หน่วง | (v) delay, See also: retard, bog down, detain, hinder, hold back, impede, hold up, slow up, Syn. ถ่วง, เหนี่ยว, ดึง, รั้ง, Example: พม่าพยายามหน่วงเวลามิให้ไทยเข้าโจมตีในขณะพม่ายังกังวลศึกด้านอื่น โดยการส่งทูตมาเจริญพระราชไมตรี, Thai Definition: ดึงไว้แต่น้อยๆ, เหนี่ยวไว้, ทำให้ช้า |
ความหน่วง | (n) retardation, Ant. ความเร่ง, Example: การรับส่งข้อมูลมีความหน่วงเพิ่มมากขึ้นเมื่อใช้สัญญาณในพื้นที่กว้าง, Thai Definition: อัตราการเคลื่อนที่ของวัตถุต่อ 1 หน่วยเวลา โดยระบุทิศทางของการเคลื่อนที่ด้วย, อัตราการเปลี่ยนความเร็วต่อหนึ่งหน่วยเวลาที่ลดลงเรื่อยๆ, Notes: (อังกฤษ) |
หนักหน่วง | (adv) severely, See also: heavily, seriously, Syn. เอาจริงเอาจัง, รุนแรง, Example: กลุ่มองค์กรเหล่านี้เปิดฉากเคลื่อนไหวกดดันอย่างหนักหน่วงเพื่อเรียกร้องในสิ่งที่ตัวเองต้องการ |
หน่วงเวลา | (v) delay, See also: put off, postpone, Syn. ถ่วงเวลา, Example: การเปลี่ยนความเร็วของคีย์บอร์ดมีจุดประสงค์ เพื่อปรับเปลี่ยนอัตราเร็วของการกดคีย์บอร์ดซ้ำ และหน่วงเวลาก่อนที่จะส่งค่าการกดคีย์ซ้ำในครั้งแรกออกไป, Thai Definition: ทำให้ช้าลง |
หน่วงเหนี่ยว | (v) delay, See also: obstruct, detain, hinder, impede, hold up, block, restrain, Syn. ถ่วง, ยื้อ, หน่วง, ขัดขวาง, Example: ไพร่พลช่วยกันหน่วงเหนี่ยวทัพพม่าไม่ให้เข้าไปถึงเมืองหลวง, Thai Definition: ถ่วงเวลาไว้ (ใช้ในการรบ) |
หน่วงเหนี่ยว | (v) hold (someone) back, See also: stop, prevent, obstruct, delay, Syn. รั้ง, ถ่วง, เหนี่ยวรั้ง, ยื้อ, หน่วง, ฉุดรั้ง, Example: เธออย่าไปหน่วงเหนี่ยวเขาไว้เลย มันไม่มีประโยชน์อะไรกับคนที่ไม่รักเรา, Thai Definition: ดึงถ่วงไว้, ฉุดรั้งเอาไว้ |
หน่วงเหนี่ยว | (v) hold back, See also: detain, retain, Syn. ดึง, ถ่วง, กัก, หน่วง, รั้ง, ยื้อ, Ant. ปล่อย, Example: บิดามารดาที่ฉลาดไม่ควรหน่วงเหนี่ยวเด็กไว้หรือใช้อำนาจเด็ดขาด |
ความหนักหน่วง | (n) seriousness, See also: severity, solemnness, Syn. การเอาจริงเอาจัง, Example: ปฏิกิริยาการตอบสนองของร่างกายจะมีลักษณะและความรุนแรงแตกต่างไปตามความหนักหน่วงของการออกกำลัง |
ความหน่วง | น. อัตราการเปลี่ยนความเร็วที่ลดลงเรื่อย ๆ ต่อ ๑ หน่วยเวลา. |
สิทธิยึดหน่วง | น. สิทธิที่ผู้ครอบครองทรัพย์สินของผู้อื่น และมีหนี้อันเป็นคุณประโยชน์แก่ตนเกี่ยวด้วยทรัพย์สินซึ่งครองนั้น ในอันที่จะยึดทรัพย์สินนั้นไว้จนกว่าจะได้รับชำระหนี้. |
หน่วง | (หฺน่วง) ก. ดึงไว้แต่น้อย ๆ, เหนี่ยวไว้, ทำให้ช้า, เช่น หน่วงเรื่องไว้ หน่วงเวลาไว้ หน่วงตัวไว้. |
หน่วง | (หฺน่วง) ว. อาการที่รู้สึกปวดถ่วงที่บริเวณท้องในเวลามีประจำเดือนหรือเป็นบิดเป็นต้น. |
หน่วงเหนี่ยว | (หฺน่วงเหฺนี่ยว) ก. รั้งตัวไว้, ดึงถ่วงไว้, กักไว้, เช่น เขาถูกฟ้องฐานะที่หน่วงเหนี่ยวกักขังผู้อื่น. |
หนักหน่วง | ว. จริงจัง, มาก, ยิ่ง, เช่น เขาพยายามอย่างหนักหน่วงเพื่อส่งเสียให้ลูกเรียน. |
การก่อวินาศกรรม | น. การกระทำใด ๆ อันเป็นการมุ่งทำลายทรัพย์สินของประชาชนหรือของรัฐ หรือสิ่งอันเป็นสาธารณูปโภค หรือการรบกวนขัดขวางหน่วงเหนี่ยวระบบการปฏิบัติงานใด ๆ ตลอดจนการประทุษร้ายต่อบุคคลอันเป็นการก่อให้เกิดความปั่นป่วนทางการเมืองการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ โดยมุ่งหมายที่จะก่อให้เกิดความเสียหายต่อความมั่นคงของรัฐ. |
ค่าไถ่ | น. ทรัพย์สินหรือประโยชน์ที่เรียกเอา หรือให้เพื่อแลกเปลี่ยนเสรีภาพของผู้ถูกเอาตัวไป ผู้ถูกหน่วงเหนี่ยว หรือผู้ถูกกักขัง. |
เจ้าหนี้มีประกัน | น. เจ้าหนี้ผู้มีสิทธิเหนือทรัพย์สินของลูกหนี้ในทางจำนอง จำนำ หรือสิทธิยึดหน่วง หรือเจ้าหนี้ผู้มีบุริมสิทธิที่บังคับได้ทำนองเดียวกับผู้รับจำนำ. |
ซั้น | รีบ, เร็ว, ถี่, ติด ๆ กัน, เช่น เชอญเสด็จภักพลหมั้น แต่งทับซั้นไปหน่วง (ตะเลงพ่าย). |
ดึง | หน่วงเหนี่ยวไว้ เช่น ดึงเรื่องไว้ตรวจสอบให้ละเอียดก่อน อย่าเพิ่งปล่อยผ่านออกไป |
ไถ่ ๑ | ให้ทรัพย์สินหรือประโยชน์เพื่อแลกเปลี่ยนเสรีภาพของผู้ถูกเอาตัวไป ผู้ถูกหน่วงเหนี่ยว หรือผู้ถูกกักขัง. |
ประวิง | ก. หน่วงไว้ให้เนิ่นช้า, ถ่วงเวลา, เช่น ประวิงเวลา ประวิงเรื่อง. |
ปวดถ่วง | ก. ปวดหน่วง ๆ บริเวณท้องน้อยคล้ายต้องการถ่ายอุจจาระ. |
