กรมท่า ๒ | (กฺรมมะ-) ว. สีขาบ, สีน้ำเงินแก่, เรียกว่า สีกรมท่า. |
กินปลี | น. ชื่อนกขนาดเล็กหลายชนิด วงศ์ย่อย Nectariniidae ในวงศ์ Nectariniidae ขนคลุมลำตัวสีเหลือบเป็นมัน ตัวผู้สีเข้มกว่าตัวเมีย ซึ่งส่วนใหญ่มีสีน้ำตาลอมเขียว ปากยาวเรียวโค้งลงเหมาะสำหรับดูดน้ำต้อยจากปลีกล้วย ดอกไม้ และจับแมลงกิน เช่น กินปลีอกเหลือง [ Nectarinia jugularis (Linn.) ] กินปลีหางยาวเขียว [ Aethopyga nipalensis (Hodgson) ] กินปลีท้ายทอยสีน้ำเงิน [ Hypogramma hypogrammicumMüller ]. |
กินเปี้ยว | น. ชื่อนกกระเต็นชนิด Halcyon chloris (Boddaert) ในวงศ์ Alcedinidae ปากแบนข้างสีดำปลายแหลม ขากรรไกรบนสีดำ ขากรรไกรล่างสีเทาอมชมพู ลำตัวด้านบนสีน้ำเงินแกมเขียว คอและท้องสีขาว หากินตามป่าชายเลน แต่อาจพบได้ในแหล่งน้ำจืดทั่วไป กินปูเปี้ยว ปลา และสัตว์เลื้อยคลานบางชนิด. |
ชนวน ๑ | (ชะ-) น. ชื่อหินชนิดหนึ่งเป็นแผ่นบาง ๆ ซ้อนติดกัน เนื้อแน่นและละเอียด มีสีต่าง ๆ กัน ตั้งแต่สีเทาไปจนถึงสีเทาแก่ สีดำ สีน้ำเงิน ที่มีสีแดง สีเขียว สีม่วง ก็มี |
ซาบะ | น. ชื่อปลาทะเลขนาดกลาง มี ๓ ชนิด คือ ชนิด Scomber australasicus Cuvier ชนิด S. japonicas Houttuyn และชนิด S. scombrus Linn. ในวงศ์ Scombridae ลำตัวกลมยาว เรียวไปทางคอดหาง ชนิดแรกมีลวดลายสีน้ำเงินเข้มเป็นเส้นทะแยงหยักเรียงขนานชิดกันเป็นระเบียบอยู่เหนือเส้นข้างตัว ที่ต่ำลงไปจนถึงท้องลวดลายจะแตกเป็นจุดประสีเทาจางกระจายอยู่ทั่วไป ส่วนชนิดที่ ๒ มีลวดลายหยิกหยักสีน้ำเงินจางกว่า และกินบริเวณเกือบถึงแนวกลางลำตัว ๒ ชนิดแรกเป็นปลาฝูง พบกระจายพันธุ์อยู่ในเขตมหาสมุทรแปซิฟิกและอินเดีย ชนิดที่ ๓ มีลายสีน้ำเงินเป็นริ้วขวางอยู่ครึ่งบนของลำตัว พบอยู่ในมหาสมุทรแอตแลนติกตอนเหนือและทะเลเมดิเตอร์เรเนียน. |
ดอกหมาก ๒ | น. ชื่อปลาน้ำจืดชนิด Raiamas guttatus (Day) ในวงศ์ Cyprinidae ลำตัวยาว เพรียว แบนข้างเล็กน้อย จะงอยปากแหลมยาวล้ำขากรรไกรล่าง ปากกว้าง ตาเล็กอยู่ค่อนไปทางปลายหัว เกล็ดเป็นแบบเกล็ดเรียบ เส้นข้างตัวพาดต่ำ ๆ ใกล้แนวสันท้อง ครีบหลังอยู่ท้ายแนวกึ่งกลางลำตัวและมีก้านครีบ ๙-๑๑ ก้าน ครีบก้นอยู่คล้อยไปข้างท้ายของลำตัวและมีก้านครีบ ๑๓-๑๔ ก้าน ครีบอกอยู่ใกล้แนวสันท้อง ส่วนครีบท้องอยู่ในแนวหน้าครีบหลัง ครีบหางเป็นแฉกลึก บริเวณข้างลำตัวมีจุดสีน้ำเงินดำเรียบเป็นแถวยาวในแนวระดับตา ต่ำลงไปเหนือส่วนท้องจะเป็นจุดประกระจายทั่วไป ครีบต่าง ๆ มีสีอมเหลือง แพนหางตอนล่างมีแถบสีดำพาดตามยาวอยู่ที่ขอบด้านใน พบในเขตต้นน้ำหรือแม่น้ำที่มีพื้นเป็นกรวดทรายน้ำไหลแรงในทุกภาค ขนาดยาวได้ถึง ๒๘ เซนติเมตร, นางอ้าว อ้าว หรือ อ้ายอ้าว ก็เรียก. |
