การออกเสียงประชามติ | น. การขอความเห็นชอบจากประชาชนผู้มีสิทธิเลือกตั้ง ในเรื่องใดเรื่องหนึ่งที่อาจกระทบถึงประโยชน์ส่วนได้เสียของประเทศชาติหรือประชาชน โดยวิธีการให้ออกเสียงลงมติโดยตรง. |
ออกเสียง | ก. เปล่งเสียง |
ออกเสียง | ลงคะแนนเสียง |
ออกเสียง | ลงคะแนนเลือกตั้ง |
ออกเสียง | ออกความเห็น. |
กระหมุบกระหมิบ | ก. หมุบหมิบ, อาการที่ริมฝีปากเผยอขึ้นและหุบลงโดยเร็ว, อาการของปากที่พูดอย่างไม่ออกเสียง, เช่น ทำปากกระหมุบกระหมิบ สวดมนต์กระหมุบกระหมิบ. |
กระอ้อกระแอ้ | ว. อ้อแอ้, อาการออกเสียงของเด็กที่เริ่มหัดพูด, อาการที่พูดไม่ชัดอย่างคนเมา. |
กวน ๓ | น. กวาน, ชื่อตำแหน่งขุนนางในภาคอีสานสมัยโบราณ แต่ชาวอีสานบางถิ่นออกเสียงเป็น กวน เช่น บ้านเมืองข้อนขุนกวน ยาดไพร่. |
การันต์ | (การัน) น. “ที่สุดอักษร”, ตัวอักษรที่ไม่ออกเสียง ซึ่งมีไม้ทัณฑฆาตกำกับไว้ เช่นตัว “ต์” ในคำว่า “การันต์”, (ปาก) เรียกตัวอักษรที่มีไม้ทัณฑฆาตกำกับ เช่น ล์ ว่า ล การันต์ ค์ ว่า ค การันต์. |
ขมุบขมิบ | (ขะหฺมุบขะหฺมิบ) ก. อาการที่ริมฝีปากเผยอขึ้นและหุบลงโดยเร็ว, อาการของปากที่พูดอย่างไม่ออกเสียง, เช่น ทำปากขมุบขมิบ สวดมนต์ขมุบขมิบ, กระหมุบกระหมิบ หรือ หมุบหมิบ ก็ว่า. |
ขาน ๑ | ก. ออกเสียงพูดหรือตอบเป็นต้น เช่น ขานยาม ขานรับ. |
ขานรับ | ก. ออกเสียงตอบ เช่น พอครูเรียกชื่อ นักเรียนก็ขานรับ, ตอบรับ เช่น หน่วยราชการขานรับนโยบายของรัฐบาล. |
ขึ้นเสียง | ก. ออกเสียงดังด้วยความโกรธ |
เขย้อแขย่ง | (ขะเย่อขะแหฺย่ง) ก. กระเย้อกระแหย่ง, ออกเสียงว่า ขะเย้อขะแหย่ง ก็มี. |
คอแห้ง ๑ | ว. อาการที่คอไม่ชุ่มจนผากด้วยอยากดื่มน้ำเพราะต้องออกเสียงมากหรือเพราะกระหายน้ำเนื่องจากเดินหรือวิ่งมาเป็นระยะเวลาอันยาวนาน. |
คะแนนเสียง | น. คะแนนที่ลงในการออกเสียง. |
คำกร่อน | น. คำที่ลดเสียงสระและเสียงสะกด (ถ้ามี) ให้เป็นเสียง อะ โดยยังคงเสียงพยัญชนะต้นเสียงเดี่ยวหรือเสียงพยัญชนะต้นที่เป็นอักษรควบอักษรกล้ำไว้ มักจะเกิดในคำสองพยางค์ที่พยางค์แรกออกเสียงเบา เช่น หมากม่วง เป็น มะม่วง ต้นเคียน เป็น ตะเคียน อันหนึ่ง เป็น อนึ่ง แจ้นแจ้น เป็น จะแจ้น ขวักไขว่ เป็น ขวะไขว่ โครมโครม เป็น คระโครม, และมีปรากฏในคำพยางค์เดียวด้วย เช่น เสีย เป็น ซะ แล้ว เป็น ละ, แต่บางกรณีก็ลดเสียงสระและเสียงสะกด (ถ้ามี) ให้เป็นเสียง เออะ หรือ อึ เช่น เถิด เป็น เถอะ หรือ เป็น รึ. |
คำพ้องเสียง | น. คำที่ออกเสียงเหมือนกันแต่เขียนต่างกันและมีความหมายต่างกัน เช่น ใส-ไส-ไสย กาน-กาล-การ-การณ์, (โบ) ในหนังสือแบบเรียนภาษาไทยของพระยาศรีสุนทรโวหาร (น้อย อาจารยางกูร) เรียกคำพ้องเสียงว่า ไวพจน์. |
คูหา | โดยอนุโลมใช้เรียกช่องที่กั้นไว้เป็นสัดส่วนสำหรับใช้ประโยชน์อย่างใดอย่างหนึ่ง เช่น คูหาลงคะแนนในที่เลือกตั้งสำหรับใช้ในการกาบัตรออกเสียงลงคะแนนเลือกตั้ง. |
ฐานกรณ์ | (ถานกอน) น. ที่ตั้งและอวัยวะที่ทำให้เกิดเสียงในการออกเสียง. |
ฑ | (ทอ) พยัญชนะตัวที่ ๑๗ เรียกว่า ฑอ มณโฑ เป็นอักษรต่ำ ใช้เป็นพยัญชนะต้น ออกเสียงเป็น ด บ้าง เช่น บัณฑิต มณฑป หรือ ท บ้าง เช่น มณฑล มณฑา และเป็นตัวสะกดในมาตรากดหรือแม่กด เช่น ษัฑ. |
ตะโกน | ก. ออกเสียงดังกว่าปรกติเพื่อให้ได้ยิน. |
ตีเสียง | ก. ขึ้นเสียง, ออกเสียงดังด้วยความโกรธ, (เป็นคำที่ผู้ใหญ่ใช้ว่าผู้น้อย). |
ตี่ใบ้ | น. ชื่อการเล่นตี่ชนิดหนึ่งที่ผู้ตี่ไม่ทำเสียง “ตี่” ในเวลาเล่น คือต้องหุบปากตลอดเวลาการหุบปากเท่ากับการออกเสียงตี่ อ้าปากเมื่อใดเท่ากับสิ้นเสียงตี่เมื่อนั้น. |
ถุย | ออกเสียงดังเช่นนั้นแสดงกิริยาดูถูกดูหมิ่น. |
ทัก ๑ | ก. กล่าวเป็นเชิงเตือน, พูดโอภาปราศรัยด้วยอัธยาศัยไมตรีเมื่อพบหน้ากัน, กล่าวหรือออกเสียงให้ระวังหรือสังเกตว่าจะเป็นภัยตามลัทธิที่ถือกัน เช่น จิ้งจกทัก. |
ทัณฑฆาต | (ทันทะ-) น. ชื่อเครื่องหมายสำหรับฆ่าอักษรที่ไม่ต้องการออกเสียง มีรูปดังนี้ . |
ทำนองเสนาะ | น. วิธีการอ่านออกเสียงอย่างไพเราะตามลีลาของบทร้อยกรองประเภทโคลง ฉันท์ กาพย์ กลอน. |
โทรศัพท์ | น. ระบบโทรคมนาคมซึ่งใช้อุปกรณ์ทางไฟฟ้าเป็นเครื่องมือสื่อสารให้ติดต่อพูดถึงกันได้ในระยะไกลโดยใช้สายตัวนำโยงติดต่อถึงกัน และอาศัยอำนาจแม่เหล็กไฟฟ้าเป็นหลักสำคัญ. (อ. telephone), คำว่าโทรศัพท์ที่อยู่หน้าหมายเลขโทรศัพท์มักเขียนย่อว่า โทร. ออกเสียงว่า [ โท ]. |
นาง ๑ | คำเรียกหรือคำนำหน้าชื่อหญิงที่มีพฤติกรรมไม่ดีหรือน่ารังเกียจเป็นต้น เช่น นางแพศยา มักออกเสียงสั้นว่า นัง เป็น นังแพศยา |
เนียง ๑ | น. นาง (ออกเสียงตามเขมรที่เขียนว่า นาง). |
บังคับครุ | น. กฎเกณฑ์ของการประพันธ์ที่บัญญัติให้ใช้พยางค์ที่มีเสียงหนัก คือ พยางค์ที่ประกอบด้วยสระเสียงยาวทั้งที่มีตัวสะกดและไม่มีตัวสะกด เช่น มา ดี ขาว สาย พยางค์ที่ประกอบด้วยสระสั้นที่ออกเสียงอย่างมีตัวสะกดทั้ง ๔ คือ อำ ใอ ไอ เอา เช่น รำ ใจ และพยางค์ที่มีตัวสะกดทั้งสิ้น เช่น จัด เรียน. |
