สังเขป | (adv) in brief, See also: in short, briefly, shortly, concisely, Syn. ย่อ, สรุป, รวบรัด, Example: เขาเล่าเรื่องนี้ให้ผมฟังโดยสังเขป |
พอสังเขป | (adv) briefly, See also: roughly, in brief, Syn. โดยย่อ, โดยสังเขป, Ant. ละเอียด, Example: ต่อไปนี้จะขอเสนอภูมิหลังเกี่ยวกับการค้าระหว่างไทยกับสหรัฐพอสังเขป |
โดยสังเขป | (adv) briefly, See also: in brief, concisely, Syn. อย่างสังเขป, โดยสรุป, สรุป, อย่างย่อๆ, Ant. โดยละเอียด, Example: กล่าวโดยสังเขป การออกกำลังกายควรเหมาะสำหรับคนแต่ละวัย |
สาระสังเขป | (n) abstract, Syn. บทคัดย่อ, Example: หนังสือที่ระลึกนี้ได้รวบรวมสาระสังเขปของบทความวารสารทั่วโลกด้านธุรกิจและการจัดการไว้, Thai Definition: เนื้อหาโดยย่อ, ใจความทั้งหมดโดยย่อ |
อย่างสังเขป | (adv) briefly, See also: shortly, Syn. อย่างย่อๆ, อย่างคร่าวๆ, Example: ผู้เขียนเล่าภูมิหลังเกี่ยวกับการค้าระหว่างไทยกับสหรัฐอย่างสังเขปผู้เขียนเล่าภูมิหลังเกี่ยวกับการค้าระหว่างไทยกับสหรัฐอย่างสังเขป |
Abstract | สาระสังเขป [เทคโนโลยีการศึกษา] |
Informative abstract | สาระสังเขปให้ความรู้ [เทคโนโลยีการศึกษา] |
Abstract bulletin | วารสารสาระสังเขป [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Abstract journal | วารสารสาระสังเขป [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Abstract periodical | วารสารสาระสังเขป [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Abstracting and indexing service | บริการสาระสังเขปและดัชนี, Example: <p>บริการสาระสังเขปและดัชนี เป็นบริการสารสนเทศประเภทหนึ่ง ที่ห้องสมุดหรือสถาบันบริการสารสนเทศจัดให้มีขึ้นเพื่อให้บริการแก่ผู้ใช้บริการ <p>สาระสังเขปและดัชนี หมายถึง การย่อเนื้อหาหรือสาระสำคัญของเอกสารในรูปแบบที่สั้นและมีความถูกต้อง ช่วยให้ผู้อ่านเข้าใจ และได้เนื้อหาข้อมูลที่เป็นประโยชน์ สามารถวิเคราะห์เนื้อหาของเอกสารฉบับนั้นว่าตรงกับความต้องการหรือไม่ และมีความจำเป็นหรือไม่ที่ต้องไปอ่านเอกสารต้นฉบับนั้นอย่างละเอียดอีกครั้ง <p>ดัชนี (Index) หมายถึง คำ วลี ข้อความ หรือคำศัพท์ที่กำหนดขึ้น เพื่อใช้เป็นตัวแทนของสารสนเทศ เป็นเครื่องมือชี้นำผู้ใช้ไปยังข้อมูลหรือแหล่งข้อมูลตามที่ผู้ใช้ต้องการ <p>สาระสังเขปหรือบทคัดย่อ (Abstract) คือ เนื้อเรื่องย่อหรือสาระสำคัญที่เป็นตัวแทนของเอกสาร โดยมีรูปแบบที่สั้น กะทัดรัด และมีความถูกต้อง แม่นยำ สาระสังเขปจะมุ่งเน้นถึงสาระสำคัญตามลำดับเนื้อหาของเอกสารต้นฉบับ ซึ่งส่วนใหญ่จะเป็นบทความจากเอกสารวิชาการในสาขาวิชาต่าง ๆ โดยเฉพาะสาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี รายงานการศึกษาวิจัย รายงานการประชุมสัมมนา สิทธิบัตร ตลอดจนสิ่งพิมพ์อื่น ๆ ที่มีความสำคัญและเข้าถึงได้ยาก สาระสังเขปจะต้องมีความครบถ้วนสมบูรณ์ในตัวเอง และให้รายละเอียดทางบรรณานุกรม เพื่อให้ผู้ใช้สามารถค้นคว้าจากเอกสารต้นฉบับได้ <p>ลักษณะของสาระสังเขปที่ดี คือ มีความสั้น กะทัดรัด กระชับ มีความถูกต้องแม่นยำ มีความชัดเจนและสมบูรณ์ในตัวเอง และมีการยึดถือข้อเท็จจริง โดยไม่เสนอความคิดเห็นส่วนตัวหรือประเมินคุณค่าในการทำสาระสังเขป ผู้เขียนต้องคัดเลือกหรือเรียบเรียงเนื้อหาสาระตามเอกสารต้นฉบับ <p>สาระสังเขปที่สมบูรณ์ประกอบด้วยส่วนสำคัญ 3 ส่วน คือ ส่วนอ้างอิง ส่วนเนื้อหา และส่วนชื่อผู้เขียนสาระสังเขป <p>ความสำคัญของสาระสังเขป คือ การช่วยเสริมให้ดัชนีและบรรณานุกรมมีคุณค่ามากขึ้น โดยการจัดทำสาระสังเขปไว้ที่ท้ายรายการข้อมูลทางบรรณานุกรมในแต่ละรายการ เป็นการเพิ่มเนื้อเรื่องย่อให้ผู้ใช้สามารถอ่านเพื่อพิจารณาตัดสินใจได้รวดเร็วขึ้น <p>สมาคมวิชาชีพที่จัดทำสาระสังเขปและดัชนี เช่น National Federation of Abstracting and Information Services (NFAIS), USA เป็นองค์กรรวมหน่วยงานที่ให้บริการจัดทำสาระสังเขปและดัชนี <P>ตัวอย่างสารสนเทศ ที่จัดอยู่ในบริการสาระสังเขปและดัชนี เช่น <p>1. วารสารสาระสังเขปทางเคมี : Chemical Abstract (CA) จัดทำโดย American Chemical Society (ACS), USA <p>2. ดัชนีทางด้านสาขาวิชาวิศวกรรมศาสตร์ : EI : Compendex (Engineering Index) จัดทำโดย American Society of Mechanical Engineers (ASME), USA <p>3. ดัชนีทางด้านสาขาวิชาแพทยศาสตร์ : Index Medicus จัดทำโดย National Library of Medicine (NLM), USA <p>บรรณานุกรม <p>มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. (2546). เอกสารการสอนชุดวิชาการวิเคราะห์สารสนเทศ : Information analysis หน่วยที่ 12-15. นนทบุรี : โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Indicative abstract | สาระสังเขปชี้แนะ, Example: Indicative abstracts หรือ descriptive abstracts = สาระสังเขปประเภทพรรณนา หมายถึง สาระสังเขปที่เขียนอย่างสั้นๆ เพื่อแนะนำผู้อ่านให้ทราบถึงบทความที่มีอยู่ เพื่อให้ผู้อ่านตัดสินใจว่าต้องการอ่านจากต้นฉบับหรือไม่ <p>ตัวอย่าง สาระสังเขปประเภทชี้แนะ <p>เอกสารฉบับนี้รายงานรายละเอียดของการประชุมเชิงปฏิบัติการภูมิภาค เรื่อง โครงสร้างและวิธีนวัตกรรมสู่ประชากรศึกษา ซึ่งจัดโดยองค์การยูเนสโกในภูมิภาคเอเชียและแปซิฟิก ที่กรุงนิวเดลี ระหว่างวันที่ 23-29 ตุลาคม ค.