ตะขาบ ๒ | น. ชื่อนกขนาดเล็กหลายชนิดหลายสกุล ในวงศ์ Coraciidae ปากใหญ่ แบนข้าง หัวใหญ่ ตัวป้อม มักเกาะตามสายไฟและกิ่งไม้แห้งเพื่อคอยโฉบจับแมลงหรือสัตว์เล็ก ๆ ตามพื้นดิน ตัวผู้เกี้ยวตัวเมียโดยการบินขึ้นไปในอากาศ แล้วม้วนตัวกลับลงมา ทำรังในโพรงไม้ ในประเทศไทยมี ๒ ชนิด คือ ตะขาบทุ่ง [ Coracias benghalensis (Linn.) ] ปากสีดำ หัวและปีกสีฟ้า ตัวสีนํ้าตาล และตะขาบดง [ Eurystomus orientalis (Linn.) ] ปากสีแดง ตัวสีน้ำเงินแกมเขียว, ขาบ ก็เรียก. |
ตำรวจหลวง | น. ข้าราชการในพระองค์ แต่งเครื่องแบบ สวมเสื้อนอก คอปิด กระดุม ๕ เม็ด นุ่งผ้าม่วงสีน้ำเงิน (หากแต่งเครื่องเต็มยศนุ่งผ้าม่วงเชิงมีลายดิ้นเงิน สวมเสื้อนอกคอตั้งสีม่วงเทา) สะพายกระบี่ สวมหมวกทรงประพาส มีหน้าที่รักษาพระองค์พระมหากษัตริย์และพระราชินี ณ ที่ประทับ และนำเสด็จเป็นชุดตามพระเกียรติยศในงานพระราชพิธีและพิธีด้วย เดิมเรียกว่า พระตำรวจหลวง. |
ทู ๒ | น. ชื่อปลาทะเลชนิด Rastrelliger brachysoma (Bleeker) ในวงศ์ Scombridae หัวท้ายเรียว ลำตัวแบนข้าง เกล็ดเล็กบาง ด้านหลังสีน้ำเงินอมเขียว ปากกว้างเอียงขึ้นเล็กน้อย มีครีบหลัง ๒ ตอน ตอนที่ ๒ อยู่ตรงข้ามกับครีบก้น โดยต่างก็มีครีบย่อย ๕ อัน เรียงต่ออยู่ข้างท้าย ชิดโคนครีบหลังตอนแรกมีจุดสีดำ ๓-๖ จุด เรียงอยู่ ๑ แถว ข้างท้องสีขาวเงิน คอดหางแคบ อาศัยรวมกันเป็นฝูงใหญ่ใกล้ผิวนํ้า. |
ธงชาติ ๒, ธงชาติไทย | น. ธงที่มีความหมายถึงประเทศไทยและชาติไทย มีลักษณะเป็นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า กว้าง ๖ ส่วน ยาว ๙ ส่วน ด้านกว้างแบ่งเป็น ๕ แถบตลอดความยาวของผืนธง ตรงกลางเป็นแถบสีนํ้าเงินแก่กว้าง ๒ ส่วน ต่อจากแถบสีนํ้าเงินแก่ออกไปทั้ง ๒ ข้างเป็นแถบสีขาวกว้างข้างละ ๑ ส่วน ต่อจากแถบสีขาวออกไปทั้ง ๒ ข้างเป็นแถบสีแดงกว้างข้างละ ๑ ส่วน ธงชาตินี้เรียกอีกอย่างหนึ่งว่า “ธงไตรรงค์” โดยสีแดงหมายถึงชาติ สีขาวหมายถึงศาสนา และสีน้ำเงินหมายถึงสถาบันพระมหากษัตริย์. |
เบญจโลหะ | น. โลหะ ๕ ชนิด คือ เหล็ก ๑ ปรอท ๑ ทองแดง ๑ เงิน ๑ และทองคำ ๑, ถ้าเติมอีก ๒ ชนิด คือ เจ้า ๑ (เป็นคำตัดมาจาก “เจ้าน้ำเงิน” ว่าเป็นแร่ชนิดหนึ่งสีเขียวเป็นสีน้ำเงิน) และสังกะสี ๑ เรียกว่า สัตโลหะ, ถ้าเติมอีก ๒ ชนิด คือ ชิน ๑ และบริสุทธิ์ ๑ (คือ ทองแดงบริสุทธิ์) เรียกว่า นวโลหะ (ตำราสร้างพระพุทธรูป). |