ประชามติ | มติของประชาชนที่รัฐให้สิทธิออกเสียงลงคะแนนรับรองร่างกฎหมายสำคัญที่ได้ผ่านสภานิติบัญญัติแล้ว หรือให้ตัดสินในปัญหาสำคัญในการบริหารประเทศ. (อ. referendum) |
ประชามติ | ดู การออกเสียงประชามติ ประกอบ. |
เปล่ง | (เปฺล่ง) ก. ฉายออก, แผ่ออก, เช่น เปล่งรัศมี, ออกเสียง เช่น เปล่งเสียง. |
ผ่อง ๒ | ก. ออกเสียงร้องว่า “ผ่อง” เมื่อเปิดไพ่ขึ้นมาเข้าตอง เป็นคำใช้ในการเล่นไพ่ผ่องไทยหรือจีน. |
พยัญชนะ | (พะยันชะนะ) น. เสียงพูดที่เปล่งออกมาโดยใช้อวัยวะส่วนต่าง ๆ ในปากและคอ เช่น เสียง ป โดยทั่วไปจะออกเสียงพยัญชนะร่วมกับเสียงสระ, เสียงพยัญชนะ ก็เรียก |
มติพิเศษ | น. มติของที่ประชุมใหญ่ผู้ถือหุ้นของบริษัทจำกัด ที่ได้ลงมติด้วยคะแนนเสียงข้างมากไม่ต่ำกว่าสามในสี่ของจำนวนเสียงทั้งหมดของผู้ถือหุ้นที่มาประชุมและมีสิทธิออกเสียงลงคะแนน. |
มาตรา | ระยะเวลาการออกเสียงสระสั้นยาว สระสั้น ๑ มาตรา สระยาว ๒ มาตรา. |
ไม้ ๒ | น. ชื่อเครื่องหมายกำกับตัวอักษร เพื่อบอกระดับเสียง เช่น ๋ เรียกว่า ไม้จัตวา, เพื่อบอกชนิดสระ เช่น ไ เรียกว่า ไม้มลาย, เพื่อให้อ่านซํ้า คือ ๆ เรียกว่า ไม้ยมก, หรือเพื่อไม่ให้ออกเสียงอ่าน คือเรียกว่า ไม้ทัณฑฆาต. |
ไม้ทัณฑฆาต | น. เครื่องหมายสำหรับฆ่าอักษรตัวที่ไม่ต้องออกเสียง รูปดังนี้ . |
ยะ ๒ | ว. คำออกเสียงลงท้ายวลีหรือประโยค ถือว่าไม่สุภาพ เช่น ของกินนะยะ ของถวายพระนะยะ จะรีบไปไหนยะ. |
ร | (รอ) พยัญชนะตัวที่ ๓๕ เรียกว่า รอ เรือ เป็นอักษรตํ่า ใช้เป็นพยัญชนะต้น และเป็นตัวสะกดในมาตรากนหรือแม่กน เช่น การ วาร, เมื่อสะกดพยัญชนะที่ไม่มีสระอื่นเกาะต้องอ่านเหมือนมีสระ ออ อยู่ด้วย เช่น กร (กอน) กุญชร (กุนชอน), ถ้าตามพยัญชนะอื่น แต่มิได้ทำหน้าที่เป็นตัวสะกดและมีพยางค์อื่นตาม พยัญชนะที่อยู่หน้าตัว ร มักออกเสียงประสมสระ ออ และตัว ร ออกเสียง ระ เช่น จรลี (จอ-ระ-ลี) หรดี (หอ-ระ-ดี). |
ร้อง | ก. เปล่งเสียงดัง, โดยปริยายหมายถึงออกเสียงดังเช่นนั้น เช่น ฟ้าร้อง จักจั่นร้อง, (ปาก) ใช้หมายความว่า ร้องเพลง ร้องไห้ ก็มี แล้วแต่คำแวดล้อมบ่งให้รู้ เช่น เพลงนี้ร้องเป็นไหม อย่าร้องให้เสียน้ำตาเลย. |
ร้องโยนยาว | ก. ออกเสียงร้องบอกลาก ๆ ช้า ๆ และยาวอย่างพวกฝีพายเรือพระที่นั่งบอกจังหวะ. |
ฤ ๑ | (รึ) เป็นรูปสระในภาษาสันสกฤต เมื่อไทยนำมาใช้ออกเสียงเป็น ริ รึ หรือ เรอ เช่น ฤทธิ์ [ ริด ] ฤดู [ รึดู ] ฤกษ์ [ เริก ]. |
ฤๅ ๑ | (รือ) เป็นรูปสระในภาษาสันสกฤต ซึ่งเป็นเสียงยาวของ ฤ เมื่อไทยนำมาใช้ออกเสียงเป็น รือ รี เช่น ฤๅษี [ รือสี ] ตฤๅ [ ตฺรี ]. |
ลดรูป | ก. ตัดรูปสระบางรูปออกเมื่อมีตัวสะกด แต่คงออกเสียงสระอย่างเดิม เช่น ในคำว่า ลง มี ล สระ โ–ะ ง สะกด ลดรูปสระ โ–ะ เป็น ลง. |
ลาป- ๒ | (ลาปะ-, ลาบ-) น. การพูด, การออกเสียง. |
ลิ้น ๑ | น. อวัยวะที่อยู่ในปาก มีหน้าที่ ๑. กลั้วอาหารให้เข้ากันแล้วส่งลงในลำคอ ๒. ช่วยในการออกเสียง ๓. ให้รู้รส, ลิ้นสัตว์บางจำพวกเช่นจำพวกที่มีขน ใช้ลิ้นเลียขนเลียแผลเพื่อทำความสะอาดได้ |
poll | ๑. การออกเสียงลงคะแนนเลือกตั้ง๒. การหยั่งเสียง [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
poll | ๑. การหยั่งเสียง (ก. ปกครอง)๒. การออกเสียงลงคะแนนเลือกตั้ง (ก. ปกครอง)๓. การลงคะแนนลับ (ก. แพ่ง) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
pairing | การจับคู่งดออกเสียง (ระหว่างสมาชิกสภาต่างพรรค) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
pairing; pairing-off | การจับคู่กันไม่ไปออกเสียง [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
pairing-off; pairing | การจับคู่กันไม่ไปออกเสียง [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
phonation | การออกเสียง [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
phonatory | -การออกเสียง [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
plebiscite | การออกเสียงประชามติ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
protest vote | การออกเสียงลงคะแนนคัดค้าน [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
plural voting | การออกเสียงลงคะแนนได้หลายเสียง [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
paradox of voting | ผลการออกเสียงลงคะแนนที่แย้งกันในตัว [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
record vote | ๑. การออกเสียงลงคะแนนโดยวิธีเรียกชื่อ๒. การได้คะแนนเสียงมากเป็นประวัติการณ์ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
suffrage, woman | สิทธิออกเสียงเลือกตั้งของผู้หญิง [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
