54 Results for *อนุโลม*
หรือค้นหา: อนุโลม, -อนุโลม-

NECTEC Lexitron-2 Dictionary (TH-EN)
อนุโลม(v) allow to grant, See also: let, permit, Syn. ผ่อนปรน, ยินยอม, ยอม, ผ่อนผัน, Example: ถึงแม้ว่าภาษามาเลย์จะเป็นภาษาราชการก็ตามแต่ก็ได้อนุโลมให้ใช้ภาษาอังกฤษได้ในบางกรณี, Thai Definition: ใช้แทนกันได้ตามความเหมาะสม, คล้อยตาม
อนุโลม(v) adapt, See also: modify, be able to be adapted, be adaptable, Example: กฎหมายบัญญัติให้นำประมวลวิธีพิจารณาความแพ่งมาใช้บังคับโดยอนุโลมในกรณีที่มีคดีมาสู่ศาลหรือมีผู้ยื่นคำร้องขอต่อศาล, Thai Definition: นำมาใช้โดยอาศัยหลักการอย่างเดียวกันแต่ให้แก้ไขในรายละเอียดได้ตามควรแก่กรณี, Notes: (กฎหมาย)

พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔
อนุโลมก. ใช้แทนกันได้ตามความเหมาะสม, คล้อยตาม
อนุโลมนำมาใช้โดยอาศัยหลักการอย่างเดียวกันแต่ให้แก้ไขในรายละเอียดได้ตามควรแก่กรณี.
อนุโลมว. ตามลำดับ เช่น ท่องแบบอนุโลม, คู่กับ ปฏิโลม คือ ย้อนลำดับ.
กระทะ ๑น. ภาชนะสำหรับใช้ผัดหรือทอดเป็นต้น มีรูปร่างต่าง ๆ ตามปรกติมีก้นลึก ปากผาย ต่อมาอนุโลมเรียกภาชนะที่ใช้ในลักษณะเช่นนั้นแม้มีก้นตื้นหรือแบน ทั้งชนิดที่มีขอบและไม่มีขอบว่า กระทะ เช่น กระทะขนมเบื้อง กระทะโรตี.
กราบ ๒(กฺราบ) ก. แสดงความเคารพด้วยวิธีนั่งประนมมือขึ้นเสมอหน้าผาก แล้วน้อมศีรษะลงจดพื้น, ถ้าหมอบแล้วน้อมศีรษะลงจดมือที่ประนมอยู่กับพื้น เรียกว่า หมอบกราบ, ประนมมือเสมอหน้าผาก แล้วน้อมศีรษะลงจดมือที่วางอยู่ ณ ที่ใดที่หนึ่ง ก็อนุโลมถือว่าเป็นกราบ เช่น กราบลงบนตัก, เรียกกราบโดยให้อวัยวะทั้ง ๕ คือ เข่าทั้ง ๒ มือทั้ง ๒ และหน้าผาก จดลงกับพื้นว่า กราบโดยเบญจางคประดิษฐ์ เป็นอาการแสดงความเคารพอย่างสูงสุด, โดยปริยายใช้เป็นคำแสดงอาการเคารพเหมือนอย่างกราบ เช่น กราบทูล กราบเรียน.
กล้า ๑(กฺล้า) น. ต้นข้าวอ่อนที่เพาะจากข้าวเปลือกสำหรับย้ายไปปลูกที่อื่น, โดยอนุโลมเรียกพืชที่เพาะไว้สำหรับย้ายไปปลูกในที่อื่น ว่า กล้า เช่น กล้าพริก กล้ามะเขือ.
ขวัญสิ่งที่ไม่มีตัวตน เชื่อกันว่ามีอยู่ประจำชีวิตของคนตั้งแต่เกิดมา ถ้าขวัญอยู่กับตัวก็เป็นสิริมงคล เป็นสุขสบายจิตใจมั่นคง ถ้าคนตกใจหรือเสียขวัญ ขวัญก็ออกจากร่างไป ซึ่งเรียกว่า ขวัญหาย ขวัญหนี ขวัญบิน เป็นต้น ทำให้คนนั้นได้รับผลร้ายต่าง ๆ, เรียกผู้ตกใจง่ายคือ เด็กหรือหญิงซึ่งมักจะขวัญหายบ่อย ๆ ว่า ขวัญอ่อน , และอนุโลมใช้ไปถึงสัตว์หรือสิ่งของบางอย่าง เช่น ช้าง ม้า ข้าว เรือน ฯลฯ ว่ามีขวัญเช่นเดียวกับคนเหมือนกัน, โดยปริยายหมายความว่า ยอดกำลังใจ เช่น ขวัญเมือง ว่า ยอดกำลังใจของเมือง