มหาอุปรากร, อุปรากร | น. ละครประเภทหนึ่ง มีดนตรีเป็นส่วนประกอบสำคัญ ดำเนินเรื่องด้วยการร้องเพลงผสมวงดุริยางค์คล้ายอุปรากร ตัวละครทุกตัวจะร้องแทนพูด เนื้อเรื่องมีความจริงจังหนักหน่วง ถือเป็นละครชั้นสูงของชาวตะวันตก. |
รั้ง | ก. หน่วงเหนี่ยวไว้ เช่น รั้งตัวไว้ก่อน, เหนี่ยว เช่น แขนเสื้อรั้ง, ชักมา, ใช้กำลังเต็มที่เพื่อให้สิ่งที่มีแรงต้านทานเคลื่อนเข้ามาหรือหยุดอยู่ เช่น รั้งวัวรั้งควาย |
หมายค้น | น. หนังสือสั่งการที่ศาลสั่งให้เจ้าหน้าที่ตรวจค้น เพื่อยึดสิ่งของหรือจับกุมบุคคลซึ่งมีหมายให้จับ หรือเพื่อช่วยบุคคลซึ่งถูกหน่วงเหนี่ยวหรือกักขังโดยมิชอบด้วยกฎหมาย. |
อาโปกสิณ | (-กะสิน) น. วิธีเจริญสมถกรรมฐานโดยยึดหน่วงเอาธาตุนํ้าเป็นอารมณ์. |
อารมณ์ | น. สิ่งที่ยึดหน่วงจิตโดยผ่านทางตา หู จมูก ลิ้น กาย และใจ เช่น รูปเป็นอารมณ์ของตา เสียงเป็นอารมณ์ของหู, เครื่องยึดถือเป็นจริงเป็นจัง เช่น เรื่องนี้อย่าเอามาเป็นอารมณ์เลย |
possessory lien | การครอบครองโดยอาศัยสิทธิยึดหน่วง [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
priority of liens | สิทธิยึดหน่วงลำดับก่อน [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
particular lien | สิทธิยึดหน่วงเฉพาะ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
lien | สิทธิยึดหน่วง [ ดู right of retention ] [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
lien, tax | สิทธิยึดหน่วงทางภาษี [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
lien | สิทธิยึดหน่วง [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
lien | การยึดหน่วง [ประกันภัย ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] |
restrain | ๑. หน่วงเหนี่ยว, กักขัง, ควบคุมตัว (ก. อาญา)๒. จำกัด, ห้ามกระทำการ (ก. แพ่ง) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
retainer | ๑. ผู้มีสิทธิยึดหน่วง๒. การจ้างทนายความ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
restraint | ๑. การหน่วงเหนี่ยว, การกักขัง, การควบคุมตัว (ก. อาญา)๒. การจำกัด, ข้อจำกัด, การยับยั้ง (ก. แพ่ง) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
restraints | การหน่วงเหนี่ยว ดู arrests, restraints and detainments [ประกันภัย ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] |
retain | ๑. ยึดถือไว้, ยึดหน่วง๒. จ้าง (ทนายความ) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
right of retention | สิทธิยึดหน่วง [ ดู lien ] [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
retention bond | กรมธรรม์ค้ำประกันการยึดหน่วง [ประกันภัย ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] |
shock absorber; suspension damper | ตัวหน่วงการสั่นสะเทือน [ยานยนต์ ๑๒ มี.ค. ๒๕๔๕] |
SDV (spark delay valve) | เอสดีวี (ลิ้นหน่วงการเกิดประกายไฟ) [ยานยนต์ ๑๒ มี.ค. ๒๕๔๕] |
special lien | สิทธิยึดหน่วงเฉพาะสิ่ง [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
spark delay valve (SDV) | ลิ้นหน่วงการเกิดประกายไฟ (เอสดีวี) [ยานยนต์ ๑๒ มี.ค. ๒๕๔๕] |
suspension damper; shock absorber | ตัวหน่วงการสั่นสะเทือน [ยานยนต์ ๑๒ มี.ค. ๒๕๔๕] |
smothering | การหน่วงเหนี่ยว (ร่างกฎหมาย) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
arc blow compensator; arc damper | ตัวหน่วงอาร์กเบน [การเชื่อม ๒๐ ก.ย. ๒๕๔๔] |
arc damper; arc blow compensator | ตัวหน่วงอาร์กเบน [การเชื่อม ๒๐ ก.ย. ๒๕๔๔] |
arrests, restraints and detainments | การจับกุม หน่วงเหนี่ยว และกักขัง [ประกันภัย ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] |
acoustic delay line | สายหน่วงเสียง [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
abuse of distress | การนำทรัพย์ที่ยึดหน่วงไว้ไปใช้โดยมิชอบ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
bill, hold-up | ร่างกฎหมายที่ถูกหน่วงเหนี่ยว [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
mail, detaining or delaying | การกักหรือหน่วงเหนี่ยวไปรษณียภัณฑ์ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
maritime lien | สิทธิยึดหน่วงตามกฎหมายทะเล [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
