบกอด, กอดจูบอย่างรุนแรง, Syn. clench |
clip | (คลิพฺ) { clipped, clipping, clips } v., n. (การ) ตัด, ตัดออก, ตัดให้สั้น, ตัดเล็บ, ย่อ, ต่อยอย่างแรงและรวดเร็ว, ตีอย่างรุนแรง, หนีบ, กลัด, โอบล้อม, กระโดดหนีบขาไว, สิ่งที่ตัดออก, เครื่องหนีบ, ที่หนีบ, เหล็กหนีบ, เข็มกลัด, เครื่องกลัด, See also: clips n., pl. กรรไกร, เคร |
convulse | (คันวัลสฺ') { convulsed, convulsing, convulses } vt. สั่นสะเทือนอย่างรุนแรง, ทำให้สั่นสะเทือนอย่างรุนแรงด้วยการหัวเราะ (ความโกรธ ความเจ็บปวด หรืออื่น ๆ) , ทำให้กล้ามเนื้อเกร็งตัวอย่างรุนแรง, ทำให้ชัก |
convulsion | (คันวัล'เชิน) n.อาการชักกระตุก, การหดเกร็งของกล้ามเนื้ออย่างรุนแรง, การสั่นอย่างรุนแรง, การหัวเราะท้องแข็ง, Syn. fit, spasm, tremor |
convulsive | (คันวัล'ซิฟว) adj. เกี่ยวกับมีลักษณะอาการหดเกร็งของกล้ามเนื้ออย่างรุนแรง, เกี่ยวกับอาการชักกระตุก., See also: convulsiveness n. ดูconvulsive, Syn. fifful, jerky |
crackdown | (แครค'คาวน์) n. การลงโทษอย่างรุนแรง, การปราบปรามอย่างรุนแรง, Syn. discipline |
craving | (เคร'วิง) n. ความกระหายมาก, ความอยากได้มาก, ความเงื่อน, ความปรารถนาอย่างรุนแรง, Syn. desire, lust |
crucial | (ครู'เชิล) adj. เด็ดขาด, ซึ่งชี้ขาด, รุนแรง, ถึงพริกถึงขิง, เกี่ยวกับความเป็นความตาย, เป็นรูปกากบาทหรือรูปกางเขน, Syn. critical |
crucible | (ครู'ซิเบิล) n. เบ้าหลอม, การทดสอบที่รุนแรง, การทดสอบน้ำใจ |
acid | (adj) เปรี้ยว, ฉุนเฉียว, สาหัส, รุนแรง |
acuity | (n) ความหลักแหลม, ความเฉียบแหลม, ความชัดเจน, ความรุนแรง |
acute | (adj) เก่ง, เฉียบแหลม, มีไหวพริบ, สาหัส, รุนแรง, ฉับพลัน |
aggravate | (vt) ทำให้เลวลง, ทำให้รุนแรงขึ้น, ทำให้ร้ายแรงขึ้น |
aggravation | (n) การทำให้ร้ายแรงขึ้น, การทำให้รุนแรงขึ้น |
amain | (adv) เต็มที่, เต็มกำลัง, รุนแรง, ดุเดือด, ทันที, ฉับพลัน |
ardent | (adj) เร่าร้อน, รุนแรง, กระตือรือร้น, ขะมักเขม้น |
asperity | (n) ความรุนแรง, ความหยาบ, ความกระด้าง |
bitter | (adj) ขมขื่น, ปวดแสบ, รุนแรง, ดุเดือด |
bitterness | (n) ความขม, ความขมขื่น, ความรุนแรง |
broadside | (n) การวิจารณ์อย่างรุนแรง, กระดาษพิมพ์หน้าเดียว |
clement | (adj) ไม่ถือโทษ, ผ่อนผัน, เมตตากรุณา, ไม่รุนแรง |
crucial | (adj) สำคัญมาก, เกี่ยวกับความเป็นความตาย, ถึงพริกถึงขิง, รุนแรง, ร้ายแรง |
depth | (n) ความลึก, ความลึกซึ้ง, ความเข้มข้น, ความรุนแรง, ส่วนลึก |
drastic | (adj) เข้มงวด, ดุเดือดมาก, รุนแรง, สุดขีด |
