เชิงอรรถ | (n) footnote, Syn. อ้างอิง, คำอธิบายเพิ่มเติม, Example: ผู้เขียนใส่ความหมายของคำศัพท์เพิ่มเติมในเชิงอรรถ, Thai Definition: คำอธิบายหรือข้ออ้างอิงที่เขียนหรือพิมพ์ไว้ที่ส่วนล่างของหน้าหนังสือหรือตอนท้ายของเรื่อง |
เชิงอรรถ | น. คำอธิบายเพื่อขยายคำหรือข้อความที่อยู่ในเนื้อหา หรือข้ออ้างอิง ซึ่งเขียนหรือพิมพ์ไว้ส่วนล่างของหน้าหนังสือหรือตอนท้ายของเรื่อง. |
วงเล็บ | ใช้กันนามเต็มหรือบรรดาศักดิ์ที่เขียนใต้ลายมือชื่อ เช่น ใช้กันตัวอักษรหรือตัวเลขที่เป็นหัวข้อหรือที่เป็นเลขหมายบอกเชิงอรรถ ส่วนตัวอักษรหรือตัวเลขที่เป็นหัวข้ออาจใช้เพียงเครื่องหมายวงเล็บปิดก็ได้ เช่น วันรุ่งแรมสามค่ำเป็นสำคัญ (๑) อภิวันท์ลาบาทพระชินวร ข้อ (ก) ข้อ ๑), ใช้ในวิชาคณิตศาสตร์และสูตรทางวิทยาศาสตร์เพื่อกั้นตัวเลขหรือสัญลักษณ์ไว้เป็นกลุ่ม เช่น a2 - b2 = (a + b)(a – b), Al2(SO4)3, นขลิขิต ก็ว่า. |
วงเล็บเหลี่ยม | น. คิ้ว, ใช้เป็นราชาศัพท์ว่า พระขนง, ใช้กันข้อความในการเขียนบรรณานุกรมและเชิงอรรถในกรณีที่ข้อความนั้นไม่ปรากฏในหนังสือ แต่ผู้ทำบรรณานุกรมเพิ่มเติมเข้าไปเอง โดยมีหลักฐานยืนยัน เช่น [ ตรี อมาตยกุล ] นำชมหอสมุดดำรงราชานุภาพ. พระนคร : กรมศิลปากร, ๒๔๙๔., ใช้ในวิชาคณิตศาสตร์เพื่อกั้นกลุ่มตัวเลขกลุ่มสัญลักษณ์ที่มีวงเล็บอื่นอยู่แล้วไว้เป็นกลุ่มเดียวกัน เช่น 11 + 2[ x + 4 – 3{ x + 5 – 4(x + 1) } ] = 23, ใช้ในทางวิทยาศาสตร์เพื่อกั้นกลุ่มตัวเลขหรือกลุ่มสัญลักษณ์เพื่อแสดงความหมายต่าง ๆ เช่น [ Ba2+ ][ F−2 ] = 1.05.10−6, Na2[ Fe(Cn)5(NO) ]·2H2O. |
Citation footnote | เชิงอรรถอ้างอิง [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Content footnote | เชิงอรรถเสริมความ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Footnotes | เชิงอรรถ, Example: หลักฐานการอ้างอิงข้อความที่นำมาจากที่อื่นเพื่อประกอบการเรียบเรียงงาน วิจัย อยู่ส่วนล่างของหน้า งานวิจัยบางเรื่องอาจรวมเชิงอรรถไว้ท้ายบทหรือท้ายเล่มเลยก็ได้ เชิงอรรถมี 3 ประเภท <p> 1. เชิงอรรถอ้างอิง (Citation footnotes) คือ เชิงอรรถแสดงแหล่งที่มาของข้อความที่นำมาประกอบการเรียบเรียง <p> 2. เชิงอรรถเสริมความ (Content footnotes) คือ เชิงอรรถอธิบายศัพท์หรือข้อความเพิ่มเติมในเนื้อเรื่องบางตอนที่มีความสัมพันธ์กัน <p> 3. เชิงอรรถโยง (Cross reference footnotes) คือ เชิงอรรถที่โยงให้ผู้อ่านดูข้อความที่หน้าอื่นในงานวิจัยเรื่องเดียวกัน หรือดูเพิ่มเติมในบทอื่น ๆ ซึ่งมีรายละเอียดไว้แล้วและไม่ต้องการกล่าวซ้ำอีก [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
เชิงอรรถ | [choēng-at] (n) EN: footnote |
footnote | (n) เชิงอรรถ, See also: คำอธิบายที่พิมพ์ไว้ส่วนล่างหรือส่วนหลังของหนังสือ |
footnote | (n) หมายเหตุ, เชิงอรรถ |
備考 | [びこう, bikou] TH: เชิงอรรถ EN: remarks |