secondary articulation | การออกเสียงรอง [สัทศาสตร์ ๘ มี.ค. ๒๕๔๕] |
syntaxis; articulation | ๑. ข้อ(ต่อ)๒. การออกเสียงชัด [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
silent vote | การออกเสียงโดยไม่แสดงออกล่วงหน้า [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
speech organ; vocal organ | อวัยวะออกเสียง [สัทศาสตร์ ๘ มี.ค. ๒๕๔๕] |
suffrage | สิทธิออกเสียงเลือกตั้ง, การออกเสียงเลือกตั้ง [ ดู franchise ๑ ประกอบ ] [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
suffrage | สิทธิออกเสียงเลือกตั้ง, การออกเสียงเลือกตั้ง [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
suffrage, manhood | สิทธิออกเสียงเลือกตั้งของผู้ชาย [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
suffrage, universal | สิทธิออกเสียงเลือกตั้งทั่วไป [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
orthophony | การออกเสียงถูกต้อง [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
articulate | ๑. ไถ(ฟัน)๒. ออกเสียงชัด๓. เรียงฟันปลอม๔. ต่อกัน [ทันตแพทยศาสตร์๑๓ มี.ค. ๒๕๔๕] |
articulation; syntaxis | ๑. ข้อ(ต่อ)๒. การออกเสียงชัด [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
articulation | การออกเสียง [สัทศาสตร์ ๘ มี.ค. ๒๕๔๕] |
articulation | ๑. การไถ(ฟัน)๒. การออกเสียงชัด๓. การเรียงฟันปลอม๔. ข้อต่อ(กระดูก) [ มีความหมายเหมือนกับ joint ] [ทันตแพทยศาสตร์๑๓ มี.ค. ๒๕๔๕] |
articulatory process | กระบวนการออกเสียง [สัทศาสตร์ ๘ มี.ค. ๒๕๔๕] |
aspiration | การออกเสียงธนิต [สัทศาสตร์ ๘ มี.ค. ๒๕๔๕] |
abstention | การงดออกเสียง [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
alternative vote | การออกเสียงลงคะแนนหลายรอบ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
qualified voter | ผู้มีสิทธิออกเสียงเลือกตั้ง [ ดู qualified elector ประกอบ ] [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
ballot | การออกเสียงลงคะแนนด้วยบัตรเลือกตั้ง [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
ballotage (Fr.) | การออกเสียงลงคะแนนเลือกตั้งหลายรอบ (ก. ฝรั่งเศส) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
manhood suffrage | สิทธิออกเสียงเลือกตั้งของผู้ชาย [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
manageable voter | ผู้ออกเสียงลงคะแนนที่จัดมา [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
manner of articulation | ลักษณะการออกเสียง [สัทศาสตร์ ๘ มี.ค. ๒๕๔๕] |
yeas and neas | การออกเสียงเห็นด้วยและไม่เห็นด้วย [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
co-articulation | การออกเสียงร่วม [สัทศาสตร์ ๘ มี.ค. ๒๕๔๕] |
casting vote | การออกเสียงชี้ขาด [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
cumulative voting | ๑. การออกเสียงลงคะแนนแบบสะสม๒. การทุ่มคะแนนเสียง [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
cumulative voting | การออกเสียงลงคะแนนแบบสะสม, การทุ่มคะแนนเสียง [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
challenge, voting | การคัดค้านการออกเสียงลงคะแนน [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
compulsory voting | การออกเสียงลงคะแนนโดยบังคับ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
direct nomination | การเสนอชื่อผู้เข้ารับเลือกตั้งโดยตรง (โดยผู้มีสิทธิออกเสียง) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
double articulation | การออกเสียงร่วมสองฐาน [สัทศาสตร์ ๘ มี.ค. ๒๕๔๕] |
dyslalia | ภาวะเสียการออกเสียงพูด [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
dysphonia | การออกเสียงลำบาก [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
franchise | ๑. สิทธิออกเสียงเลือกตั้ง [ ดู suffrage ประกอบ ]๒. สิทธิพิเศษ (ในการใช้สิ่งสาธารณูปโภค) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
franchise | ๑. สิทธิพิเศษ (ก. แพ่ง)๒. สิทธิออกเสียงเลือกตั้ง (ก. ปกครอง) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
independent voter | ผู้ออกเสียงลงคะแนนอิสระ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
CAPTCHA | CAPTCHA - Completely Automated Public Turing Computer and Humans Apart มักจะออกเสียงว่า แคปช่า, Example: CAPTCHA เป็นกลไกหนึ่งที่นิยมใช้ในการพัฒนาระบบงานต่างๆ โดยเฉพาะที่มีการรับ/ส่งข้อมูลบนเว็บ เพื่อให้รู้ว่าคอมพิวเตอร์ หรือคนกันแน่ที่กระทำการนั้นๆ เช่น การใช้ CAPTCHA ในการตรวจสอบการส่งข้อมูลจากฟอร์ม โดยหากเป็นคนมาป้อนข้อมูล จะต้องเห็น (หรือได้ยินเสียง) อักขระพิเศษหรืออื่นๆ ที่ CAPTCHA ระบุ แล้วระบุได้ถูกต้อง มักจะใช้ป้องกัน Spam mail นั่นเอง [คอมพิวเตอร์] |