carrier's lien | สิทธิยึดหน่วงของผู้ขนส่ง [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
delay | หน่วงเนิ่น, ล่าช้า [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
delay | ๑. ประวิง, หน่วง๒. การประวิง, การหน่วง [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
delay line | สายหน่วง [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
delay unit | หน่วยหน่วง [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
delayed firing | การปล่อยกระแสหน่วง [การเชื่อม ๒๐ ก.ย. ๒๕๔๔] |
detain | ๑. กักขัง, หน่วงเหนี่ยว (บุคคล), ควบคุมตัว (ก. อาญา)๒. ยึดหน่วง (ก. แพ่ง) [ ดู retain ความหมายที่ ๑ ประกอบ ] [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
detainer | ๑. ผู้กักขัง, ผู้หน่วงเหนี่ยว (บุคคล) (ก. อาญา)๒. ผู้ยึดหน่วงทรัพย์ (ก. แพ่ง) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
diligent inquiry | การสอบสวนอย่างหนักหน่วง (เพื่อให้ได้ข้อเท็จจริงอย่างสมบูรณ์) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
delayed non-beat | ระบบหน่วงกันสะดุด [การเชื่อม ๒๐ ก.ย. ๒๕๔๔] |
detaining or delaying mail | การกักหรือหน่วงเหนี่ยวไปรษณียภัณฑ์ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
detention | ๑. การกักขัง, การหน่วงเหนี่ยว, การควบคุมตัว (ป. วิ. อาญา)๒. การยึดหน่วงทรัพย์ (ก. แพ่ง) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
damped oscillation | การแกว่งกวัดแบบหน่วง [ มีความหมายเหมือนกับ damped vibration ] [คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗] |
damped vibration | การสั่นแบบหน่วง [ มีความหมายเหมือนกับ damped oscillation ] [คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗] |
damper | ๑. ตัวหน่วง ๒. ตัวหน่วงการสั่นสะเทือน [ยานยนต์ ๑๒ มี.ค. ๒๕๔๕] |
damping coefficient | สัมประสิทธิ์การหน่วง [พลังงาน ๒๖ ม.ค. ๒๕๔๕] |
damping factor | ตัวประกอบการหน่วง [คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗] |
detinue | การเรียกคืนทรัพย์ที่ถูกยึดหน่วงไว้โดยมิชอบ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
general lien | สิทธิยึดหน่วงทั่วไป [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
free of capture and seizure clause | ข้อกำหนดยกเว้นการจับกุมยึดหน่วง [ประกันภัย ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] |
forcible detainer | ๑. การยึดหน่วงที่ดินไว้โดยใช้กำลัง๒. การยึดหน่วงทรัพย์ไว้โดยไม่มีสิทธิ์ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
forge delay time | เวลาหน่วงกด [การเชื่อม ๒๐ ก.ย. ๒๕๔๔] |
BWR type reactor | เครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์แบบน้ำเดือด, เครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์ที่ใช้น้ำเป็นทั้งตัวทำให้เย็นและตัวหน่วงความเร็ว นิวตรอน โดยออกแบบการทำงานให้น้ำเดือดอยู่ภายในแกนเครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์ และใช้ไอน้ำที่เกิดขึ้นไปขับกังหันไอน้ำของเครื่องกำเนิดไฟฟ้าโดยตรงเพื่อ ผลิตเป็นกระแสไฟฟ้า [นิวเคลียร์] |
Boiling water reactor | เครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์แบบน้ำเดือด, เครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์ที่ใช้น้ำเป็นทั้งตัวทำให้เย็นและตัวหน่วงความเร็วนิวตรอน โดยออกแบบการทำงานให้น้ำเดือดอยู่ภายในแกนเครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์ และใช้ไอน้ำที่เกิดขึ้นไปขับกังหันไอน้ำของเครื่องกำเนิดไฟฟ้าโดยตรงเพื่อผลิตเป็นกระแสไฟฟ้า [นิวเคลียร์] |
Bremsstrahlung | เบรมส์ชตราลุง, รังสีคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่ถูกปล่อยออกมา เมื่ออนุภาคที่มีประจุถูกเร่งให้เร็วขึ้น หรือถูกหน่วงให้ช้าลง รังสีเอกซ์จากเครื่องเอกซเรย์ทั่วไปก็เป็นรังสีชนิดนี้ [นิวเคลียร์] |
Core | แกนเครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์, บริเวณส่วนกลางเครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์ เป็นบริเวณที่เกิดปฏิกิริยาลูกโซ่ ประกอบด้วย เชื้อเพลิงนิวเคลียร์ แท่งควบคุม สารหน่วงนิวตรอน และโครงสร้างที่รองรับอุปกรณ์ต่างๆ [นิวเคลียร์] |