พริก ๓ | (พฺริก) น. ชื่องูพิษขนาดเล็กถึงขนาดกลาง ในสกุล Maticora วงศ์ Elapidae ลำตัวเรียวยาว ตากลมเล็กสีดำ มีเส้นสีขาวพาดตามความยาวลำตัว มักพบซ่อนตัวอยู่ใต้ก้อนหินหรือขอนไม้ กินงู กิ้งก่า กบ เขียด ในประเทศไทยพบ ๒ ชนิด คือ พริกท้องแดง [ M. bivirgata (Boie) ] ตัวสีน้ำเงินเข้ม หัว ท้อง และหางสีแดงสด ยาวประมาณ ๑.๔ เมตร และพริกสีนํ้าตาล [ M. intestinalis (Laurenti) ] ตัวสีน้ำตาล หัวสีน้ำตาลส้ม ท้องมีลายเป็นปล้องสีดำสลับขาว ใต้หางมีสีแดงเรื่อ ๆ ยาวประมาณ ๕๐ เซนติเมตร ทั้ง ๒ ชนิดพบทางภาคใต้ของประเทศไทย. |
ฟ้า | ว. สีน้ำเงินอ่อนอย่างสีท้องฟ้าในเวลามีแดด เรียกว่า สีฟ้า. |
ม่วง ๑ | ว. สีน้ำเงินปนแดง, ถ้าออกครามเรียก สีม่วงคราม, ถ้าออกแดงเรียก สีม่วงชาด, ถ้าเจือขาวเรียก สีม่วงอ่อน, เรียกผ้าไหมสำหรับผู้ชายนุ่งที่มีสีอย่างนั้นหรือสีอย่างอื่น ว่า ผ้าม่วง. |
ยีน | น. ผ้าฝ้ายเนื้อหนาหยาบ มักย้อมสีน้ำเงิน. |
ยูงอินเดีย | น. ชื่อนกขนาดใหญ่ชนิด Pavo cristatus Linn. ในวงศ์ Phasianidae ลักษณะทั่วไปคล้ายนกยูงไทย แต่หงอนขนบนหัวแผ่เป็นรูปพัด หนังข้างแก้มสีขาว ขนส่วนคอและอกด้านบนสีน้ำเงิน กินเมล็ดพืช แมลง และสัตว์ขนาดเล็ก เป็นนกที่นำเข้ามาในประเทศไทย มีถิ่นกำเนิดในประเทศอินเดีย. |
ลัง ๒ | น. ชื่อปลาทะเลชนิด Rastrelliger kanagurta (Cuvier) ในวงศ์ Scombridae รูปร่างและลักษณะทั่วไปคล้ายปลาทู แต่ขนาดใหญ่และลำตัวเพรียวกว่าเล็กน้อย ปากกว้าง ลำตัวสีน้ำเงินปนเทาและมีแถวจุดบริเวณ ๒ ข้างของครีบหลังเข้มกว่าปลาทู มีลายเส้นสีทึบพาดตามยาวข้างลำตัว ๒-๓ เส้น มีชุกชุมโดยอยู่รวมกันเป็นฝูงในบริเวณห่างฝั่งมากกว่าปลาทู, ทูโม่ง หรือ ทูลัง ก็เรียก. |
เลือด | น. ของเหลวปรกติมีสีแดง อยู่ในหลอดเลือดและหัวใจของคนและสัตว์ ประกอบด้วยน้ำเลือดและเม็ดเลือด ส่วนที่เป็นสีแดงเกิดจากสีในเม็ดเลือดแดง สัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง เช่น แมลง กุ้ง หอย เม็ดเลือดเห็นมีสีน้ำเงินจาง ๆ |
วาฬ ๒ | (วาน) น. ชื่อสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมในอันดับ Cetacea อันดับย่อย Odontoceti และ Mysticeti มีหลายชนิดในหลายวงศ์ ขนาดใหญ่มาก หัวมนใหญ่ หางแบนเพื่อช่วยในการพุ้ยน้ำ สามารถพ่นอากาศที่มีไอน้ำออกทางจมูกได้เวลาโผล่ขึ้นมาหายใจ เช่น วาฬสีน้ำเงิน [ Balaenoptera musculus (Linn.) ] ซึ่งเป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในโลก เคยพบในน่านน้ำไทย, วาฬแกลบครีบดำ (B. borealis Lesson) และ วาฬแกลบครีบขาวดำ (B. acutorostrata Lacepède) ในวงศ์ Balaenopteridae, วาฬหัวทุย (Physeter macrocephalus Linn.) ในวงศ์ Physeteridae, ปลาวาฬ ก็เรียก. |
