เนื้อไม้ | น. ส่วนของต้นไม้ที่เป็นแก่นและกระพี้ อยู่ถัดเปลือกเข้าไป |
เนื้อไม้ | แก่นไม้หอม โดยมากใช้ทำธูป, ชนิดที่ดีมีสีดำ ใช้ทำยาไทย. |
กระเชา | น. ชื่อไม้ต้นผลัดใบขนาดใหญ่ชนิด Holoptelea integrifolia (Roxb.) Planch. ในวงศ์ Ulmaceae ขึ้นอยู่ทั่วไป ผลแบนบางเป็นปีกโดยรอบ เนื้อไม้สดสีเหลืองมะนาว เมื่อแห้งเป็นสีนวล แข็งพอประมาณ ใช้ในการก่อสร้างที่ไม่ต้องรับนํ้าหนักมากนัก ทำเครื่องเรือน แกนร่ม ก้านและกล่องไม้ขีดไฟ, บางทีเรียก กระเจา หรือ กระจาว, พายัพและปักษ์ใต้เรียก กระเจ้า ขจาว หรือ ขเจา. |
กระซิก ๒ | น. ชื่อไม้พุ่มรอเลื้อยชนิด Dalbergia parviflora Roxb. ในวงศ์ Leguminosae มีทางปักษ์ใต้ เนื้อไม้สีแดงคลํ้าคล้ายไม้ชิงชัน, ครี้ หรือ สรี้ ก็เรียก. |
กระทุ่ม ๑ | น. ชื่อไม้ต้นขนาดกลางและขนาดใหญ่ชนิด Anthocephalus chinensis (Lam.) A. Rich. ex Walp. ในวงศ์ Rubiaceae ใบออกเป็นคู่ตรงข้ามกัน ตามลำกิ่งและระหว่างก้านใบมีหูใบรูปสามเหลี่ยมปลายแหลมติดกับกิ่งทั้ง ๒ ด้าน ดอกเป็นช่อกลมสีเหลืองอ่อน หอม เนื้อไม้เหลืองหรือขาว ใช้ทำเสากระดาน และเยื่อกระดาษชนิดเลวได้, กระทุ่มบก ตะกู หรือ ตะโกส้ม ก็เรียก. |
กระบาก | น. ชื่อไม้ต้นขนาดใหญ่หลายชนิดในสกุล Anisoptera วงศ์ Dipterocarpaceae ขึ้นในป่าดิบทั่วไป ลำต้นตรง สูง ๓๐-๔๐ เมตร เนื้อไม้ใช้ในการก่อสร้างที่ไม่ต้องรับนํ้าหนัก โดยมากใช้เป็นไม้แบบหล่อคอนกรีต. |
กระพี้ | น. ส่วนของเนื้อไม้ที่หุ้มแก่น, เนื้อไม้ที่อยู่ระหว่างเปลือกกับแก่น มีลักษณะอ่อนและยุ่ยง่าย. |
กระมอบ | น. ชื่อไม้ต้นขนาดย่อมชนิด Gardenia obtusifolia Roxb. ex Kurz ในวงศ์ Rubiaceae คล้ายกระเบียน (๒) ซึ่งอยู่ในวงศ์เดียวกัน แต่ใบคายและเล็กกว่า ปลายใบป้าน ยอดอ่อนมียางเหนียว ผลย่อมกว่า เนื้อไม้ขาวละเอียด ใช้แกะสลักได้. |
กระลำพัก | น. ส่วนของเนื้อไม้ซึ่งมีสีดำ ๆ เกิดในต้นสลัดไดป่า ( Euphorbia antiquorum L.) และต้นตาตุ่มทะเล ( Excoecaria agallocha L.) ในวงศ์ Euphorbiaceae กลิ่นหอมอ่อน รสขม ใช้ทำยาได้. |
กราย ๔ | (กฺราย) น. ชื่อไม้ต้นขนาดกลางชนิด Xylopia malayana Hook. f. et Thomson ในวงศ์ Annonaceae เนื้อไม้ผ่าง่าย ใช้ทำฟืนและกระเบื้องไม้มุงหลังคา. |