X-rays | รังสีเอกซ์, รังสีในรูปของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า มีอำนาจทะลุทะลวงสูงไม่ได้มีต้นกำเนิดจากนิวเคลียสของอะตอม แต่เกิดขึ้นเมื่ออะตอมถูกกระตุ้น ทำให้อิเล็กตรอนวงในหลุดออกไป และอิเล็กตรอนวงถัดไปเข้ามาแทนที่ แล้วให้พลังงานส่วนเกินออกมาในรูปของรังสีเอกซ์ หรือเกิดจากการระดมยิงเป้าโลหะหนักบางชนิด เช่น ทังสเตน ด้วยอิเล็กตรอนความเร็วสูง ซึ่งอิเล็กตรอนจะถูกหน่วงให้ช้าลงอย่างทันทีทันใดและปล่อยรังสีเอกซ์ออกมา บางคน เรียกรังสีเอกซ์ว่า รังสีเรินต์เก็น ตามชื่อของ วิลเฮล์ม คอนราด เรินต์เก็น นักวิทยาศาสตร์ชาวเยอรมันผู้ค้นพบรังสีนี้เมื่อ ปี พ.ศ. 2438 [นิวเคลียร์] |
Water moderated reactor | เครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์น้ำมวลเบา, เครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์ที่ใช้น้ำธรรมดาเป็นทั้งตัวทำให้เย็นและตัวหน่วงความเร็วนิวตรอน เช่น เครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์แบบน้ำเดือด และเครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์แบบน้ำอัดความดัน ซึ่งโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ส่วนใหญ่เป็นเครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์ประเภทนี้ [นิวเคลียร์] |
Roentgen rays | รังสีเรินต์เก็น, รังสีในรูปของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า มีอำนาจทะลุทะลวงสูงไม่ได้มีต้นกำเนิดจากนิวเคลียสของอะตอม แต่เกิดขึ้นเมื่ออะตอมถูกกระตุ้น ทำให้อิเล็กตรอนวงในหลุดออกไป และอิเล็กตรอนวงถัดไปเข้ามาแทนที่ แล้วให้พลังงานส่วนเกินออกมาในรูปของรังสีเอกซ์ หรือเกิดจากการระดมยิงเป้าโลหะหนักบางชนิด เช่น ทังสเตน ด้วยอิเล็กตรอนความเร็วสูง ซึ่งอิเล็กตรอนจะถูกหน่วงให้ช้าลงอย่างทันทีทันใดและปล่อยรังสีเอกซ์ออกมา บางคน เรียกรังสีเอกซ์ว่า รังสีเรินต์เก็น ตามชื่อของ วิลเฮล์ม คอนราด เรินต์เก็น นักวิทยาศาสตร์ชาวเยอรมันผู้ค้นพบรังสีนี้เมื่อ ปี พ.ศ. 2438 [นิวเคลียร์] |
Nuclear reactor | เครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์, อุปกรณ์สำหรับให้ปฏิกิริยาลูกโซ่การแบ่งแยกนิวเคลียสเกิดขึ้นอย่างต่อเนื่องและสามารถควบคุมได้ ใช้สำหรับผลิตนิวตรอน หรือพลังงานความร้อน มีส่วนประกอบที่สำคัญ คือ แกนปฏิกรณ์ ซึ่งบรรจุเชื้อเพลิงนิวเคลียร์ สารหน่วงความเร็วนิวตรอน สารสะท้อนนิวตรอน สารหล่อเย็น วัสดุกำบังรังสี และระบบควบคุม <br>บางครั้งเรียกว่า เครื่องปฏิกรณ์ปรมาณู (atomic reactor)</br> [นิวเคลียร์] |
Moderator | ตัวหน่วงความเร็ว(นิวตรอน), วัสดุที่ใช้ลดความเร็วของนิวตรอนในเครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์ ทำให้โอกาสของการเกิดปฏิกิริยาแบ่งแยกนิวเคลียสเพิ่มขึ้น เช่น น้ำ น้ำมวลหนัก และแกรไฟต์ <br>(ดู reflector, absorber และ thermal neutron ประกอบ)</br> [นิวเคลียร์] |
LWR type reactor | เครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์แบบน้ำมวลเบา, เครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์ที่ใช้น้ำธรรมดาเป็นทั้งตัวทำให้เย็นและตัวหน่วง ความเร็วนิวตรอน เช่น เครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์แบบน้ำเดือด และเครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์แบบน้ำอัดความดัน ซึ่งโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ส่วนใหญ่เป็นเครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์ประเภทนี้ [นิวเคลียร์] |
Light water reactor | เครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์แบบน้ำมวลเบา, เครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์ที่ใช้น้ำธรรมดาเป็นทั้งตัวทำให้เย็นและตัวหน่วงความเร็วนิวตรอน เช่น เครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์แบบน้ำเดือด และเครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์แบบน้ำอัดความดัน ซึ่งโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ส่วนใหญ่เป็นเครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์ประเภทนี้ [นิวเคลียร์] |