extreme | (n) ตอนปลาย, ที่สุด, ความสูงสุด, ความรุนแรงเกินไป |
extremist | (n) พวกหัวรุนแรง |
extremity | (n) ปลาย, ความรุนแรงเกินไป, ความสุดขีด |
ferocious | (adj) ดุร้าย, โหดร้าย, ทารุณ, ป่าเถื่อน, รุนแรง |
feud | (n) การพิพาทอย่างรุนแรง, ความพยาบาท, ความอาฆาต, การทะเลาะวิวาท |
fiery | (adj) เหมือนไฟ, ซึ่งลุกเป็นไฟ, ร้อนเป็นไฟ, เผ็ดร้อน, รุนแรง |
frantic | (adj) ตื่นเต้นมาก, คลั่ง, โวยวาย, ฟั่นเฟือน, บ้า, มีอารมณ์รุนแรง |
furious | (adj) โกรธ, บ้าระห่ำ, ทำเสีย, มีอารมณ์รุนแรง |
fury | (n) ความโมโห, ความรุนแรง, ความหน้าเลือด, ความโกรธ, ความเดือดดาล |
grave | (adj) เอาการเอางาน, เอาจริงเอาจัง, หนัก, มหันต์, สำคัญ, ร้ายแรง, รุนแรง |
graveness | (n) ความเอาการเอางาน, ความขึงขัง, ความสำคัญ, ความรุนแรง, ความร้ายแรง |
hard | (adj) หนัก, ยาก, ลำบาก, รุนแรง, แข็ง, ทรหด, แน่น |
hardness | (n) ความยาก, ความทรหด, ความหนัก, ความแข็ง, ความรุนแรง |
harsh | (adj) ดุร้าย, เกรี้ยวกราด, รุนแรง, หยาบ, ห้าว, ปร่า, สาก |
harshness | (n) ความดุร้าย, ความเกรี้ยวกราด, ความรุนแรง, ความหยาบ, ความห้าว |
heady | (adj) มึนเมา, มุทะลุ, ผลุนผลัน, รุนแรง |
heat | (n) ความร้อน, ความเผ็ดร้อน, ความเร่าร้อน, ความรุนแรง, อุณหภูมิ |
heavy | (adj) หนัก, รุนแรง, ทึบ, สงัด, หนา, มืดมัว, ดก, คับคั่ง, เพียบ |
high | (adj) สูง, สำคัญ, เลิศ, รุนแรง, เต็มที่, ยิ่ง, เป็นหัวหน้า |
mightily | (adv) อย่างมีอำนาจมาก, อย่างมหึมา, อย่างพิลึก, รุนแรง, อย่างมีกำลัง |
moderation | (n) การสงบใจ, ความรู้จักประมาณ, ความไม่รุนแรง |
modest | (adj) สุภาพ, ถ่อมตัว, สงบเสงี่ยม, ไม่รุนแรง, ขี้อาย, พอประมาณ |
pacifism | (n) ลัทธิอหิงสา, ลัทธิต่อต้านความรุนแรง |
pacifist | (n) ผู้รักสันติภาพ, ผู้ต่อต้านความรุนแรง |
poignancy | (n) ความแหลม, ความเจ็บปวด, ความสาหัส, ความรุนแรง |
poignant | (adj) แหลม, เจ็บปวด, สาหัส, รุนแรง, เผ็ดร้อน, ฉุน |
pungency | (n) ความแหลมคม, ความเผ็ดร้อน, ความแสบ, ความฉุน, ความรุนแรง |
pungent | (adj) แหลมคม, เผ็ดร้อน, แสบ, ฉุน, รุนแรง, จัด |
rabid | (adj) บ้า, บ้าคลั่ง, รุนแรง, วิกลจริต |
radical | (adj) สุดขีด, รุนแรง, ลึกซึ้ง, เป็นรากฐาน, เป็นรากศัพท์ |
radicalism | (n) ลัทธินิยมความรุนแรง |
rant | (vi) พูดจาโผงผาง, พูดรุนแรง, คุยโว |
RED-red-hot | (adj) โกรธ, ร้อนจัด, รุนแรง, ตื่นเต้นมาก, สด, ใหม่ |
rigorous | (adj) รุนแรง, เข้มงวด, กวดขัน, แม่นยำ |
rigour | (n) ความรุนแรง, ความเข้มงวด, ความกวดขัน |