กฤษณา | (กฺริดสะหฺนา) น. ส่วนของเนื้อไม้ซึ่งมีสีดำ เกิดเมื่อต้นไม้มีบาดแผล พบเฉพาะในต้นไม้สกุล Aquilaria โดยเฉพาะชนิด A. crassna Pierre ex Lecomte.และ A. malaccensis Lam. ในวงศ์ Thymelaeaceae กลิ่นหอม ใช้ทำยาได้. |
กะทังหัน | น. ชื่อไม้ต้นขนาดกลางถึงขนาดใหญ่ชนิด Calophyllum thorelii Pierre ในวงศ์ Guttiferae ดอกสีขาว ผลเล็ก รูปไข่ เนื้อไม้ใช้ทำพื้น ฝา เสาบ้าน และเสากระโดงเรือได้. |
กะเปียด | น. ชื่อไม้ต้นขนาดกลางชนิด Premna tomentosa Willd. ในวงศ์ Labiatae ลักษณะคล้ายต้นสัก แต่ใบเล็กกว่า รูปไข่หรือรี ปลายแหลมก้านยาว เนื้อไม้ละเอียด ใช้ทำประโยชน์ได้, พายัพเรียก สักขี้ไก่. |
กะล่อน ๑ | น. ชื่อมะม่วงชนิด Mangifera caloneura Kurz ในวงศ์ Anacardiaceae ผลเล็ก เนื้อไม่มีเสี้ยน เมื่อสุกมีกลิ่นหอมแรง, ขี้ไต้ ก็เรียก. |
กันเกรา | (-เกฺรา) น. ชื่อไม้ต้นขนาดกลางถึงขนาดใหญ่ชนิด Fagraea fragrans Roxb. ในวงศ์ Gentianaceae ชอบขึ้นในที่ชื้นแฉะทั่วไปในป่าดิบ ใบสีเขียวแก่ ค่อนข้างหนา ยาวราว ๕-๗ เซนติเมตร ดอกดก สีขาวแล้วเปลี่ยนเป็นสีเหลือง หอมมาก ออกเป็นช่อคล้ายช่อดอกเข็ม ผลเท่าเมล็ดถั่วลันเตา เมื่อสุกสีแดง เนื้อไม้สีเหลืองละเอียด แน่น เป็นมัน แข็งและทนทาน นิยมใช้ในการก่อสร้างต่าง ๆ, ตำเสา หรือ มันปลา ก็เรียก. |
ก้านเหลือง | น. ชื่อไม้ต้นขนาดกลางถึงขนาดใหญ่ชนิด Nauclea orientalis (L.) L. ในวงศ์ Rubiaceae คล้ายกระทุ่ม ขึ้นตามริมนํ้า เนื้อไม้สีเหลือง ละเอียด ใช้ในการก่อสร้าง. |
การบูร | (การะบูน) น. ชื่อไม้ต้นชนิด Cinnamomum camphora (L.) J. Presl ในวงศ์ Lauraceae เนื้อไม้มีสารสีขาว กลิ่นฉุนร้อน ซึ่งกลั่นแยกออกมาได้ เรียกว่า การบูร หรือ กรบูร ใช้ทำยา. |
กำแพงเจ็ดชั้น ๒ | น. ชื่อไม้พุ่มชนิด Litosanthes biflora Blume ในวงศ์ Rubiaceae ขึ้นตามป่าดิบ ใบเดี่ยว ออกตรงข้ามกัน ดอกสีขาว เนื้อไม้เป็นชั้น ๆ ใช้ทำยาได้. |
เก็ด | น. ชื่อไม้ต้นหลายชนิดในสกุล Dalbergia วงศ์ Leguminosae เช่น เก็ดดำ เก็ดแดง เนื้อไม้ใช้ทำเครื่องเรือนได้. |
เกรียก ๑ | (เกฺรียก) ก. เอามีดสับ ผ่า หรือจักชิ้นไม้ให้ฉีกออกไปตามเนื้อไม้ เพื่อให้เป็นซีกเป็นเสี้ยวน้อย ๆ เช่น เกรียกไม้ทำเชื้อไฟ. |
แก่น | น. เนื้อไม้แข็งและมีสีเข้ม อยู่ถัดกระพี้เข้าไป, เนื้อแท้, หลักสำคัญ เช่น แก่นพระศาสนา. |