Heavy water reactor | เครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์แบบน้ำมวลหนัก, เครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์ที่ใช้น้ำมวลหนักเป็นตัวหน่วงความเร็วนิวตรอน และเป็นตัวทำให้เย็น น้ำมวลหนักเป็นตัวหน่วงความเร็วนิวตรอนที่ดีเยี่ยม จึงช่วยเพิ่มโอกาสการเกิดปฏิกิริยาแบ่งแยกนิวเคลียส ทำให้สามารถใช้ยูเรเนียมธรรมชาติ เป็นเชื้อเพลิงได้โดยไม่ต้องเสริมสมรรถนะ [นิวเคลียร์] |
Heavy water moderated reactor | เครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์แบบน้ำมวลหนัก, เครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์ที่ใช้น้ำมวลหนักเป็นตัวหน่วงความเร็วนิวตรอน และเป็นตัวทำให้เย็น น้ำมวลหนักเป็นตัวหน่วงความเร็วนิวตรอนที่ดีเยี่ยม จึงช่วยเพิ่มโอกาสการเกิดปฏิกิริยาแบ่งแยกนิวเคลียส ทำให้สามารถใช้ยูเรเนียมธรรมชาติ เป็นเชื้อเพลิงได้โดยไม่ต้องเสริมสมรรถนะ, Example: [นิวเคลียร์] |
๑. ประวิง, หน่วง ๒. การประวิง, การหน่วง | ๑. ประวิง, หน่วง ๒. การประวิง, การหน่วง [คอมพิวเตอร์] |
Passive Artificial Leg | ขาเทียมแบบไม่ใช้อุปกรณ์เพิ่มกำลัง, ขาเทียมที่มีการปรับอัตราความหน่วงในการเดิน โดยใช้ประโยชน์จาก สปริง และแดมเปอร์ (damper) ไม่มีตัววัดค่าและและคอมพิวเตอร์ที่ซับซ้อน [Assistive Technology] |
Damping (Mechanics) | การหน่วง (กลศาสตร์) [TU Subject Heading] |
Possessory liens | สิทธิยึดหน่วง [TU Subject Heading] |
Priorities of claims and liens | สิทธิยึดหน่วงลำดับก่อน [TU Subject Heading] |
Shock absorbers | ตัวหน่วงการสั่นสะเทือน [TU Subject Heading] |
Gorbachev doctrine | นโยบายหลักของกอร์บาชอฟ เป็นศัพท์ที่สื่อมวลชนของประเทศฝ่ายตะวันตกบัญญัติขึ้น ในตอนที่กำลังมีการริเริ่มใหม่ๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง เกี่ยวกับนโยบายต่างประเทศของโซเวียตในด้านความร่วมมือระหว่างประเทศอภิมหา อำนาจตั้งแต่ ค.ศ. 1985 เป็นต้นมา ภายใต้การนำของ นายมิคาอิล กอร์บาชอฟ ในระยะนั้น โซเวียตเริ่มเปลี่ยนทิศทางของสังคมภายในประเทศใหม่ โดยยึดหลักกลาสนอสต์ (Glasnost) ซึ่งหมายความว่า การเปิดกว้าง รวมทั้งหลักเปเรสตรอยก้า (Perestroika) อันหมายถึงการปรับเปลี่ยนโครงสร้างใหม่ในช่วงปี ค.ศ. 1985 ถึง 1986 บุคคลสำคัญชั้นนำของโซเวียตผู้มีอำนาจในการตัดสินใจนี้ ได้เล็งเห็นและสรุปว่าการที่ประเทศพยายามจะรักษาสถานภาพประเทศอภิมหาอำนาจ และครองความเป็นใหญ่ในแง่อุดมคติทางการเมืองของตนนั้นจำต้องแบกภาระทาง เศรษฐกิจอย่างหนักหน่วง แต่ประโยชน์ที่จะได้จริง ๆ นั้นกลับมีเพียงเล็กน้อย เขาเห็นว่า แม้ในสมัยเบรสเนฟ ซึ่งได้เห็นความพยายามอันล้มเหลงโดยสิ้นเชิงของสหรัฐฯ ในสงครามเวียดนาม การปฏิวัติทางสังคมนิยมที่เกิดขึ้นในแองโกล่า โมซัมบิค และในประเทศเอธิโอเปีย รวมทั้งกระแสการปฏิวัติทวีความรุนแรงยิ่งขึ้นในแถบประเทศละตินอเมริกา ก็มิได้ทำให้สหภาพโซเวียตได้รับประโยชน์ หรือได้เปรียบอย่างเห็นทันตาแต่ประการใด แต่กลับกลายเป็นภาระหนักอย่างยิ่งเสียอีก แองโกล่ากับโมแซมบิคกลายสภาพเป็นลูกหนี้อย่างรวดเร็ว เอธิโอเปียต้องประสบกับภาวะขาดแคลนอาหารอย่างสาหัส และการที่โซเวียตใช้กำลังทหารเข้ารุกรานประเทศอัฟกานิสถานเมื่อปี ค.ศ. 1979 ทำให้ระบบการทหารและเศรษฐกิจของโซเวียตต้องเครียดหนักยิ่งขึ้น และการเกิดวิกฤตด้านพลังงาน (Energy) ในยุโรปภาคตะวันออกระหว่างปี ค.ศ. 1984-1985 กลับเป็นการสะสมปัญหาที่ยุ่งยากมากขึ้นไปอีก ขณะเดียวกันโซเวียตตกอยู่ในฐานะต้องพึ่งพาอาศัยประเทศภาคตะวันตกมากขึ้นทุก ขณะ ทั้งในด้านวิชาการทางเทคโนโลยี และในทางโภคภัณฑ์ธัญญาหารที่จำเป็นแก่การดำรงชีวิตของพลเมืองของตน ยิ่งไปกว่านั้น การที่เกิดการแข่งขันกันใหม่ด้านอาวุธยุทโธปกรณ์กับสหรัฐอเมริกา โดยเฉพาะแผนยุทธการของสหรัฐฯ ที่เรียกว่า SDI (U.S. Strategic Defense Initiative) ทำให้ต้องแบกภาระอันหนักอึ้งทางการเงินด้วยเหตุนี้โซเวียตจึงต้องทำการ ประเมินเป้าหมายและทิศทางการป้องกันประเทศใหม่ นโยบายหลักของกอร์บาซอฟนี่เองทำให้โซเวียตต้องหันมาญาติดี รวมถึงทำความตกลงกับสหรัฐฯ ในรูปสนธิสัญญาว่าด้วยกำลังนิวเคลียร์ในรัศมีปานกลาง (Intermediate Range Force หรือ INF) ซึ่งได้ลงนามกันในกรุงวอชิงตันเมื่อปี ค.ศ. 1987เหตุการณ์นี้ถือกันว่าเป็นมาตรการที่มีความสำคัญที่สุดในด้านการควบคุม ยุทโธปกรณ์ตั้งแต่เริ่มสงครามเย็น (Cold War) ในปี ค.