เวียน ๒ | น. ชื่อปลานํ้าจืดบางชนิดในสกุล Tor วงศ์ Cyprinidae รูปร่างยาวคล้ายทรงกระบอก เกล็ดใหญ่ ลำตัวมีสีน้ำตาลอมเทา ครีบทุกครีบสีน้ำเงิน ที่ส่วนกลางใต้ริมฝีปากล่างมีแผ่นเนื้อขนาดใหญ่ พบตามแหล่งนํ้าใหญ่และนํ้าใสไหลผ่านกรวดทราย ขนาดยาวได้ถึง ๕๐ เซนติเมตร, ยาด ก็เรียก. |
สัตโลหะ | (สัดตะ-) น. โลหะ ๗ ชนิด คือ เหล็ก ๑ ปรอท ๑ ทองแดง ๑ เงิน ๑ และทองคำ ๑, เพียงนี้เรียกว่า เบญจโลหะ, ถ้าเติมอีก ๒ ชนิด คือ เจ้า ๑ (เป็นคำตัดมาจาก “เจ้าน้ำเงิน” ว่า เป็นแร่ชนิดหนึ่ง สีเขียวเป็นสีน้ำเงิน) และสังกะสี ๑ เรียกว่า สัตโลหะ, ถ้าเติมอีก ๒ ชนิด คือ ชิน ๑ และบริสุทธิ์ ๑ (คือทองแดงบริสุทธิ์) เรียกว่า นวโลหะ. |
dark suit | ชุดสากลสีเข้ม (สีดำหรือสีน้ำเงินเข้ม) " ใช้ในโอกาสไปร่วมงานทางการ เช่น งานเลี้ยงอย่างเป็นทางการ การ เข้าพบบุคคลสำคัญ การไปร่วมงานสำคัญทางการที่มิได้มีการระบุใน บัตรเชิญหรือกำหนดการให้เป็นการแต่งกายแบบอื่น " [การทูต] |
Algae, Bluegreen | สาหร่ายสีน้ำเงิน [การแพทย์] |
Basophilia | สีน้ำเงิน [การแพทย์] |
Basophilic | ติดสีม่วง, สีน้ำเงินเข้ม, สีม่วงอ่อน [การแพทย์] |
Berries, Blue | ลูกเบอร์ลี่สีน้ำเงิน [การแพทย์] |
Blue | สีน้ำเงิน, สีเขียวคล้ำ [การแพทย์] |
Blue Light | แสงสีน้ำเงิน [การแพทย์] |
Blue, Deep | สีน้ำเงินเข้ม [การแพทย์] |
Blue, Pale | สีน้ำเงินจาง [การแพทย์] |
Blue, Purplish | สีน้ำเงินออกม่วง [การแพทย์] |
Blue, Vivid | สีน้ำเงินสว่าง [การแพทย์] |
Blue-Green | สีน้ำเงินปนเขียว [การแพทย์] |
Bluer in Hue, Turn Much | สีน้ำเงินเข้มขึ้น [การแพทย์] |
Bluetongue | โรคลิ้นสีน้ำเงิน, ลิ้นสีน้ำเงิน [การแพทย์] |
Bluetongue Virus | โรคลิ้นสีน้ำเงิน, ไวรัส [การแพทย์] |
Bluish White | สีน้ำเงินขาว [การแพทย์] |
Bluish-White | สีน้ำเงินขาว [การแพทย์] |
Burton Sign | แนวเส้นสีน้ำเงินพบที่เหงือกในโรคพิษตะกั่วเรื้อรัง [การแพทย์] |
Crystals, Formazan | ผลึกสีน้ำเงินที่ไม่ละลายน้ำ [การแพทย์] |
Cytoplasm, Basophilic | ซัยโตปลาสมย้อมติดสีน้ำเงินเข้มกว่าปกติ, ซัยโตพลาสซึมติดสีที่เป็นด่าง, ไซโตปลาสมย้อมติดสีน้ำเงิน [การแพทย์] |
Fluorescence | ฟลูออเรสเซนส์, การเรืองแสง, เรืองแสง, สีฟลูโอเรสซีน, ฟลูออเรสเซนซ์, แสงฟลูออเรสเซนส์, สีน้ำเงินอมเขียวเรืองแสง, ฟลูโอเรสเซนซ์, แสงเรืองๆ, แสงที่เรืองออกมา [การแพทย์] |
Frog-Belly Appearance | สีน้ำเงินขาวเหมือนสีท้องของกบ [การแพทย์] |
Linke blue sky scale | เสกลวัดสีน้ำเงินของ ท้องฟ้าแบบลิงค์ [อุตุนิยมวิทยา] |
blueprint paper | กระดาษพิมพ์เขียว, กระดาษที่ฉาบด้วยสารผสม ซึ่งมีส่วนประกอบของเฮกซาไซยาโนเฟอเรต (III) ไอออนและไอร์ออน (III) ไอออน เมื่อถูกแสงแดดไอร์ออน (III) ไอออนจะถูกรีดิวซ์โดย ซิเตรตไอออนได้เป็นสารสีน้ำเงิน ซึ่งจะทำให้ติดคงทนเมื่อล้างด้วยน้ำ ใช้ในการอัดสำเนาแบบแปลนก่อสร้าง [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
complementary colour | สีเติมเต็ม, สีของแสงคู่ใดคู่หนึ่ง ซึ่งเมื่อรวมกันแล้วให้ผลเป็นแสงสีขาว เช่น แสงสีน้ำเงินกับแสงสีเหลือง ต่างก็เป็นแสงสีเติมเต็มของกันและกัน [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
cyan | สีน้ำเงินเขียว, สีทุติยภูมิของแสงสี เป็นสีผสมของแสงสีน้ำเงินกับแสงสีเขียว [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
primary colour | สีปฐมภูมิ, แสงสีใด ๆ ของแสงสีจำนวน 3 สีคือ แสงสีแดง แสงสีเขียว และแสงสีน้ำเงิน เมื่อแสงทั้งสามสีนี้มารวมกันในปริมาณที่พอเหมาะจะให้แสงสีขาว [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
corundum | คอรันดัม, แร่ชนิดหนึ่ง เป็นผลึกของสารประกอบออกไซด์ของอะลูมิเนียม (Al2O3) มีความแข็ง 9 ความถ่วงจำเพาะ 4 มีหลายสี ส่วนใหญ่เป็นแร่รัตนชาติ เช่น บุษราคัมมีสีเหลือง ไพลินมีสีน้ำเงิน เขียวส่องมีสีเขียว เป็นต้น [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
cirrostratus | ซีร์โรสเตรตัส, แผ่นเมฆบาง ๆ มีสีขาวหรือสีน้ำเงินจาง บางครั้งปกคลุมทั่วท้องฟ้าเหมือนม่าน อาจมีวงแสงรอบดวงอาทิตย์หรือดวงจันทร์ ประกอบด้วยผลึกน้ำแข็งบาง ๆ [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
cobalt (II) chloride | โคบอลต์ (II) คลอไรด์, สารเคมีชนิดหนึ่ง เมื่ออยู่ในอากาศที่มีความชื้นสูงจะให้มีสีชมพู และเมื่ออยู่ในอากาศที่มีความชื้นต่ำจะมีสีน้ำเงินม่วง [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
Granules, Basophilic | แกรนูลติดสีน้ำเงิน, [การแพทย์] |
Karyolysis | ติดสีน้ำเงินไม่ดีพอ [การแพทย์] |
Lead Line | เส้นตะกั่ว, เส้นดำๆที่ขอบเหงือกรอบๆฟันเกิดจากพิษตะกั่ว, จุดสีดำบริเวณรากฟัน, เส้นสีน้ำเงิน, ขอบเหงือก [การแพทย์] |
Merozoites | ตัวเชื้อสีน้ำเงินเล็กๆ, เมโรซอยท์ [การแพทย์] |
Molybdenum Blue Method | วิธีวิเคราะห์ที่ทำให้เกิดสีน้ำเงินกับโมลิบดินั่ม [การแพทย์] |
Mongolian Spot | จุดมองโกเลียน, ผิวหนังสีน้ำเงินปนเทามักพบบริเวณก้นและหลัง, ผิวหนังสีน้ำเงินปนเทา [การแพทย์] |