คูหาโดยอนุโลมใช้เรียกช่องที่กั้นไว้เป็นสัดส่วนสำหรับใช้ประโยชน์อย่างใดอย่างหนึ่ง เช่น คูหาลงคะแนนในที่เลือกตั้งสำหรับใช้ในการกาบัตรออกเสียงลงคะแนนเลือกตั้ง.
งอมว. สุกจัดจนเกือบเน่าหรือเละ เช่น กล้วยงอม มะม่วงงอม, โดยอนุโลมใช้กับคนที่แก่มากจนทำอะไรไม่ไหว เช่น ปีนี้คุณยายดูงอมมาก, โดยปริยายหมายความว่า แย่ เช่น ถูกใช้ให้ทำงานเสียงอม, บอบชํ้า เช่น ถูกตีเสียงอม, ได้รับทุกข์ทรมานมาก เช่น เป็นไข้เสียงอม.
จันทรกลา(-กะลา) น. เสี้ยวที่ ๑๖ ของดวงจันทร์, โดยอนุโลมหมายถึงงามเหมือนแสงจันทร์อ่อน ๆ นวลตา เช่น ลางล้วนเผือกผ่องคือคิรี ไกลาสรูจี แลพรายคือจันทรกลา (สมุทรโฆษ).
ดำ ๓ว. สีอย่างสีเขม่าไฟจับก้นหม้อ, ใช้ประกอบสิ่งต่าง ๆ บางอย่างโดยอนุโลมตามลักษณะสี เป็นชื่อเรียกเฉพาะ เช่น ผ้าดำ เต่าดำ มดดำ.
แดง ๑ว. สีอย่างสีเลือดหรือสีชาด, ใช้ประกอบสิ่งต่าง ๆ บางอย่างโดยอนุโลมตามลักษณะสี เป็นชื่อเรียกเฉพาะ เช่น มดแดง ผ้าแดง.
ตาลปัตร(ตาละปัด) น. พัดทำด้วยใบตาล มีด้ามยาว สำหรับพระภิกษุถือบังหน้าในพิธีกรรมเช่นในเวลาให้ศีล ต่อมาอนุโลมเรียกพัดที่ทำด้วยผ้าหรือไหมซึ่งมีลักษณะคล้ายคลึงเช่นนั้นว่า ตาลปัตร ด้วย, ตาลิปัตร ก็ว่า.
ทอง ๑เรียกสิ่งที่ทำด้วยทองเหลือง ว่า ทอง ก็มี เช่น กระทะทอง หม้อทอง, โดยปริยายหมายถึงสีเหลือง ๆ อย่างสีทอง เช่น เนื้อทอง ผมทอง แสงทอง, ใช้ประกอบสิ่งต่าง ๆ บางอย่างโดยอนุโลมตามลักษณะสี เป็นชื่อเรียกเฉพาะ เช่น ขนมทอง คือขนมชนิดหนึ่ง รูปวงกลม มีนํ้าตาลหยอดข้างบน, ปลาทอง คือปลาชนิดหนึ่ง ตัวสีเหลืองหรือแดงส้ม.
นิคหิต(นิกคะหิด) น. ชื่อเครื่องหมายรูปดังนี้ &npsp;ํ ในภาษาบาลีและสันสกฤตมีเสียงอ่านเหมือนตัว ง และ ม สะกด ในภาษาไทยก็อนุโลมใช้ตาม เช่น จํหัน อ่านว่า จังหัน ชุ&npsp;ํนุ&npsp;ํ อ่านว่า ชุมนุม, นฤคหิต หรือ หยาดนํ้าค้าง ก็เรียก.
นิ้วน. ส่วนสุดของมือหรือเท้าแต่ละข้าง แยกออกเป็น ๕ กิ่ง คือ นิ้วหัวแม่มือ นิ้วชี้ นิ้วกลาง นิ้วนาง นิ้วก้อย, ราชาศัพท์ว่า พระอังคุฐ พระดัชนี พระมัชฌิมา พระอนามิกา พระกนิษฐา โดยลำดับ, ถ้าเป็นนิ้วเท้านิ้วต้น เรียกว่า นิ้วหัวแม่เท้า นอกนั้นอนุโลมเรียกตามนิ้วมือ