ศ. 1946 เป็นต้นมา และเริ่มมีผลกระทบต่อทิศทางในการที่โซเวียตเข้าไปพัวพันกับประเทศ อัฟกานิสถาน แอฟริกาภาคใต้ ภาคตะวันออกกลาง และอาณาเขตอ่าวเปอร์เซีย กอร์บาชอฟถึงกับประกาศยอมรับว่า การรุกรานประเทศอัฟกานิสถานเป็นการกระทำที่ผิดพลาด พร้อมทั้งถอนกองกำลังของตนออกไปจากอัฟกานิสถานเมื่อปี ค.ศ. 1989 อนึ่ง เชื่อกันว่าการที่ต้องถอนทหารคิวบาออกไปจากแองโกล่า ก็เป็นเพราะผลกระทบจากนโยบายหลักของกอร์บาชอฟ ซึ่งได้เปลี่ยนท่าทีและบทบาทใหม่ของโซเวียตในภูมิภาคตอนใต้ของแอฟริกานั้น เอง ส่วนในภูมิภาคตะวันออกกลาง นโยบายหลักของกอร์บาชอฟได้เป็นผลให้ นายเอ็ดวาร์ด ชวาดนาเซ่ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ซึ่งเป็นผู้ที่ได้รับการแต่งตั้งจากนายกอร์บาชอฟ เริ่มแสดงสันติภาพใหม่ๆ เช่น ทำให้โซเวียตกลับไปรื้อฟื้นสัมพันธภาพทางการทูตกับประเทศอิสราเอล ทำนองเดียวกันในเขตอ่าวเปอร์เซีย โซเวียตก็พยายามคืนดีด้านการทูตกับประเทศอิหร่าน เป็นต้นการเปลี่ยนทิศทางใหม่ทั้งหลายนี้ ถือกันว่ายังผลให้มีการเปลี่ยนแปลงนโยบายภายในประเทศทั้งด้านเศรษฐกิจและ ด้านสังคมของโซเวียต อันสืบเนื่องมาจากนโยบาย Glasnost and Perestroika ที่กล่าวมาข้างต้นนั่นเองในที่สุด เหตุการณ์ทั้งหลายเหล่านี้ก็ได้นำไปสู่การล่มสลายอย่างกะทันหันของสหภาพ โซเวียตเมื่อปี ค.ศ. 1991 พร้อมกันนี้ โซเวียตเริ่มพยายามปรับปรุงเปลี่ยนแปลง รวมทั้งปรับโครงสร้างทางเศรษฐกิจการเมืองของประเทศให้ทันสมัยอย่างขนานใหญ่ นำเอาทรัพยากรที่ใช้ในด้านการทหารกลับไปใช้ในด้านพลเรือน พฤติกรรมเหล่านี้ทำให้เกิดจิตใจ (Spirit) ของการเป็นมิตรไมตรีต่อกัน (Détente) ขึ้นใหม่ในวงการการเมืองโลก เห็นได้จากสงครามอ่าวเปอร์เซีย ซึ่งโซเวียตไม่เล่นด้วยกับอิรัก และหันมาสนับสนุนอย่างไม่ออกหน้ากับนโยบายของประเทศฝ่ายสัมพันธมิตรนัก วิเคราะห์เหตุการณ์ต่างประเทศหลายคนเห็นพ้องต้องกันว่า การที่เกิดการผ่อนคลาย และแสวงความเป็นอิสระในยุโรปภาคตะวันออกอย่างกะทันหันนั้น เป็นผลจากนโยบายหลักของกอร์บาชอฟโดยตรง คือเลิกใช้นโยบายของเบรสเนฟที่ต้องการให้สหภาพโซเวียตเข้าแทรกแซงอย่างจริง จังในกิจการภายในของกลุ่มประเทศยุโรปตะวันออก กระนั้นก็ยังมีความรู้สึกห่วงใยกันไม่น้อยว่า อนาคตทางการเมืองของกอร์บาชอฟจะไปได้ไกลสักแค่ไหน รวมทั้งความผูกพันเป็นลูกโซ่ภายในสหภาพโซเวียตเอง ซึ่งยังมีพวกคอมมิวนิสต์หัวรุนแรงหลงเหลืออยู่ภายในประเทศอีกไม่น้อย เพราะแต่เดิม คณะพรรคคอมมิวนิสต์ในสหภาพโซเวียตนั้น เป็นเสมือนจุดรวมที่ทำให้คนสัญชาติต่าง ๆ กว่า 100 สัญชาติภายในสหภาพ ได้รวมกันติดภายในประเทศที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในโลก คือมีพื้นที่ประมาณ 1 ใน 6 ส่วนของพื้นที่โลก และมีพลเมืองทั้งสิ้นประมาณ 280 ล้านคนจึงสังเกตได้ไม่ยากว่า หลังจากสหภาพโซเวียตล่มสลายไปแล้ว พวกหัวเก่าและพวกที่มีความรู้สึกชาตินิยมแรง รวมทั้งพลเมืองเผ่าพันธุ์ต่างๆ เกิดความรู้สึกไม่สงบ เพราะมีการแก่งแย่งแข่งกัน บังเกิดความไม่พอใจกับภาวะเศรษฐกิจที่ตนเองต้องเผชิญอยู่ จึงเป็นสาเหตุที่ทำให้จักรวรรดิของโซเวียตต้องแตกออกเป็นส่วน ๆ เช่น มีสาธารณรัฐที่มีอำนาจ ?อัตตาธิปไตย? (Autonomous) หลายแห่ง ต้องการมีความสัมพันธ์ในรูปแบบใหม่กับรัสเซีย เช่น สาธารณรัฐยูเกรน ไบโลรัสเซีย มอลดาเวีย อาร์เมเนีย และอุสเบคิสถาน เป็นต้น แต่ก็เป็นการรวมกันอย่างหลวม ๆ มากกว่า และอธิปไตยที่เป็นอยู่ขณะนี้ดูจะเป็นอธิปไตยที่มีขอบเขตจำกัดมากกว่าเช่นกัน โดยเฉพาะสาธารณรัฐมุสลิมในสหภาพโซเวียตเดิม ซึ่งมีพลเมืองรวมกันเกือบ 50 ล้านคน ก็กำลังเป็นปัญหาต่อเชื้อชาติสลาฟ และการที่พวกมุสลิมที่เคร่งครัดต่อหลักการเดิม (Fundamentalism) ได้เปิดประตูไปมีความสัมพันธ์อันดีกับประะเทศอิหร่านและตุรกีจึงทำให้มีข้อ สงสัยและครุ่นคิดกันว่า เมื่อสหภาพโซเวียตแตกสลายออกเป็นเสี่ยง ๆ ดังนี้แล้ว นโยบายหลักของกอร์บาชอฟจะมีทางอยู่รอดต่อไปหรือไม่ ซึ่งเป็นเรื่องที่ถกเถียงและอภิปรายกันอยู่พักใหญ่และแล้ว เมื่อวันที่ 19 สิงหาคม ค.