Speech Synthesis | การสังเคราะห์เสียง, ซอฟต์แวร์ที่ทำให้คอมพิวเตอร์ออกเสียงมนุษย์ได้ [Assistive Technology] |
Speech Viewer | โปรแกรมฝึกพูด, โปรแกรมที่ใช้ในการฝึกพูดแก่ผู้ที่ไม่ได้ยินเสียงพูดของตนเอง โดยโปรแกรมจะฝึกผู้พูดให้ออกเสียงแต่ละเสียงถูกต้องโดยการให้ "มองเห็น" สิ่งที่กำลังพูด การฝึกประกอบด้วย เรื่อง ความดัง ระดับเสียงสูง ต่ำ เสียงก้อง เสียงไม่ก้อง และการฝึกเสียงตามหน่วยเสียงที่กำหนด ซึ่งอาจจะเริ่มต้นที่ ๑ หน่วยเสียง ไปจนถึง ๔ หน่วยเสียง โปรแกรมนี้เป็นผลิตภัณฑ์ของบริษัทไอบีเอ็ม จำกัด [Assistive Technology] |
Voting right | สิทธิในการออกเสียง, Example: สิทธิของผู้ถือหุ้นสามัญในอันที่จะออกเสียงในที่ประชุมผู้ถือหุ้นเกี่ยวกับการบริหารงานของบริษัท สิทธิในการออกเสียงนี้อาจมอบอำนาจให้ผู้อื่นทำการแทนได้ [ตลาดทุน] |
Accents and accentuation | การออกเสียงและการลงน้ำหนักเสียง [TU Subject Heading] |
Articulation disorders | การออกเสียงผิดปกติ [TU Subject Heading] |
Oral communication | การสื่อสารโดยการออกเสียง [TU Subject Heading] |
Oral reading | การอ่านออกเสียง [TU Subject Heading] |
Promunciation by foreign speakers | การออกเสียงโดยผู้พูดภาษาต่างประเทศ [TU Subject Heading] |
Pronunciation | การออกเสียง [TU Subject Heading] |
Stockholders' voting | การออกเสียงของผู้ถือหุ้น [TU Subject Heading] |
Vocalization | การออกเสียงสระ [TU Subject Heading] |
apartheid | การปกครองประเทศแบบแบ่งแยกผิวพันธุ์ เป็นระบบปกครองที่ใช้ในสาธารณรัฐแอฟริกาใต้ก่อนที่จะมีการเลือกตั้งโดยไม่ แบ่งแยกผิวพันธุ์ครั้งแรกขึ้นระหว่างวันที่ 26-29 เมษายน 2537 ในระบบการปกครองดังกล่าว ประชาชนแอฟริกาใต้ผิวดำถูกจำกัดสิทธิต่าง ๆ เช่น สิทธิทางด้านการเมือง สิทธิการออกเสียงเลือกตั้ง สิทธิรับสมัครเลือกตั้ง การเป็นสมาชิกรัฐสภา การมีกรรมสิทธิ์ในที่ดินบางพื้นที่ การเลือกที่อยู่อาศัย การใช้สถานที่พักผ่อน การรับราชการ การเข้ารับการศึกษา การประกอบอาชีพ และการใช้บริการสาธารณูปโภคจากรัฐบาล เป็นต้น [การทูต] |
International Court of Justice | ศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ หรือที่เรียกกันอย่างไม่เป็นทางการว่า ศาลโลก ตั้งขึ้นเมื่อปี ค.ศ.1945 ตามกฎบัตรขององค์การสหประชาชาติ กฎข้อบังคับ (Statute) ของศาลโลกนั้นได้ผนวกอยู่ท้ายกฎบัตรของสหประชาชาติ และถือเป็นส่วนสำคัญอย่างแยกจากกันมิได้ของกฎบัตร ศาลนี้ตั้งอยู่ ณ กรุงเฮก ประเทศเนเธอร์แลนด์ศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ ถือเป็นองค์กรแห่งศาลหรือแห่งตุลาการสำคัญที่สุดขององค์การสหประชาชาติ ประเทศใดที่เข้าเป็นภาคีของกฎข้อบังคับของศาลโลก ย่อมมีสิทธิที่จะส่งคดีใดก็ตามไปให้ศาลโลกพิจารณาได้ ภายใต้เงื่อนไขที่คณะมนตรีความมั่นคงได้จัดวางไว้ นอกจากนั้น คณะมนตรีความมั่นคงก็อาจจะส่งกรณีพิพาททางกฎหมายไปให้ศาลพิจารณาได้ทั้ง สมัชชาและคณะมนตรีความมั่นคงสามารถขอคำปรึกษาหรือความเห็นจากศาลเกี่ยวกับ ปัญหาข้อกฎหมายใดๆ และองค์กรอื่น ๆ ของสหประชาชาติ อันรวมถึงองค์การชำนัญพิเศษ ก็สามารถขอคำปรึกษา หรือความเห็นเกี่ยวกับประเด็นปัญหาทางกฎหมายใดๆ ที่อยู่ภายในกรอบของงานที่ปฏิบัติอยู่ แต่ทั้งนี้ ต้องได้รับอนุมัติเห็นชอบจากสมัชชาสหประชาชาติก่อน สมัชชาเคยมอบอำนาจเช่นนี้แก่คณะมนตรีเศรษฐกิจและสังคม คณะมนตรีภาวะทรัสตี คณะกรรมาธิการระหว่างกาล (Interim Committee) ของสมัชชา รวมทั้งองค์กรระหว่างรัฐบาลบางแห่งด้วยรัฐทั้งหมดที่เป็นสมาชิกของสหประชา ชาติถือว่าเป็นภาคีของกฎข้อบังคับของศาลโลกไปในตัว ส่วนประเทศใดที่มิใช่เป็นสมาชิกของสหประชาชาติ ก็อาจเป็นภาคีของกฎข้อบังคับของศาลโลกได้ ตามเงื่อนไขที่สมัชชาสหประชาชาติเป็นผู้กำหนดเป็นราย ๆ ไป ตามข้อเสนอแนะของคณะมนตรีความมั่นคง ศาลโลกมีอำนาจที่จะพิจารณาปัญหาทั้งหลายที่รัฐสมาชิกขอให้พิจารณา รวมทั้งเรื่องอื่น ๆ ทั้งหลายที่ระบุอยู่ในกฎบัตรสหประชาชาติ และตามสนธิสัญญาหรืออนุสัญญาที่ใช้บังคับอยู่ รัฐสมาชิกย่อมยอมผูกพันตนล่วงหน้าได้ที่จะยอมรับอำนาจศาลในกรณีพิเศษต่าง ๆ โดยจะต้องลงนามในสนธิสัญญา หรืออนุสัญญาซึ่งยอมให้ส่งเรื่องไปที่ศาลได้ หรือออกประกาศเป็นพิเศษว่าจะปฏิบัติเช่นนั้น ในคำประกาศเช่นนั้นจะต้องระบุว่ายอมรับอำนาจบังคับของศาลโลก และอาจจะยกเว้นคดีบางประเภทมิให้อยู่ในอำนาจของศาลได้ ในการวินิจฉัยลงมติ ศาลโลกจะอาศัยแหล่งที่มาของกฎหมายต่าง ๆ ดังนี้ คือ- สัญญาหรืออนุสัญญาระห่างประเทศซึ่งวางกฎข้อบังคับที่รัฐคู่กรณียอมรับ- ขนบธรรมเนียมระหว่างประเทศซึ่งมีหลักฐานแสดงว่าเป็นหลักปฏิบัติทั่วไปตามที่ กฎหมายรับรองศาลโลกอาจจะตัดสินชี้ขาดว่าสิ่งใดยุติธรรมและดี โดยรัฐภาคีที่เกี่ยวข้องตกลงเห็นชอบด้วยคณะมนตรีความมั่นคงอาจจะรับการขอ ร้องจากรัฐภาคีหนึ่งใดในกรณีพิพาท ให้กำหนดมาตรการที่จะใช้เพื่อให้คำตัดสินของศาลมีผลบังคับ ถ้าคู่กรณีอีกฝ่ายหนึ่งไม่ยอมปฏิบัติตามข้อผูกพันภายใต้อำนาจศาลศาลโลก ประกอบด้วยผู้พิพากษารวม 15 ท่าน ซึ่งถือกันว่าเป็น ?