แก้ว ๕ | น. ชื่อไม้พุ่มหรือไม้ต้นขนาดกลางชนิด Murraya paniculata (L.) Jack ในวงศ์ Rutaceae ขึ้นตามป่าดิบ กิ่งก้านสีขาว ใบสีเขียวสดเป็นมัน ดอกสีขาว กลิ่นหอม เนื้อไม้แข็งใส เหนียว มีลาย ใช้ทำด้ามมีดและไม้ถือ. |
ขว้าว | (ขฺว้าว) น. ชื่อไม้ต้นชนิด Haldina cordifolia (Roxb.) Ridsdale ในวงศ์ Rubiaceae ขึ้นในป่าเบญจพรรณทั่วไป ลำต้นสูงใหญ่ ใบมนรูปหัวใจ ปลายแหลม ดอกสีเหลือง คล้ายดอกกระทุ่ม แต่เล็กกว่า เนื้อไม้สีเหลือง ละเอียด ใช้ทำฝาบ้าน เครื่องเรือน เครื่องกลึง และเครื่องแกะสลัก, กว้าว ขวาว หรือ คว่าว ก็เรียก. |
ข่อย | น. ชื่อไม้ต้นขนาดย่อมถึงขนาดกลางชนิด Streblus asper Lour. ในวงศ์ Moraceae มักขึ้นตามป่าตํ่าและริมแม่นํ้าลำคลอง ใบเล็ก สากคาย ใช้ขัดถูได้ เปลือกใช้ทำกระดาษ เรียกว่า กระดาษข่อย ใบ เปลือก เนื้อไม้ และเมล็ดใช้ทำยาได้. |
ข่าต้น | น. ชื่อไม้ต้นขนาดใหญ่ชนิด Cinnamomum ilicioides A. Chev. ในวงศ์ Lauraceae เปลือกและเนื้อไม้มีกลิ่นหอม, พายัพเรียก พลูต้น. |
ขี้มอด | น. ชื่อไม้ต้นขนาดเล็ก ๒ ชนิด ในวงศ์ Leguminosae คือ ชนิด Dalbergia lanceolariaL.f. var. lakhonensis (Gagnep.)Niyomdham ดอกสีขาวหรือขาวแกมม่วงน้ำเงิน และชนิด Derris robusta (DC.) Benth. ดอกสีชมพูถึงม่วงอ่อน เนื้อไม้ฟ่าม ใช้ทำหีบหรือลัง. |
ขี้เหล็ก | น. ชื่อไม้ต้นขนาดกลางถึงขนาดใหญ่ชนิด Senna siamea (Lam.) Irwin et Barneby ในวงศ์ Leguminosae มักขึ้นตามริมนํ้าหรือป่าชื้น ดอกสีเหลืองดกเป็นช่อใหญ่ เนื้อไม้สีนํ้าตาลแก่หรือบางทีเกือบดำ มีลายเป็นเส้นสีแก่หรือสีอ่อนกว่าพื้น แข็ง เหนียว และหนักมาก ใช้ทำเครื่องเรือนและเครื่องใช้ต่าง ๆ ใบอ่อนและดอกกินได้. |
ขุนทอง | น. ชื่อนกขนาดกลางชนิด Gracula religiosa Linn. ในวงศ์ Sturnidae ปากสีส้ม ที่ท้ายทอยและหางตาทั้ง ๒ ข้างมีแผ่นเนื้อสีเหลือง ขนลำตัวสีดำเลื่อมเป็นมัน ที่ปีกมีขนสีขาวแซม ตีนสีเหลืองจัด ร้องเลียนเสียงคนหรือเสียงอื่น ๆ บางอย่างได้ ในประเทศไทยมี ๒ ชนิดย่อย คือ ขุนทองเหนือ ( G. r. intermediaHay) แผ่นเนื้อต่อเนื่องกัน และขุนทองใต้หรือขุนทองควาย ( G. r. religiosa Linn.) ซึ่งมีขนาดใหญ่กว่าชนิดย่อยแรก และแผ่นเนื้อไม่ต่อเนื่องกัน, พายัพเรียก เอี้ยงคำ. |
คาง ๒ | น. ชื่อไม้ต้นชนิด Albizia lebbeckoides (DC.) Benth. ในวงศ์ Leguminosae ใบคล้ายใบกระถิน เนื้อไม้สีนํ้าตาลแก่ แข็ง, พายัพเรียก กาง. |