ศ. 1979 โดยมีผู้เข้าร่วมประชุม จำนวน 25 คน จาก 12 ประเภทในเอเชียและแปซิฟิก โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อช่วยให้ประเทศที่มีโครงการประชากรศึกษาได้แลกเปลี่ยนประสบการณ์ซึ่งกันและกัน รวมทั้งเพื่อช่วยให้ประเทศที่เริ่มมีประชากรศึกษา สัมมนาทางโครงสร้างทางเลือกด้านต่างๆ ของโครงการประชากรศึกษา ส่วนแรกของรายงานเป็นบทปริทัศน์และบทวิเคราะห์ของโครงสร้างและวิธีการนวัตกรรมที่แต่ละประเทศใช้อยู่ ตลอดจนข้อเสนอแนะของจตัวแบบและยุทธวิธีที่แต่ละประเทศสามารถนำไปใช้ได้ ส่วนที่สองของรายงานเป็นรายงานเฉพาะประเทศ และส่วนที่สาม เป็นภาคผนวก <p>รายการอ้างอิง <p>กุลธิดา บุญอิต. "การทำสาระสังเขป" ใน เอกสารการสอนชุดวิชา หน่วยที่ 12-15 การวิเคราะห์สารสนเทศฉบับปรับปรุง. พิมพ์ครั้งที่ 1. นนทบุรี : สาขาวิชาศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2546. [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Abstractor | ผู้ทำสาระสังเขป [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Informative abstract | สาระสังเขปประเภทให้ความรู้, สาระสังเขปให้ความรู้, Example: หมายถึง สาระสังเขปที่เขียนถึงประเด็นสำคัญๆ จุดเด่นของเนื้อเรื่อง และเป็นการย่อเรื่องให้ผู้อ่านทราบโดยกล่าวถึงบทความหรือต้นฉบับอย่างสมบูรณ์ เป็นสาระสังเขปที่ให้รายละเอียดมากกว่าสาระสังเขปประเภทพรรณนา <p>ตัวอย่างสาระสังเขปประเภทให้ความรู้ จาก ประชากรศึกษา : โครงสร้างและวิธีการนวัตกรรม : รายงานการประชุมเชิงปฏิบัติการภูมิภาค <p>เอกสารฉบับนี้ รายงานรายละเอียดของการประชุมเชิงปฏิบัติการภูมิภาค เรื่อง โครงสร้างและวิธีการนวัตกรรมสู่ประชากรศึกษา จัดโดยองค์การยูเนสโกในภูมิภาคเอเชียและแปซิฟิก ที่กรุงนิวเดลี ระหว่างวันที่ 23-29 ตุลาคม ค.ศ. 1979 มีผู้เข้าร่วมในการประชุม จำนวน 35 คน จาก 12 ประเทศในภูมิภาคเอเชียและแปซิฟิก การประชุมครั้งนี่้มีวัตถุประสงค์ดังต่อไปนี้ 1) เพื่อช่วยให้ประเทศที่มีโครงการประชากรศึกษาได้แลกเปลี่ยนประสบการณ์ซึ่งกันและกัน 2)เพื่อช่วยให้ประเทศที่เริ่มมีประชากรศึกษาสามารถวางโครงสร้าง วิธีการ ทางเลือกของนวัตกรรมเพื่อประสิทธิผลในการดำเนินการต้้านต่างๆ ของโครงการประชากรศึกษา รายงานนี้แบ่งออกเป็นสามส่วน ในส่วนแรกจะเป็นบทปริทัศน์และบทวิเคราะห์ของประสบการณ์ของประเทศต่างๆ ทางด้้านโครงการ และวิธีการนวัตกรรมประชากรเพื่อรับสนองโครงการทางประชากรศึกษา โดยจัดกลุ่มประสบการณ์ดังกล่าวภายใต้หัวข้อดังนี้ ก) การพัฒนาและวางแผนโครงการ ข) ความตื่นตัวและการปฐมนิเทศ ค) องค์การทางการบริหารของโครงการการศึกษาของทั้งระบบในและนอกโรงเรียน ทั้งนี้่โดยจัดแบ่งผู้เข้าอบรมเป็น 4 กลุ่มตามประสบการณ์ข้างต้น เพื่ออภิปรายในรายละเอียดของ 4 หัวข้อย่อยของโครงการ คือ (1) การพัฒนาโครงการและการวิจัยและประเมินผล (2) ความตื่นตัว การปฐมนิเทศ และการฝึกอบรม (3) การพัฒนาหลักสูตรและอุปกรณ์ และ (4) การประสานงานระหว่างหน่วยงาน นอกจากนี้ยังได้วิเคราะห์ความได้เปรียบเสียเปรียบ และปัญหาของโครงสร้างและวิธีการที่ใช้อยู่ในปัจจุบัน รวมทั้งเสนอแนะตัวแบบทางเลือก และแบบแผนของโครงการแต่ละหัวข้อ ส่วนที่สองของรายงานประกอบด้วย รายงานเฉพาะประเทศที่แต่ละประเทศได้บรรยายถึงสถานการณ์ประชากรและประสบการณ์นวัตกรรมของประชากรศึกษาของการศึกษาในและนอกโรงเรียน ส่วนที่สามเป็นภาคผนวก <p>กุลธิดา บุญอิต. "การทำสาระสังเขป" ใน เอกสารการสอนชุดวิชา หน่วยที่ 12-15 การวิเคราะห์สารสนเทศฉบับปรับปรุง. พิมพ์ครั้งที่ 1. นนทบุรี : สาขาวิชาศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2546. [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Abstract | บทคัดย่อ / สาระสังเขป เอกสารสิทธิบัตร [ทรัพย์สินทางปัญญา] |
Abstracting | การทำสาระสังเขป [เทคโนโลยีการศึกษา] |
Abstracts | สาระสังเขป [เทคโนโลยีการศึกษา] |
Automatic abstracting | การทำสาระสังเขปอัตโนมัติ [TU Subject Heading] |
Aide-memoire หรือ Memoire | แปลตามตัวอักษรว่า ช่วยความจำ เป็นหนังสือโต้ตอบทางการทูตประเภทหนึ่ง คือ บันทึกสังเขปของการเจรจาที่ได้กระทำกันเสร็จสิ้นแล้ว บันทึกช่วยจำเช่นนี้ไม่มีการกล่าวนำเป็นทางการและไม่มีการลงชื่อ ซึ่งจะมอบให้แก่กันเมื่อเสร็จการเจรจากันแล้ว ความมุ่งหมายของบันทึกนี้คือ เพื่อบันทึกข้อเท็จจริงไว้เป็นหลักฐานซึ่งผู้รับบันทึกทราบดีแล้วบันทึกช่วย จำก็คือ บันทึกสรุปการสนทนาทางการทูตอย่างไม่เป็นทางการ ระหว่างผู้แทนหรือพนักงานทางการทูตกับหัวหน้าหรือพนักงานของกระทรวงการต่าง ประเทศ จุดประสงค์ตามที่ชื่อบ่งอยู่แล้วว่า เป็นการสรุปประเด็นต่าง ๆ ในการสนทนาเพื่อเตือนความจำนั้นเอง ในทางปฏิบัติเจ้าหน้าที่ทางการทูตจะมอบบันทึกนี้ไว้กับกระทรวงการต่างประเทศ ในบันทึกนั้นบรรทัดแรกจะระบุว่าใครเป็นผู้ส่งและใครเป็นผู้รับบันทึก ผู้ส่งบันทึกจะต้องลงชื่อย่อกำกับบันทึกไว้ด้วยบันทึกช่วยจำอีกชนิดหนึ่ง เรียกว่า pro memoria โดยปกติภาษาที่ใช้ใน pro memoria จะมีลักษณะถ้อยคำเป็นทางการมากกว่า aide-memoire [การทูต] |
Abstracting and Indexing | สาระสังเขปและดรรชนี, การทำสาระสังเขปและดรรชนี [การแพทย์] |