สมาชิก? ของศาล และได้รับเลือกตั้งจากสมัชชาและคณะมนตรีความมั่นคงของสหประชาชาติ ผู้พิพากษาเหล่านี้จะมีอำนาจออกเสียงลงคะแนนอย่างอิสระเสรีหลักเกณฑ์การคัด เลือกผู้พิพากษาศาลโลกจะถือตามคุณสมบัติขอผู้พิพากษานั้น ๆ มิใช่ถือตามสัญชาติของบุคคลดังกล่าว อย่างไรก็ดี จะมีการระมัดระวังด้วยว่า กฎหมายที่นำมาใช้ในศาลจะต้องมาจากระบบกฎหมายที่สำคัญ ๆ ของโลก ในศาลโลกจะมีผู้พิพากษาที่เป็นชาติเดียวกันมากกว่าหนึ่งคนไม่ได้ ผู้พิพากษาทั้งหลายจะมีสิทธิ์ดำรงอยู่ในตำแหน่งได้ เป็นเวลา 9 ปี มีสิทธิ์ได้รับเลือกตั้งซ้ำได้ และระหว่างที่ดำรงอยู่ในตำแหน่ง จะต้องไม่ประกอบอาชีพการงานอื่นใดทั้งสิ้น [การทูต] |
Universal Declaration of Human Rights | ปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน เป็นเอกสารหลักด้านสิทธิมนุษยชนฉบับแรก ซึ่งที่ประชุมสมัชชาสหประชาชาติให้การรับรองตามข้อมติที่ 217 A (III) เมื่อวันที่ 10 ธันวาคม พ.ศ. 2491 โดยไทยออกเสียงสนับสนุน [การทูต] |
Voting Procedure in the United Nations | วิธีการลงคะแนนเสียงในที่ประชุมสมัชชาสหประชาชาติ ในเรื่องนี้ สมาชิกแต่ละประเทศมีคะแนนเสียง 1 คะแนน ข้อมติของสมัชชาในปัญหาสำคัญ (Important Questions) จะกระทำโดยถือคะแนนเสียงข้างมาก 2 ใน 3 ของสมาชิกที่มาประชุมและออกเสียง ที่เรียกว่าปัญหาสำคัญนั้นได้แก่ ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการธำรงรักษาไว้ซึ่งสันติภาพและความมั่นคงระหว่างประเทศ การเลือกตั้งสมาชิกไม่ประจำของคณะมนตรีความมั่นคง การเลือกตั้งสมาชิกของคณะมนตรีเศรษฐกิจและการสังคม การเลือกตั้งสมาชิกของคณะมนตรีภาวะทรัสตี การรับสมาชิกใหม่ของสหประชาชาติ การงดใช้สิทธิและเอกสิทธิแห่งสมาชิกภาพ การขับไล่สมาชิก ปัญหาการดำเนินงานของระบบภาวะทรัสตี และปัญหางบประมาณ คำวินิจฉัยปัญหาอื่น ๆ รวมทั้งการกำหนดประเภทแห่งปัญหาที่จะต้องวินิจฉัยด้วยคะแนนเสียงข้างมาก 2 ใน 3 เพิ่มเติมนั้น จัดกระทำโดยอาศัยคะแนนเสียงข้างมากของสมาชิกที่มาประชุมและออกเสียงอนึ่ง ในการเลือกตั้งผู้พิพากษาของศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ (ศาลโลก) ผู้ที่ได้รับเลือกตั้งจักต้องได้รับคะแนนเสียงข้างมากเด็ดขาด (Absolute majority) ในที่ประชุมของสมัชชาและในที่ประชุมของคณะมนตรีความมั่นคงด้วย นอกจากนี้สมาชิกสหประชาชาติที่ค้างชำระค่าบำรุงแก่องค์การ ย่อมไม่มีสิทธิ์ลงคะแนนเสียงในสมัชชา ถ้าหากจำนวนเงินที่ค้างชำระเท่าหรือมากกว่าจำนวนเงินค่าบำรุงที่ถึงกำหนด ชำระสำหรับ 2 ปีเต็มที่ล่วงมา อย่างไรก็ตาม สมัชชาอาจอนุญาตให้สมาชิกเช่นว่านั้นลงคะแนนเสียงก็ได้ ถ้าทำให้เป็นที่พอใจได้ว่า การไม่ชำระนั้น เนื่องมาจากภาวะอันอยู่นอกเหนืออำนาจควบคุมของสมาชิกนั้น [การทูต] |
Echolalia | ออกเสียงเลียนแบบผู้ที่อยู่ใกล้เคียง [การแพทย์] |
palindrome | พาลินโดรม, คำหรือวลีที่สามารถเขียนตัวอักษรเรียงย้อนกลับจากหลังไปหน้า หรือจากซ้ายไปขวา แล้วยังคงอ่านออกเสียงได้เหมือนเดิม เช่น กก, ยาย, DAD, MOM ซึ่งพาลินโดรม เป็นภาษากรีก แปลว่า วิ่งกลับไปที่เดิมอีก [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
Linguistic Criteria | หลักเกณฑ์ตามลักษณะการพูดและการออกเสียง [การแพทย์] |
accent | (n) การออกเสียงสูงต่ำ (เพื่อแสดงอารมณ์), See also: น้ำเสียง |
accent | (vt) ลงเสียงหนัก, See also: ออกเสียงหนัก, Syn. accentuate |
affricate | (n) เสียงกักเสียดแทรก (สัทศาสตร์), See also: เสียงที่เกิดจากการออกเสียงในลักษณะที่เริ่มด้วยฐานกรณ์ปิดสนิทแล้วค่อยๆเปิดออก ทำให้ลม |
an | (art) หนึ่ง (คำนำหน้าคำนามที่ออกเสียงสระและระบุว่าคำนามนั้นเป็นคำนามที่ไม่ชี้เฉพาะ), Syn. one |
an | (adj) หนึ่ง (คำนำหน้าคำนามที่ออกเสียงสระและระบุว่าคำนามนั้นเป็นคำนามที่ไม่ชี้เฉพาะ), Syn. one |
anapaest | (n) การออกเสียงในภาษาอังกฤษที่สองพยางค์แรกเน้นเสียงเบาตามด้วยหนึ่งพยางค์ที่เน้นเสียงหนัก |
apheresis | (n) การงดออกเสียงในพยางค์แรกของคำ |
articulation | (n) การออกเสียง, See also: การออกสำเนียง, Syn. utterance |
aspiration | (n) การออกเสียงพร้อมกับปล่อยลมหายใจออก |
ballot | (vi) ลงคะแนน, See also: ออกเสียงลงคะแนน, จับสลาก, Syn. vote |
blackball | (vt) ป้องกันไม่ให้เข้าร่วมโดยออกเสียงต่อต้าน |
ballot for | (phrv) ออกเสียงให้, See also: ลงคะแนนเสียงให้ |