นกจับแมลงคอสีน้ำเงินเข้ม | [nok jap malaēng khø sī nāmngoen khem] (n, exp) EN: Blue-throated Flycatcher FR: Gobemouche à menton bleu [ m ] ; Cyornis à gorge bleue [ m ] ; Niltava à gorge bleue [ m ] ; Gobemouche à gorge bleue [ m ] |
นกกระเต็นน้อยหลังสีน้ำเงิน = นกกะเต็นน้อยหลังสีน้ำเงิน | [nok kraten nøi lang sī nāmngoēn = nok katen nøi lang sī nāmngoēn] (n, exp) EN: Blue-eared Kingfisher FR: Martin-pêcheur méninting [ m ] |
นกปีกสั้นสีน้ำเงิน | [nok pīk san sī nāmngoen] (n, exp) EN: White-browed Shortwing FR: Brachyptère bleue [ f ] ; Courtaile bleue [ f ] ; Brachyptéryx à sourcils blancs ; Grive à ailes courtes bleue [ f ] |
นกแต้วแล้วสีน้ำเงิน | [nok taēolaēo sī nāmngoen] (n, exp) EN: Blue Pitta FR: Brève bleue [ f ] |
นกแต้วแล้วใหญ่หัวสีน้ำเงิน | [nok taēolaēo yai hūa sī nāmngoen] (n, exp) EN: Blue-rumped Pitta FR: Brève à dos bleu [ f ] |
นกไต่ไม้สีน้ำเงิน | [nok taimāi sī nāmngoen] (n, exp) EN: Blue Nuthatch FR: Sittelle bleue [ f ] ; Sittelle à dos azuré [ f ] |
พลอยสีน้ำเงิน | [phløi sī nāmngoen] (n, exp) EN: blue topaz FR: topaze bleue [ f ] |
ปลาวาฬสีน้ำเงิน | [plā wān sī nām-ngoēn] (n) EN: Blue Whale FR: baleine bleue [ f ] |
สาหร่ายสีน้ำเงินแกมเขียว | [sārāi sī nāmngoen kaēm khīo] (n, exp) EN: blue-green algae |
สีน้ำเงิน | [sī nāmngoen] (n) EN: blue colour ; blue FR: bleu [ m ] |
สีน้ำเงิน | [sī nāmngoen] (adj) EN: blue FR: bleu ; bleuâtre |
สีน้ำเงินเข้ม | [sī nāmngoen khem] (n) EN: royal blue FR: bleu royal [ m ] |
สีน้ำเงินเข้ม | [sī nāmngoen khem] (adj) EN: royal blue FR: bleu royal |
สีน้ำเงินอ่อน | [sī nāmngoen øn] (adj) EN: steel blue |
blue | (adj) สีฟ้า, See also: สีน้ำเงิน |
blue | (n) สีฟ้า, See also: สีน้ำเงิน |
blue | (vt) กลายเป็นสีน้ำเงิน, See also: เปลี่ยนเป็นสีน้ำเงิน |
bluebird | (n) นกสีน้ำเงินในอเมริกาเหนือ |
bluish | (adj) ซึ่งเป็นสีน้ำเงิน |
cobalt blue | (n) สารสีน้ำเงินเข้มที่เป็นส่วนผสมของโคบอลท์และอลูมิเนียมออกไซด์ |
cobalt blue | (n) สีน้ำเงินเข้ม |
dark blue | (adj) สีน้ำเงินเข้ม, See also: สีน้ำเงินแก่ |
forget-me-not | (n) ดอกไม้ชนิดหนึ่งมีสีน้ำเงินซีดๆ, Syn. scorpion grass |
galena | (n) แร่ตะกั่วสีน้ำเงิน เทา หรือดำ |
harebell | (n) พืชไม้ดอกรูประฆัง มีสีน้ำเงิน เป็นพืชจำพวก Campanula rotundifolia, Syn. bluebell |