Bibliography, Annotated | บรรณานุกรมพร้อมทั้งบรรณนิทัศน์สังเขป [การแพทย์] |
Course Description | เนื้อหาวิชาโดยสังเขป [การแพทย์] |
bibliography | (n) บรรณานุกรม, See also: รายชื่อหนังสือโดยสังเขป, Syn. bibliog. |
brief | (adj) โดยย่อ, See also: ย่อๆ, สั้นๆ, อย่างย่อ, อย่างสั้นๆ, โดยย่อ, โดยสังเขป, โดยสรุป, สรุป, Syn. concise, Ant. verbose |
in brief | (adv) โดยสังเขป, See also: อย่างสั้นๆ, อย่างย่อ, Syn. concisely, in short |
short | (adv) โดยสังเขป, See also: โดยย่อๆ |
succinct | (adj) สั้นกระชับ, See also: ซึ่งรวบรัดตัดความ, ห้วน, รวบรัด, สังเขป, Syn. brief, concise, terse |
summary | (adj) โดยสรุป, See also: โดยย่อ, โดยสังเขป, Syn. brief, concise, cut short |
tight | (adj) สั้นกระชับ, See also: กระชับ, สังเขป, ได้ใจความ, Syn. concise, terse |
vita | (n) ชีวประวัติโดยสังเขป, See also: ประวัติย่อ, Syn. vitae, curriculum vitae |
vitae | (n) ประวัติย่อ, See also: ชีวประวัติโดยสังเขป, Syn. vita |
curriculum vitae | n. (เคอริค'คิวลัม ไว'ที) n. ประวัติส่วนตัวโดยสังเขป., Syn. vita, vitae, -pl. curricula vitae |
outline | (เอาทฺ'ไลนฺ) n. เค้าโครง, รูปร่าง, สัณฐาน, เค้าหน้า, เส้นรอบนอก, ภาพคร่าว ๆ , แผนผังสังเขป, ต้นร่าง. vt. ร่างเค้าโครง, สรุปความ, See also: outlines n., pl. ส่วนที่สำคัญข้อความสำคัญ, Syn. sketch, plan, draw |
short | (ชอร์ท) adj. สั้น, เตี้ย, ต่ำ, ย่อ, ตื้น, ลุ่น, ห้วน, ระยะสั้น, สังเขป, ใกล้, ไม่นาน, ขาดแคลน, ขาด, ไม่ถึง, ไม่พอ, ไม่ดีพอ, อ่อน, น้อย, เปราะ, บอบบาง (เสียง) , ไม่เน้น, short of น้อยกว่า, เลวกว่า, ไม่เพียงพอ adv. กะทันหัน, ทันใดนั้นเอง, ฉับพลัน, สั้น ๆ , ย่อ ๆ , โดยสังเขป, ใกล้, ย่น, ไม่ถึง |
summary | (ซัม'มะรี) n. สรุป, ใจความสำคัญ, ใจความรวบรัด, บทความย่อ, สาระสำคัญ, จุด สำคัญ. adj. สรุป, รวบรัด, ใจความสำคัญ, โดยสังเขป, รวดเร็ว, โดยตรง., See also: summarily adv. summariness n., Syn. compendium, brief, condensation |
vita | (ไว'ทะ, ไว'ที) n. ชีวประวัติโดยสังเขป., Syn. curriculum vitae |
vitae | (ไว'ทะ, ไว'ที) n. ชีวประวัติโดยสังเขป., Syn. curriculum vitae |
condensation | (n) การกลั่น, การรวมตัว, การควบแน่น, การสังเขป |
condense | (vt) กลั่น, สังเขป, ทำให้กะทัดรัด, ทำให้สั้น, ย่อ |
outline | (vt) ร่าง, เขียนโครงร่าง, สรุปความ, สังเขปความ |
summary | (adj) สั้น, ย่อ, รวบรัด, โดยสังเขป, โดยตรง |