cedilla | (n) สัญลักษณ์ที่วางใต้ตัวอักษร C เพื่อแสดงว่าออกเสียงเหมือนเสียง S ไม่ใช่เสียง K (ในภาษาฝรั่งเศส) |
circumflex | (n) เครื่องหมายที่อยู่บนสระเพื่อแสดงการออกเสียงในบางภาษา |
continuant | (n) เสียงพยัญชนะที่ออกเสียงยาวต่อเนื่องกัน |
canvass for | (phrv) ลงเสียงสนับสนุน (ก่อนการเลือกตั้งจริง), See also: ออกเสียงให้ |
deliver | (vt) ออกเสียง (คำไม่เป็นทางการ), See also: สนับสนุน, Syn. support, vote |
diacritic | (n) เครื่องหมายแสดงการออกเสียงบนหรือล่างตัวอักษร |
diaeresis | (n) สัญลักษณ์ ที่ใส่เหนือสระตัวที่สอง เพื่อแสดงว่า ออกเสียงแยกจากสระตัวแรก, Syn. dieresis |
dieresis | (n) เครื่องหมาย ที่ใส่เหนือสระตัวที่สอง เพื่อแสดงว่า ออกเสียงแยกจากสระตัวแรก |
diphthong | (n) การออกเสียงสระควบ, See also: การออกเสียงอักษรควร, Syn. triphthong, voice |
elect | (vt) คัดเลือก, See also: เลือก, คัด, ออกเสียงเลือกตั้ง, Syn. choose, select |
elision | (n) การละสระ พยัญชนะหรือพยางค์ในการออกเสียงหรือเขียน (ทางภาษาศาสตร์) |
enounce | (vt) พูดออกเสียงอย่างถูกต้องและชัดเจน, Syn. articulate, pronounce, state |
euphonic | (adj) เกี่ยวกับเสียงที่น่าฟัง (โดยเฉพาะในการพูดหรือการออกเสียง), Syn. euphonious, melodious |
gutturalize | (vt) ออกเสียงจากลำคอ |
hush | (int) คำออกเสียงเพื่อขอให้เงียบ |
slip of the tongue | (idm) คำพูดผิดที่เกิดจากการออกเสียงผิด, See also: คำพูดที่ไม่ได้ตั้งใจผิด |
intonate | (vt) เปล่งเสียงสูงต่ำ, See also: การออกเสียง |
intonation | (n) การออกเสียงสูงต่ำ, See also: น้ำเสียง |
intone | (vt) เปล่งเสียงสูงต่ำ, See also: การออกเสียง, Syn. utter, voice |
lift up one's voice | (idm) เปล่งเสียงดัง, See also: ออกเสียงดัง |
lax | (adj) ซึ่งออกเสียงไม่เกร็งลิ้น |
mispronounce | (vi) ออกเสียงผิด, Syn. misspeak |
mispronounce | (vt) ออกเสียงผิด, Syn. misspeak |
mispronunciation | (n) การออกเสียงผิด, Syn. cacology, misaccentuation |
misstate | (vt) กล่าวอย่างผิดๆ, See also: บอกผิด, ออกเสียงผิด, อ้างผิด, Syn. misrepresent, misquote |
monotone | (n) การพูดแบบไม่มีเสียงสูงต่ำ, See also: การออกเสียงแบบไม่มีเสียงสูงต่ำ |
mouth | (vi) พูด, See also: คุย, ออกเสียง, Syn. talk, speak, utter, verbalize, vocalize, Ant. silence |
mute | (adj) ไม่ออกเสียง, Syn. tongueless, unspoken, wordless, Ant. noisy, vocal |
mute | (n) การไม่ออกเสียง |
mutely | (adv) อย่างไม่ออกเสียง |
muteness | (n) การไม่ออกเสียง |
ordinary share | (n) หุ้นส่วนที่มีสิทธิ์ออกเสียงในบริษัท |
pass | (vt) พูด, See also: กล่าว, ออกเสียง, พูดจา, Syn. communicate |
peeper | (n) คนที่ซุบซิบ, See also: คนที่ออกเสียงค่อยๆ |
phonate | (vi) ออกเสียง, See also: เปล่งเสียง |
phonate | (vi) เปล่งเสียง, See also: ออกเสียง, Syn. vocalize |
phonate | (vt) เปล่งเสียง, See also: ออกเสียง, Syn. vocalize |
phonetic | (adj) เกี่ยวกับการออกเสียง, See also: สอดคล้องกับการออกเสียง |
acronym | (แอค' โรนิม) n. คำย่อจากพยัญชนะตัวแรกหลายคำ. -acronymic adj. คำย่อรัสพจน์หมายถึง คำย่อที่เกิดจากการนำอักษรตัวแรก หรือกลุ่มอักษรบางตัวมาสร้างขึ้นเป็นคำใหม่ประกอบด้วยอักขระตั้งแต่สองตัวขึ้นไป นิยมออกเสียงเหมือนคำปกติ เช่น DOS ซึ่งเอาอักษร D มาจากคำว่า Disk อักษร O มาจาก คำ Operating และ S มาจากคำว่า System คำนี้จะอ่านออกเสียงว่า "ดอส" แทนที่จะอ่านว่า ดีโอเอส คำย่อประเภทนี้ นิยมใช้กันมากใน วงการคอมพิวเตอร์ เช่น BASIC ซึ่งย่อมาจาก Beginner's All-purpose Symbolic Instruction Code ก็อ่านว่า "เบสิก" |
aloud | (อะเลาดฺ') adj. ดัง, ออกเสียง, Syn. loudly, audibly, Ant. silently, inaudibly |
anacrusis | (แอนนะครู' ซิส) n., (pl. cruses) พยางค์หรือบทที่ไม่ได้ออกเสียงหนัก ในบทแรกของโคลง. -anacrustic adj. |
articulate | (อาร์ทิค'คิวเลท) adj. เป็นข้อ, เป็นปล้อง, ออกเสียงชัดเจน, สามารถพูดได้, ชัดเจน, มีความหมาย. -vt. ออกเสียงชัดเจน, พูดอย่างชัดเจน, ต่อกัน, ประกบ. -articulability, articulateness, articulacy n., Syn. clear, enunciate, Ant. indistinct, confused |
articulator | (อาร์ทิค'คิวเลเทอะ) n. ผู้ที่พูดหรือออกเสียงได้ชัดเจน, สิ่งที่มีเสียงที่ชัดเจน, อวัยวะที่ใช้สำหรับพูด (เช่น ลิ้น, ริมฝีปาก) |
aspirate | (แอส'พะเรท) -vt. ออกเสียงได้ยิน, ออกเสียงตัว h, ขจัดของเหลวจากโพรงร่างกาย โดยใช้เครื่องดูด, หายใจเอาของเหลวเข้าไปในปอด |
aspiration | (แอสพเร'เชิน) n. ความปรารถนา, ความอยาก, การออกเสียงเป็นเสียงลมหายใจออก, การหายใจ, Syn. desire, hope, yearning |