indigo | (adj) สีน้ำเงินม่วง, See also: สีคราม |
midnight blue | (n) สีฟ้าเข้ม, See also: สีน้ำเงินเข้ม, Syn. midnight |
moonstone | (n) พลอยสีน้ำเงิน |
navy | (n) สีน้ำเงินเข้ม, Syn. navy-blue |
navy blue | (n) สีน้ำเงินเข้ม, See also: สีน้ำเงินแก่, Syn. navy |
navy blue | (adj) สีน้ำเงินเข้ม, See also: สีน้ำเงินแก่, Syn. navy |
Oxford blue | (n) สีน้ำเงินเข้ม |
pea jacket | (n) เสื้อกะลาสีสีน้ำเงินทำด้วยขนสัตว์หนาและมีกระดุมสองแถว, Syn. jacket, tail coat, tuxido |
primary color | (n) แม่สี, See also: แม่สีพื้นฐาน คือ สีแดง สีเขียวและสีน้ำเงิน |
royal blue | (n) สีน้ำเงินเข้ม |
sapphire | (n) หินมีค่าสีน้ำเงินหรือฟ้าเข้ม, See also: หินแซฟไฟร์, Syn. sapphirine, greenish-blue, deep blue |
turquoise | (n) แร่เทอร์ควอยซ์ มีสีน้ำเงินหรือน้ำเงินอมเขียว |
Virginia creeper | (n) พืชเถาวัลย์ชนิดหนึ่งมีลูกสีน้ำเงินดำ, Syn. woodbine |
woad | (n) พืชของยุโรปซึ่งใช้ใบนำมาสกัดเอาสีน้ำเงินได้, See also: ชื่อละตินคือ Isatis Inctorai |
ageratum | (แอจเจอเร' ทัม, -เจอ' ระทัม) พืชไม้ดอกชนิดหนึ่งมีดอกเล็กสีน้ำเงินหรือสีขาว |
anil | (แอน' นิล) n. พืชจำพวก Indigofera suffruticosa ที่ให้คราม. indigo, คราม, สีน้ำเงินเข้ม (......weak old woman) |
azure | (แอซ' เซอะ) adj. สีน้ำเงินของท้องฟ้าที่ไม่มีเมฆ. -n. ท้องฟ้าสีน้ำเงินที่ไร้เมฆ, ท้องฟ้าที่ไม่มีเมฆ, Syn. sky-blue, blue, cerulean |
azurite | (แอซ'ซะไรท) n. แร่สีน้ำเงินของ hydrous copper carbonate ซึ่งแร่ทองแดงชนิดหนึ่ง, พลอยที่ประกอบด้วยแร่ชนิดดังกล่าว, หินเขียว (a blue mineral) |
blue | (บลู) { blued, bluing, blues } n., adj. สีน้ำเงิน, สีท้องฟ้า, ฟกช้ำ, (หน้า) เขียว adj. มีสีน้ำเงิน, ฟกช้ำ (ผิวหนัง) , โศกเศร้า, หยาบคาย vt. ทำให้เป็นสีน้ำเงิน, ย้อมสีน้ำเงิน, See also: bulish, blueish adj. -Phr. out of the blue อย่างกระทันหันและไม่ได้คาดคิด |
blue cross | n. สมาคมกาชาดสีน้ำเงินเกี่ยวกับการสงเคราะห์สัตว์ |
bluish | (บลู'อิ?) adj. ค่อนข้างสีน้ำเงิน |
chicory | (ชิค'คะรี) n. ชื่อพืชดอกสีน้ำเงิน, รากของพืชดังกล่าว |
composite video | สัญญาณวีดิทัศน์คอมโพสิตหมายถึง สัญญาณวีดิทัศน์ที่ใช้กับเครื่องรับโทรทัศน์ โดยปกติแล้ว ใช้สายไฟสายเดียว ตรงข้ามกับสัญญาณอื่น เช่น สัญญาณ RGB (Red Green Blue) ซึ่งจะใช้แต่ละสาย สำหรับแต่ละสี คือมีสายสีแดง สีเขียว สีน้ำเงิน เป็นต้น ฉะนั้น หากเราต้องการภาพ เลือน ๆ ให้ปรากฏบนจอภาพ เครื่องรับโทรทัศน์ของเรา ก็ทำได้โดยส่งสัญญาณนี้แทน |