โบสถ์น. สถานที่สำหรับพระสงฆ์ใช้ประชุมทำสังฆกรรม เช่น สวดพระปาติโมกข์ อุปสมบท มีสีมาเป็นเครื่องบอกเขต, อนุโลมเรียกสถานที่ประกอบพิธีกรรมของศาสนาอื่นว่า โบสถ์ เช่น โบสถ์พราหมณ์ โบสถ์คริสต์. (มาจากคำว่า อุโบสถ).
ประเทียบ ๒เรียกรถฝ่ายใน ว่า รถพระประเทียบ, เรียกเรือฝ่ายใน ว่า เรือพระประเทียบ, โดยอนุโลมเรียกรถประจำตำแหน่งสมเด็จพระสังฆราช ว่า รถพระประเทียบ.
ผ้าสาลูน. ผ้าขาวบางเนื้อละเอียด, ในปัจจุบันอนุโลมเรียกผ้าขาวบางเนื้อนุ่ม มักใช้ทำเป็นผ้าอ้อม ว่า ผ้าสาลู ด้วย.
แฝด ๑ว. เป็นคู่ (ใช้เรียกลูกที่เกิดจากท้องแม่เดียวกัน ในระยะเวลาเดียวกันหรือใกล้กัน) เช่น มีลูกแฝด, โดยอนุโลมเรียกลูกที่เกิดจากท้องแม่คนเดียวกันแม้เกินกว่า ๒ คนก็ได้ เช่น แฝด ๓ แฝด ๖, ติดกันเป็นคู่ เช่น มะม่วงแฝด ผลไม้แฝด.
พระพระเจ้า, พระเยซู, (ตามที่คริสต์ศาสนิกชนในเมืองไทยใช้อนุโลมเรียก) เช่น พระลงโทษ แม่พระ
พลุ(พฺลุ) น. ดอกไม้เพลิงชนิดหนึ่ง บรรจุดินปืนในกระบอกไม้ไผ่ เมื่อจุดมีเสียงระเบิดดังคล้ายเสียงปืน, โดยอนุโลมเรียกดอกไม้เพลิงอย่างอื่นที่จุดมีเสียงระเบิดดังเช่นนั้น ว่า พลุ.
มุ้งลวดน. มุ้งที่ทำด้วยตาข่ายลวดตาละเอียด, โดยอนุโลมเรียกห้องที่ใช้ตาข่ายลวดตาละเอียดกรุประตู หน้าต่าง และช่องลมเพื่อกันยุงหรือแมลง ว่า ห้องมุ้งลวด.
รัชกาลน. ช่วงเวลาที่ครองราชสมบัติของพระมหากษัตริย์พระองค์หนึ่ง ๆ, โดยอนุโลมใช้หมายถึงพระมหากษัตริย์รัชกาลนั้น ๆ เช่น รัชกาลที่ ๕ เสด็จประพาสต้น.
ลูกเรียกสิ่งที่มีรูปกลม ๆ หรือยาว ๆ หรือโดยอนุโลมว่า ลูก เช่น ลูกกุญแจ ลูกเต๋า ลูกหิน
ฦ, ฦๅ ๑วิธีเขียนเสียง ลึ ลือ แต่บัญญัติเขียนเป็นอีกรูปหนึ่งต่างหาก อนุโลมตามอักขรวิธีของสันสกฤต.
สาบ ๓น. เรียกผ้าทาบที่อกเสื้อสำหรับติดดุมและเจาะรังดุม ว่า สาบเสื้อ, ปัจจุบันอนุโลมเรียกผ้าทาบที่คอ แขน กระเป๋า เป็นต้น เพื่อให้หนาขึ้น ว่า สาบคอ สาบแขน สาบกระเป๋า.
สาลูน. ผ้าขาวเนื้อบางละเอียด, ในปัจจุบันอนุโลม เรียกผ้าขาวบางเนื้อนุ่ม มักใช้ทำเป็นผ้าอ้อม ว่า ผ้าสาลู ด้วย.
หญ้า ๑ใช้อนุโลมเรียกพรรณไม้ขนาดเล็กบางชนิดที่มิได้อยู่ในวงศ์ Gramineae เช่น หญ้าเกล็ดหอย หญ้างวงช้าง.
อันวย-, อันวัย(อันวะยะ-) น. การเป็นไปตาม, การอนุโลมตาม, เช่น อันวยาเนกรรถประโยค.
อ้าย ๑โดยปริยายอนุโลมเรียกพี่ชายคนโต ว่า พี่อ้าย.
โอ ๓น. ภาชนะเครื่องเขินอย่างหนึ่งสำหรับใส่ของ รูปคล้ายขัน มีขนาดต่าง ๆ, ต่อมาได้อนุโลมเรียกขันเคลือบทรงสูง ว่า ขันโอ.