assibilate | (อะซิบ' บิเลท) vt. ออกเสียงตามไรฟัน. - assibilation n. |
bray | (เบร) { brayed, braying, brays } n. เสียงลาร้อง, เสียงแตรเป่า vt. ออกเสียงคล้ายลาร้อง, บดละเอียด, ทุบแตกละเอียด, ทาบาง |
breathed | (บรีธดฺ) adj. ไร้เสียง, ใช้ลมหายใจในการออกเสียง |
breve | (บรีฟว) n. เครื่องหมายการออกเสียงสั้น, พระราชโองการแรกเริ่ม, เครื่องหมายเน้นเสียง |
cacophonous | adj. มีเสียงแหบหรือห้าว, ซึ่งออกเสียงไม่ประสานกัน, Syn. cacophonic |
cacuminal | adj. ออกเสียงโดยลิ้น |
call | (คอล) { called, calling, calls } vt., vi., n. (การ) เรียก, ร้องเรียก, ร้องขอ, เรียกให้ตื่น, อ่านออกเสียง, เข้าใจว่า, ถือว่า, ให้ชื่อ, มีชื่อ, มีนามว่า, เรียกไพ่, โทรศัพท์, สั่ง, ออกคำสั่ง, ไปเยี่ยม, แวะรับ, ตำหนิ, เลียนแบบ, Syn. exclaim เรียกเป็นคำสั่งที่ใช้ในโปรแกรม หมายถึง การสั่งให้โอนย้ายการทำงานชั่วคราวจากโปรแกรมหลัก main program ที่ทำอยู่ ไปทำงานที่โปรแกรมย่อย subprogram เป็นการชั่วคราว เมื่อทำงาน ในโปรแกรมย่อยเสร็จแล้ว ก็จะส่งผลที่ได้กลับไปทำในโปรแกรมหลักต่อ โดยจะกลับไปเริ่มที่คำสั่งถัดจากคำสั่ง "call" นั้น |
croak | (โครค) { croaked, croaking, croaks } vi. ร้องเสียงแหบแห้ง, ร้องเสียงอย่างกบ, ตาย. vt. ออกเสียงหรือพูดเสียงแหบแห้ง n. การร้องเสียงหรือออกเสียงดังกล่าว |
crow | (โคร) { crowd/crew, crowed, crowding, crows } n. อีกา, ชะแลง, ตะขอเกี่ยวสินค้า -Phr. (a white crow ของหายาก ของล้ำค่า) vt., n. (การ) (ไก่หรือนก) ขัน, ร้องเสียงหรือออกเสียงแสดงความดีใจ, คุยโต, See also: crowingly adv. |
declaim | (ดิเคลม') v. พูดโว, พูดโผงผาง, พูดที่ครึกโครม , ท่องออกเสียง , พูดชุมชน |
declamation | (เดคคละเม'เชิน) n. การแสดงสุนทรพจน์แบบโผงผาง, พูดชุมชน, การพูดที่ครึกโครม, การคุยโว, การท่องออกเสียง, See also: declamatory adj. ดูdeclamation |
dental | (เดน'เทิล) adj. เกี่ยวกับฟัน, เกี่ยวกับทันตกรรม, เกี่ยวกับการออกเสียงที่เกิดจากการเอาลิ้นแตะหลังฟันหน้า |
diacritical | adj. ซึ่งทำให้แตกต่างกัน, เป็นการแบ่งแยกชนิด, เป็นเครื่องหมายการออกเสียง |
diction | (ดิค'เชิน) n. วิธีการใช้คำพูดหรือคำเขียนคำศัพท์, การออกเสียง |
digraph | (ได'กราฟ) n. อักษรคู่ที่ออกเสียงเดี่ยว |
elocution | (เอลละคิว'เชิน) n. วิธีการพูดหรืออ่านออกเสียง, การศึกษาเกี่ยวกับวิธีการพูดในที่ชุมนุม, See also: elocutionary adj. ดูelocution elocutionist n. ดูelocution |
enunciate | (อินัน'ซิเอท) vt. อ่านออกเสียง, ออกเสียง, กล่าวอย่างชัดแจ้ง, ประกาศ, แถลง, สาธยาย., See also: enunciation n. ดูenunciate enunciative adj. ดูenunciate enunciatory adj. ดูenunciate enunciator n. ดูenunciate |
eye dialect | ภาษาออกเสียงที่สะกดผิด เพื่อช่วยในการออกเสียงให้ถูกต้อง เช่น wimmin สำหรับ women |
female suffrage | สิทธิในการออกเสียงของหญิง. |
independent | (อินดิเพน' เดินทฺ) adj. อิสระ, ไม่ขึ้นใคร, เป็นตัวของตัวเอง, ไม่อยู่ภายใต้การช่วยเหลือหรือสนับสนุนจากผู้อื่น, มีเงินเพียงพอที่จะช่วยตัวเอง, มีความเชื่อมั่นในตัวเอง. -n. คนที่อิสระ, คนที่เป็นตัวของตัวเอง, ผู้ออกเสียงอิสระ (ไม่ขึ้นอยู่พรรคการเมืองใด ๆ) |
inflect | (อินเฟลคทฺ') v. ทำให้งอ, ทำให้โค้ง, ทำให้เฉ, ออกเสียงต่ำ, ผันไปตามบุรุษและพจน์., See also: inflectness n. inflective adj. inflector n. |
intonation | (อินโทเน'เชิน) n. ลักษณะหรือท่วงทำนองเสียง, เสียงสูงต่ำ, การอ่านหรือออกเสียง สูงต่ำ, การเปล่งเสียงเฉพาะ., See also: intonational adj. |
intone | (อินโทน') vt. ออกเสียงสูงต่ำ, อ่านออกเสียงสูงต่ำ, เปล่งเสียงเฉพาะ. vi. ออกเสียงเฉพาะสวดมนต์., See also: intoner n., Syn. hum, chant |
labial | (เล'เบียล) adj. เกี่ยวกับริมฝีปาก, เป็นเสียงริมฝีปาก (เช่นการเป่าขลุ่ย) (เช่นเสียงp, v, m, w) . n. เสียงริมฝีปาก, พยัญชนะที่ออกเสียงด้วยริมฝีปาก., See also: labiality n. ดูlabial |
liaison | (ลิเอซอน', ลี'อะซอน, ลีเอ'เซิน) n. การติดต่อ, การติดต่อประสานงาน, ความสัมพันธ์ฉันท์ชู้สาวระหว่างหญิงกับชาย, การออกเสียงสัมผัส pl. liaisons, Syn. alliance, bond |
misspeak | (มิสสพีค') vt., vi. พูดผิด, ออกเสียงผิด |
mute | (มิวทฺ) adj. ใบ้, พูดไม่ได้, ไม่ริปาก, เงียบ, ไม่ออกเสียง, ไม่แก้ตัว (เมื่อถูกกล่าวหา) n. คนใบ้, คนที่ไม่แก้ตัวเมื่อถูกกล่าวหา, การไม่ออกเสียง, เครื่องหมายหยุด. vt. อุดเสียง, ระงับเสียง, เก็บเสียง, ลดความเข้มข้นของสีลง., See also: muteess n. |
nay | (เน) adv. ไม่, และไม่เป็นเช่นนั้น. n. การปฏิเสธ, การออกเสียงปฏิเสธ |