cyan | (ไซ'อัน) n. สีระหว่างสีน้ำเงินกับสีเขียว |
cyano- | Pref. "สีน้ำเงินเข้ม", "สารไซยาไนด์" |
dungaree | (ดังกะรี') n. เสื้อผ้าชุดทำงาน, ผ้าฝ้ายหยาบ, ผ้ายีนส์, ชุดยีนส์สีน้ำเงิน -pl. dugarees |
germander | (เจอแมน'เดอะ) n. พืชไม้ดอกสีน้ำเงิน |
litmus | (ลิท'มัส) n. สารสีน้ำเงินที่ได้จาก lichen |
peacodk blue | n. สีน้ำเงินปนเขียว |
royal blue | n. สีน้ำเงินเข้ม, Syn. deep blue |
sapphire | (แซฟ'ไฟเออะ) n. นิลสีคราม, นิลสีน้ำเงิน, สีน้ำเงินเข้ม, Syn. deep blue |
smoke | (สโมค) n. ควัน, เขม่า, ละอองควัน, หมอก, ไอน้ำ, สิ่งที่ไม่มีความหมาย, ความไม่ชัดแจ้ง, ความคลุมเครือ, การสูบบุ-หรี่, ช่วงเวลาของการสูบบุหรี่, บุหรี่หรือซิการ์, ระบบอนุภาคของแข็งในแก๊ส, สีน้ำเงินอ่อน, สีควัน, เจ้าหน้าที่ดับเพลิง, คนผิวดำ, ความเร็ว vi., vt. มีควัน, พ่นควัน, มีไอลอยขึ้นมา, สูบบุหรี่ |
woad | (โวด) พืชยุโรป/ใบของมันใช้สกัดทำสีย้อมสีน้ำเงิน, สีย้อมดังกล่าว |
紺碧 | [こんぺき, konpeki] (n) สีน้ำเงินเข้ม |
紺 | [こん, kon] สีน้ำเงิน |
シアン | [しあん, shian] (n) เป็นสีหนึ่งในหมวด CMYK (สีที่เกิดจากการผสมแสงสี ให้นึกถึงตราสัญลักษณ์ของช่อง 7) <BR> Cyan (ภาษาฮอลลันดา) สีออกฟ้า = เกิดจากการผสมแสงสีเขียวกับสีน้ำเงิน <BR> Magenta สีออกชมพูเข้ม = เกิดจากการผสมแสงสีแดงกับสีน้ำเงิน <BR> Yellow สีเหลือง = เกิดจากการผสมแสงสีเขียวกับสีแดง <BR> K เป็นสีดำ = เกิดจากการผสมแสงสีแดงกับแสงสีเขียวกับสีน้ำเงิน(เอา RGB มาผสมกันหมด) |
マジェンタ | [まじぇんた, majienta] (n) เป็นสีหนึ่งในหมวด CMYK (สีที่เกิดจากการผสมแสงสี ให้นึกถึงตราสัญลักษณ์ของช่อง 7) <BR> Cyan (ภาษาฮอลลันดา) สีออกฟ้า = เกิดจากการผสมแสงสีเขียวกับสีน้ำเงิน <BR> Magenta สีออกชมพูเข้ม = เกิดจากการผสมแสงสีแดงกับสีน้ำเงิน <BR> Yellow สีเหลือง = เกิดจากการผสมแสงสีเขียวกับสีแดง <BR> K เป็นสีดำ = เกิดจากการผสมแสงสีแดงกับแสงสีเขียวกับสีน้ำเงิน(เอา RGB มาผสมกันหมด) |
マジェンタ | [まじぇんた, majienta] (n) เป็นสีหนึ่งในหมวด CMYK (สีที่เกิดจากการผสมแสงสี ให้นึกถึงตราสัญลักษณ์ของช่อง 7) <BR> Cyan (ภาษาฮอลลันดา) สีออกฟ้า = เกิดจากการผสมแสงสีเขียวกับสีน้ำเงิน <BR> Magenta สีออกชมพูเข้ม = เกิดจากการผสมแสงสีแดงกับสีน้ำเงิน <BR> Yellow สีเหลือง = เกิดจากการผสมแสงสีเขียวกับสีแดง <BR> K เป็นสีดำ = เกิดจากการผสมแสงสีแดงกับแสงสีเขียวกับสีน้ำเงิน(เอา RGB มาผสมกันหมด), See also: R. シアン |