ศ. 1991 ก็ได้เกิดความพยายามที่จะถอยหลังเข้าคลอง คือกลับนโยบายผ่อนเสรีของ Glasnost และ Perestroika ทั้งภายในประเทศและภายนอกประเทศโดยมีผุ้ที่ไม่พอใจได้พยายามจะก่อรัฐประหาร ขึ้นต่อรัฐบาลของนายกอร์บาชอฟ แม้การก่อรัฐประหารซึ่งกินเวลาอยู่เพียงไม่กี่วันจะไม่ประสบผลสำเร็จ แต่เหตุการณ์นี้ก่อให้เกิดผลสะท้อนลึกซึ้งมาก คือเป็นการแสดงว่า อำนาจของรัฐบาลกลางย้ายจากศูนย์กลางไปอยู่ตามเขตรอบนอกของประเทศ คือสาธารณรัฐต่างๆ ซึ่งก็ต้องประสบกับปัญหานานัปการ จากการที่ประเทศเป็นภาคีอยู่กับสนธิสัญญาระหว่างประเทศต่างๆ โดยเฉพาะความตกลงเกี่ยวกับการควบคุมอาวุธยุทโธปกรณ์ ซึ่งสหภาพโซเวียตเดิมได้ลงนามไว้หลายฉบับผู้นำของสาธารณรัฐที่ใหญ่ที่สุดคือ นายบอริส เยลท์ซินได้ประกาศว่า สหพันธ์รัฐรัสเซียยังถือว่า พรมแดนที่เป็นอยู่ขณะนี้ย่อมเปลี่ยนแปลงแก้ไขได้ ไม่ใช่เป็นสิ่งที่จะแก้ไขเสียมิได้และในสภาพการณ์ด้านต่างประทเศที่เป็นอยู่ ในขณะนี้ การที่โซเวียตหมดสภาพเป็นประเทศอภิมหาอำนาจ ทำให้โลกกลับต้องประสบปัญหายากลำบากหลายอย่าง โดยเฉพาะอย่างยิ่งปัญหาเศรษฐกิจระหว่างสาธารณรัฐต่างๆ ที่เคยสังกัดอยู่ในสหภาพโซเวียตเดิม จึงเห็นได้ชัดว่า สหภาพโซเวียตเดิมได้ถูกแทนที่โดยการรวมตัวกันระหว่างสาธารณรัฐต่างๆ อย่างหลวมๆ ในขณะนี้ คล้ายกับการรวมตัวกันระหว่างสาธารณรัฐภายในรูปเครือจักรภพหรือภายในรูป สมาพันธรัฐมากกว่า และนโยบายหลักของกอร์บาชอฟก็ได้ทำให้สหภาพโซเวียตหมดสภาพความเป็นตัวตนใน เชิงภูมิรัฐศาสตร์ (Geopolitics) [การทูต] |
Additives | สารเคมีที่เติมเข้าไปในยางเพียงเล็กน้อยเพื่อปรับปรุงสมบัติต่างๆ ตามต้องการ สารเติมแต่งมีด้วยกันหลายประเภท ตัวอย่างเช่น สารต้านปฏิกิรยาออกซิเดชัน สารกันไฟฟ้าสถิต สารเพิ่มสี สารหน่วงการติดไฟ เป็นต้น [เทคโนโลยียาง] |
Anticoagulant | สารเคมีที่เติมลงในน้ำยางเพื่อหน่วงปฏิกิริยาจากแบคทีเรียที่ทำให้ อนุภาคยางที่แขวนลอยอยู่ในตัวกลางมารวมตัวกันเป็นก้อนที่มีขนาดใหญ่ขึ้น ซึ่งจะทำให้น้ำยางเสียสภาพ ตัวอย่างสารต้านการจับตัว เช่น แอมโมเนีย [เทคโนโลยียาง] |
Chloroprene rubber | ยาง CR เป็นยางสังเคราะห์ที่ได้จากมอนอเมอร์ของคลอโรพรีน มีทั้งประเภทที่ใช้งานทั่วไปและประเภทใช้งานพิเศษ เช่น ทำกาวยาง ยางใช้เคลือบ และวัสดุอุดรอยรั่ว เป็นต้น เนื่องจากโมเลกุลของยาง CR สามารถจัดเรียงตัวได้อย่างเป็นระเบียบภายใต้สภาวะที่เหมาะสม ยางชนิดนี้จึงสามารถตกผลึกได้เช่นเดียวกับยางธรรมชาติ มีค่าความทนต่อแรงดึงสูง มีค่าความทนต่อการฉีกขาดและความต้านทานต่อการขัดถูสูง ยาง CR มีสมบัติทนต่อน้ำมันได้ปานกลางถึงดี และทนต่อความร้อน แสงแดด และโอโซนได้ค่อนข้างดี และยังมีสมบัติการหน่วงไฟ จึงนิยมนำไปใช้ในการผลิตเป็นผลิตภัณฑ์ยางที่ใช้ในงานภายนอกอาคาร เช่น ยางขอบหน้าต่าง ยางรองคอสะพาน ยางปลอกสายเคเบิล เป็นต้น [เทคโนโลยียาง] |
Flame retardant or Flame retarder | สารเคมีที่เติมลงไปเพื่อช่วยหน่วงการติดไฟของผลิตภัณฑ์ โดยสารเคมีนี้จะสลายตัวให้แก๊ส หรือสารที่ไม่ติดไฟเมื่อได้รับความร้อน ตัวอย่างสารหน่วงการติดไฟ เช่น แอนติโมนีออกไซด์ อะลูมิเนียมไฮดรอกไซด์ เป็นต้น [เทคโนโลยียาง] |
Retarder | สารหน่วงปฏิกิริยา คือ สารเคมีซึ่งลดอัตราเร็วการเกิดปฏิกิริยาเคมี เมื่อนำมาใส่ในยางจะช่วยเพิ่มระยะเวลาก่อนที่ยางจะเริ่มเกิดปฏิกิริยาคงรูป ช่วยลดโอกาสของการเกิดยางตายทั้งในระหว่างการเก็บรักษาและระหว่างกระบวนการ ขึ้นรูป [เทคโนโลยียาง] |
retarder | retarder, สารหน่วงการแข็งตัว [เทคนิคด้านการชลประทานและการระบายน้ำ] |
acoustic memory | หน่วยความจำเชิงเสียงเป็นหน่วยความจำของคอมพิวเตอร์ ที่ใช้สายหน่วงเสียง (acoustic delay line) ซึ่งใช้ปรอทหรือ ควอร์ทซ์ (quartz) เป็นสื่อ |
defer | (ดีเฟอร์') { deferred, deferring, defers } v. คล้อย, อนุโลม, เชื่อตาม, ทำตาม, ยึดเวลา, หน่วงเหนี่ยว, ผลัดผ่อน, ทำให้ล่าช้า, See also: deferable adj. ดูdefer deference n. ดูdefer |
detain | (ดีเทน') vt. กักตัว, หน่วงเหนี่ยว, ทำให้ช้า, ยับยั้ง., See also: detainable adj. detainment n., Syn. keep |
dissuade | (ดิสเวด') vt. ชักชวนไม่ให้ทำ, หน่วงเหนี่ยว, ห้ามปราม, ยับยั้ง., See also: dissuadable adj. ดูdissuade dissuader n. ดูdissuade, Syn. discourage, avert, warn, Ant. encourage |
dissuasion | (ดิสเว'เชิน) n. การชักชวนไม่ให้ทำ, การหน่วงเหนี่ยว, การห้ามปราม, การยับยั้ง |
dissuasive | (ดิสเว'ซิฟว) adj. ซึ่งหน่วงเหนี่ยว, ซึ่งห้ามปราม, ซึ่งยับยั้ง., See also: dissuasiveness n. ดูdissuasive |
foe | (โฟ) n. ศัตรู, ข้าศึก, ปรปักษ์, คู่ต่อสู้, ผู้หน่วงเหนี่ยว, ผู้ต่อต้าน, สิ่งที่เป็นภัย |
holdout | n. การยึดหน่วง, คนที่ไม่ยอมเข้าร่วมกิจการ |