numeration | (นิวมะเร'เช ิน) n. การนับ, การออกเสียงนับ, See also: numerative adj. |
palatal | (แพล'ละทัล) adj. เกี่ยวกับเพดานปาก, (การออกเสียงใช้ลิ้นแตะเพดานปาก) n. พยัญชนะที่มีการใช้ลิ้นแตะเพดานปาก, See also: palatalism n. palatality n. |
phonetic | (ฟะเนท'ทิค) adj. เกี่ยวกับเสียงพูด, เกี่ยวกับการออกเสียง, ซึ่งมีการออกเสียงตรงกัน. |
phonetics | (โฟเนท'ทิคซฺ) n. วิชาเกี่ยวกับการออกเสียงของคำศัพท์ คำพูดหรือภาษา, วิชาว่าด้วยการออกเสียง |
poll | (โพล) n. การลงคะแนนเสียงเลือกตั้ง, รายชื่อผู้ไปลงคะแนนเสียงเลือกตั้ง, บุคคลที่ปรากฎในรายชื่อ, การสำรวจความคิดเห็นของคนจำนวนมาก -vi., vi. ได้รับคะแนนเลือกตั้ง, ออกเสียงลงคะแนน, สำรวจความคิดเห็น, |
popular vote | คะแนนเสียงจากผู้มีสิทธิออกเสียง (ต่างจาก electoral vote ซึ่งเป็นคะแนนเสียงจากผู้แทน) |
pronounce | (พระเนาซฺ') vt. ออกเสียง, อ่าน, แถลง, ประกาศ, กล่าว, วินิจฉัย, ตัดสิน (คดี) , ออกเสียง, แถลง, ประกาศ, See also: pronounceable adj. pronouncer n., Syn. enunciate |
pronouncement | (พระเนาซฺ'เมินทฺ) n. การประกาศ, การแถลง, คำประกาศ, คำแถลง, ข้อคิดเห็น ความเห็น, การออกเสียง |
pronouncing | (พระเนา'ซิง) adj. เกี่ยวกับการออกเสียง, เกี่ยวกับเครื่องหมายการออกเสียง |
pronunciation | (พระนันซิเอ'เชิน) n. การออกเสียง (คำพูด, ถ้อยคำวลีและอื่น ๆ) , วิธีการออกเสียง, See also: pronunciational adj. pronunciatory adj. pronunciative adj. |
read | (รีด) { read/red, read/red, reading, reads } vt., vi. อ่าน, อ่านออกเสียง, เข้าใจความหมาย, ทำนาย, คาดการณ์, ดูนาฬิกา adj. อ่านหนังสือมามาก, Syn. decipher, peruse |
reading | (รีด'ดิง) n. การอ่าน, การอ่านออกเสียง, การพิจารณากฎหมายตามวิธีของรัฐสภา, ความรู้, การแปล, จำนวนตัวเลขที่อ่านได้จากอุปกรณ์ (เช่นจากปรอทวัดอุณหภูมิ) , การอ่านบทละคร, การบรรเลงดนตรี adj. เกี่ยวกับการอ่าน, ใช้สำหรับอ่าน, Syn. perusal, interpret |
recital | (รีไซ'เทิล) n. การเล่นดนตรีเดี่ยว, การท่อง, การท่องให้ครูฟัง, การบรรยาย, อาขยาน, การอ่อนออกเสียง, Syn. retelling |
recitation | (เรสซิเท'เ?ิน) n. การเล่นดนตรีเดี่ยว, การท่อง, การท่องให้ครูฟัง, บทเรียนท่องจำ, การบรรยายในห้องเรียน, การอ่านออกเสียง |
recite | (รีไซทฺ') v. ท่อง, ท่องจำ, ท่องให้ครูฟัง, ว่าปากเปล่า, อาขยาน, อ่านออกเสียง, สาธยาย, Syn. retell, narrate |
articulate | (vi, vt) ต่อกัน, เรียง, ประกบ, เป็นข้อ, เป็นปล้อง, ออกเสียงชัด |
aspirant | (n) ผู้ออกเสียง, ผู้ใฝ่สูง, ผู้ปรารถนา, ผู้แสวงหา |
aspirate | (vt) ออกเสียง |
aspiration | (n) การออกเสียง, การหายใจ, ความปรารถนา, ความทะเยอทะยาน |
diacritic | (n) เครื่องแสดง, เครื่องหมายการออกเสียง |
diction | (n) วิธีพูดและเขียน, การออกเสียง, คำศัพท์ |
electorate | (n) ผู้มีสิทธิ์ออกเสียงเลือกตั้ง, เขตเลือกตั้ง |
elocution | (n) ศิลปะในการพูด, วิชาการพูด, การอ่านออกเสียง |
elocutionist | (n) ผู้ชำนาญในการพูด, ผู้ชำนาญในการออกเสียง |
enfranchise | (vt) ให้อิสระ, ให้สิทธิ์ออกเสียง, ให้สิทธิพิเศษ, ให้สัมปทาน |
enfranchisement | (n) การให้อิสระ, การให้สิทธิออกเสียง, การให้สัมปทาน |
enunciation | (n) การออกเสียง, การอ่านออกเสียง, การแถลง, การประกาศ, การสาธยาย |
inflect | (vt) เบน, ผัน, เปลี่ยนแปลงคำ, ออกเสียงสูงต่ำ |
intonation | (n) การออกเสียงสูงต่ำ, ท่วงทำนองเสียง |
intone | (vt) ออกเสียงสูงต่ำ, สวดมนตร์ |
mispronounce | (vi) ออกเสียงผิด |
mispronunciation | (n) การออกเสียงผิด |
mute | (n) คนใบ้, เครื่องหมายหยุด, การไม่ออกเสียง |
poll | (n) การสำรวจความคิดเห็น, การออกเสียงเลือกตั้ง, รายหัว, หัว |
poll | (vi) ลงคะแนนเสียง, ออกเสียงเลือกตั้ง |
pronunciation | (n) การออกเสียง |
recitation | (n) การอ่านออกเสียง, การสวด, การท่องอาขยาน, การบรรยาย |
recite | (vt) อ่านออกเสียง, สวด, เล่า, ท่องจำ, สาธยาย |
register | (vt) ลงทะเบียน, ลงชื่อ, ลงบันทึก, แสดง, ออกเสียง |
sibilate | (vi) ออกเสียงซื้ด |
silence | (vt) ไม่พูดไม่จา, ทำให้เงียบ, ไม่ออกเสียง |
silent | (adj) นิ่งเงียบ, เงียบ, สงบนิ่ง, ไม่ออกเสียง |
snuffle | (vi) ดมกลิ่น, สูดหายใจแรง, ออกเสียงทางจมูก |
sound | (vt) ออกเสียง, เป่าแตร, หยั่งดู, ตรวจสอบ, วัด |
stress | (vt) ย้ำ, ลงน้ำหนัก, เน้น, ออกเสียงหนัก |
suffrage | (n) สิทธิในการออกเสียง, คะแนนเสียง, การอธิษฐาน |
syllabicate | (vt) ออกเสียงทีละพยางค์ |
syllabication | (n) การออกเสียงทีละพยางค์ |
syllabify | (vt) ออกเสียงทีละพยางค์ |
trill | (vt) ออกเสียงรัว, พูดเสียงสั่น |
voiceless | (adj) ไม่มีเสียง, ไม่ออกเสียง, เป็นใบ้, ไม่พูด |