ศัพท์บัญญัติราชบัณฑิตยสถาน
apply mutatus mutandisใช้บังคับโดยอนุโลม [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
mutatis mutandis (L.)โดยอนุโลม [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
mutatis mutandis (L.)โดยอนุโลม [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]

Volubilis Dictionary (TH-EN-FR)
อนุโลม[anulōm] (v) EN: adapt (to) ; comply (with) ; accomodate ; be adaptable ; modify  FR: accéder ; satisfaire ; adapter
อนุโลมตาม[anulōm tām] (v) EN: bend ; follow ; yield and comply
โดยอนุโลม[dōi anulōm] (x) EN: by analogy ; mutatis mutandis
ไม่ยอมอนุโลม[mai yøm anulōm] (xp) EN: make no exceptions  FR: n'accepter aucune exception

NECTEC Lexitron Dictionary EN-TH
deferent(adj) ซึ่งอนุโลมได้, See also: เกี่ยวกับการคล้อยตาม, ซึ่งยอมให้ได้
deferred(adj) ยืดเวลา, See also: ยอมผ่อนผัน, ยอมอนุโลม, เลื่อนไปก่อน, Syn. ignore, postpone, waive
incompliant(adj) ไม่ยอมโอนอ่อนผ่อนตาม (คำทางการ), See also: ไม่ยินยอม, ไม่อนุโลม, Ant. compliant

Hope Dictionary
defer(ดีเฟอร์') { deferred, deferring, defers } v. คล้อย, อนุโลม, เชื่อตาม, ทำตาม, ยึดเวลา, หน่วงเหนี่ยว, ผลัดผ่อน, ทำให้ล่าช้า, See also: deferable adj. ดูdefer deference n. ดูdefer
deferent(เดฟ'เฟอเรินทฺ) adj. เกี่ยวกับการยอมตาม, เกี่ยวกับการคล้อยตาม, ซึ่งอนุโลม, ซึ่งนำส่ง, เกี่ยวกับการส่งออก, เกี่ยวกับท่อน้ำกาม
deferential(เดฟฟะเริน'เชิล) adj. น่าเคารพนับถือ, ซึ่งอนุโลม
incompliant(อินคัมไพล' เอินทฺ) adj. ไม่ยอม, ไม่ยินยอม, ไม่อนุโลม., See also: incompliance, incompliancy n.

Nontri Dictionary
comply(vi) ยินยอม, อนุโลม, เชื่อฟัง, ไม่ขัดขืน, ว่าง่าย
defer(vi) คล้อยตาม, ยอมตาม, อนุโลม, เชื่อตาม
deference(n) การคล้อยตาม, การยอมตาม, การอนุโลม, การเชื่อฟัง, ความเคารพ
deferential(adj) ซึ่งยอมตาม, ซึ่งอนุโลม, ว่าง่าย, นอบน้อม, น่าเคารพ
relative(adj) สัมพันธ์, เกี่ยวข้องกัน, ได้ส่วน, โดยอนุโลม, โดยอุปมา

Longdo Unapproved EN-TH
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
%mutatis mutandis%โดยอนุโลม

Time: 0.0215 seconds, cache age: 1.168 (clear)Longdo Dict -- https://dict.longdo.com/