impede | (อิมพีด') vt. ต้าน, ต้านทาน, ขัดขวาง, หน่วงเหนี่ยว., See also: impeder n., Syn. retard |
impedient | (อิมพี' เดียนทฺ) adj. ซึ่งต้าน, ซึ่งได้ขวาง, ซึ่งหน่วงเหนี่ยว. -n. สิ่งที่ต้าน, สิ่งที่ขัดขวาง, สิ่งที่หน่วงเหนี่ยว, Syn. impeding |
impediment | (อิมเพด' ดะเมินทฺ) n. การต้านทาน, การขัดขวาง, การหน่วงเหนี่ยว, อุปสรรค, การพูดติดอ่าง, ความบกพร่องในการพูด, สิ่งที่ขัดขวางการแต่งงาน (โดยเฉพาะความสัมพันธ์ทางครอบครัว), See also: impedimental, impedimentary adj., Syn. barr |
keep | (คีพ) { kept, kept, keeping, keeps } v. เก็บ, สงวนไว้, กักขัง, ป้องกันรักษา, หน่วงเหนี่ยว, ธำรงไว้, ผดุงไว้, กักตัว, ดำเนินกิจการ, ยังคงเป็นอยู่ การรักษาไว้, การสนับสนุน, ตัวตึกที่แข็งแรงที่สุดของปราสาทสมัยกลาง, ส่วนที่แข็งแกร่ง แน่นหนาที่สุด, คุก. -Phr. (forkeeps ด้วยควา |
onerous | (ออน'เนอรัส, โอ'เนอรัส) adj. เป็นภาระ, ลำบาก, ยากยิ่ง, หนักหน่วง, See also: onerousness n. |
pocket | (พอค'คิท) n. กระเป๋าเสื้อหรือกางเกง, ถุงเล็ก, หลุม, หลุมแร่, หลุมบิลเลียด, โพรง, ช่อง. adj. เล็กจนใส่กระเป๋าได้, ค่อนข้างเล็ก vt. ใส่กระเป๋า, มี, ครอบครอง, ปิดบัง, ห้อมล้อม, แทง (ลูกบิลเลียด) ลงหลุม, อดกลั้น, ข่มความรู้สึก, หน่วงเหนี่ยว -Phr. (in one's pocket ที่มีครอบ |
pound | (เพาดฺ) n. ปอนด์ (หน่วยน้ำหนัก) , ปอนด์ vt., n. (การ) ทุบ, ต่อย, ตี, ตำ, บด, กรอกใส่, ยิงกระหน่ำ, เดินด้วยฝีเท้าที่หนักหน่วง. |
procrastinate | (โพรแครส'ทิเนท) vi., vt. หน่วงเหนี่ยว, ทำให้ชักช้า, ผลัดวันประกันพรุ่ง, เลื่อน, See also: procrastination n. procrastinative, procrastinatory adj. procrastinator n., Syn. put off |
prolong | (พระลอง') vt. ทำให้ยาวออก, ยืดออก, ต่อ, ขยายออก, หน่วงเหนี่ยว., See also: prolongation n. prolonger n. prolongment n., Syn. lengthen |
restraint | (รีสเทรนทฺ') n. การยับยั้ง, การหยุดยั้ง, การหักห้าม, การอดกลั้น, การกลั้น, การห้ามปราม, การดึงบังเหียน, การหน่วงเหนี่ยว, วิธีการยังยั้งดังกล่าว, การข่มใจ, Syn. constraint, rein |
retard | (รีทาร์ด') vt., vi., n. (การ) ทำให้ช้า, ขัดขวาง, ถ่วง, หน่วง, ทำให้ลดความเร็ว, เป็นอุปสรรค, See also: retardingly adv., Syn. delay, impede |
retarded | (รีทาร์'ดิด) adj. ปัญญาอ่อน, ชักช้า, หน่วงเหนี่ยว |
soldier | (โซล'เจอะ) n. ทหาร, ทหารประจำการ, ผู้เชี่ยวชาญการทหาร, ผู้รับใช้, มดหรือปลวกที่มีขากรรไกรแข็งแรง, มดทหาร, ปลวกทหาร vi. เป็นทหาร, ทำหน้าที่ทหาร, หน่วงเหนี่ยวงาน |
stall | (สทอล) n. คอก, คอกสัตว์, แผงลอย, ที่นั่งยกพื้นของพระในโบสถ์ฝรั่ง, ที่นั่งแถวยาวในโบสถ์หรือโรงละคร, ข้ออ้าง, หน้าม้า, การหน่วงเหนี่ยว vt. ใส่คอก, ทำให้หยุด vi. หยุดกลางคัน, หยุด, ติดขัด, อยู่ในคอก vi., vt. หน่วงเหนี่ยว, ล่อ, ถ่วงเวลา, See also: stalls n. ที่นั่ง |
stay | (สเท) vi. อยู่, พักอยู่, คงอยู่, ยืนหยัด. vt. หยุด, ยั้ง, ควบคุม, สกัด, หน่วงเหนี่ยว, คอย, สนับสนุน n. การอยู่, การพักอยู่, การหยุดอยู่, การค้างอยู่, การเลื่อนการพิจารณา, สิ่งค้ำ, เครื่องค้ำ, สิ่งยึด, เครื่องรัดหน้าท้องหญิง, เชือกโยง, เสื้อในรัดรูป, แกงแนง, stays เครื่องวัดลำตัวผู้หญิง |
stint | (สทินทฺ) vt., vi., n. (การ) จำกัด, หน่วงเหนี่ยว, หวง, ยุติ, ประหยัด, ตระหนี่, หยุดทำ, ยับยั้ง, ควบคุม, ปริมาณจำกัด, จำนวนจำกัด, งานที่น่าเบื่อ, งานที่กำหนดปริมาณ, การหยุด., See also: stintedly adv. stintedness n. stinter n. stintingly adv. |
tarry | (แท'รี) vi., n. (การ) พักแรม, เลือนไป, ล่าช้า, เชื่องช้า, รีรอ, หน่วงเหนี่ยว, คอย vt. คอย adj. เหมือนน้ำมันดิน, ทาด้วยน้ำมันดิน, See also: tarrier n., Syn. linger, remain |
temporise | (เทม'พะไรซ) vi. หน่วงเหนี่ยว, เล่นกลอนสด, ดำเนินนโยบายชั่วคราว, รับมือชั่วคราว, ประนีประนอม, See also: temporisation n. temporiszation n. temporiser n. temporiszer n., Syn. filibuster, stall |
temporize | (เทม'พะไรซ) vi. หน่วงเหนี่ยว, เล่นกลอนสด, ดำเนินนโยบายชั่วคราว, รับมือชั่วคราว, ประนีประนอม, See also: temporisation n. temporiszation n. temporiser n. temporiszer n., Syn. filibuster, stall |