ค่าหด | น. ชื่อไม้ต้นขนาดกลางถึงขนาดใหญ่ชนิด Engelhardtia spicata Blume ในวงศ์ Juglandaceae เนื้อไม้ใช้ทำหีบชาหรือก้านไม้ขีดไฟ. |
เงินน้ำห้าน้ำหก | น. เงินเนื้อไม่บริสุทธิ์ ถ้าเป็นเงินบริสุทธิ์ราคาบาทละ ๖ บาท แต่ถ้ามีทองแดงหรือโลหะอื่นปนอยู่ราคาลดลงเหลือบาทละ ๕ บาท เป็นต้น. |
จันทน์ | น. ชื่อพรรณไม้บางชนิดที่มีเนื้อไม้ ดอก หรือผลหอม ใช้ทำยาและปรุงเครื่องหอม. |
จันทน์ชะมด | น. ชื่อไม้ต้นขนาดกลางถึงขนาดใหญ่ชนิด Aglaia silvestris (M. Roem.) Merr. ในวงศ์ Meliaceae ขึ้นตามป่าชื้นบางแห่ง เนื้อไม้หอม. |
จันทน์ชะมด | ชื่อไม้ต้นขนาดกลางชนิด Mansonia gagei J.R. Drumm. ex Prain ในวงศ์ Sterculiaceae ขึ้นตามป่าดิบบนเขาหินปูน เนื้อไม้หอม, จันทน์หอม ก็เรียก. |
จันทน์แดง | น. ชื่อไม้พุ่มชนิด Dracaena loureiroi Gagnep. ในวงศ์ Dracaenaceae ขึ้นตามเขาหินปูน เนื้อไม้ที่สารลงมีสีแดง, จันทน์ผา ก็เรียก. |
จันทนา | น. ชื่อไม้ต้นขนาดกลางชนิด Tarenna hoaensis Pit. ในวงศ์ Rubiaceae เนื้อไม้หอม, จันทน์ขาว ก็เรียก. |
ฉนวน ๔ | (ฉะหฺนวน) น. ชื่อไม้ต้นขนาดกลางชนิด Dalbergia nigrescens Kurz ในวงศ์ Leguminosae เนื้อไม้อ่อน ไม่ทนทาน, สนวน หรือ ชนวน ก็เรียก. |
ฉุ | ว. มีเนื้อไม่แน่น, ใช้แก่ อ้วน หรือ บวม เป็น อ้วนฉุ บวมฉุ. |
เฉียงพร้านางแอ | น. ชื่อไม้ต้นขนาดใหญ่ชนิด Carallia brachiata (Lour.) Merr. ในวงศ์ Rhizophoraceae เนื้อไม้ใช้ทำเครื่องเรือน, คอแห้ง เขียงพระนางอี่ เขียงพร้า สันพร้านางแอ หรือ สีฟันนางแอ ก็เรียก. |
ชิงชัน | น. ชื่อไม้ต้นชนิด Dalbergia oliveriGamble ในวงศ์ Leguminosae เนื้อไม้แข็ง แก่นสีแดงเข้มถึงสีม่วงแก่, ประดู่ชิงชัน ก็เรียก. |
ชุมแพรก | (-แพฺรก) น. ชื่อไม้ต้นขนาดใหญ่ชนิด Heritiera javanica (Blume) Kosterm. ในวงศ์ Sterculiaceae เนื้อไม้ใช้ทำบ้านและเครื่องเรือนเป็นต้น. |
เซลลูโลส | น. สารประกอบคาร์โบไฮเดรตประเภทโพลีแซ็กคาไรด์ชนิดที่ซับซ้อน มีสูตรเคมี (C6H10O5)nประกอบด้วยโมเลกุลของกลูโคสมากมายเชื่อมโยงกัน เซลลูโลสเป็นองค์ประกอบสำคัญของเนื้อไม้ ฝ้าย ใช้ประโยชน์ในอุตสาหกรรมพลาสติก กระดาษ ไหมเทียม ดินระเบิด ฟิล์มภาพยนตร์ หรือฟิล์มถ่ายรูปชนิดไม่ไวไฟ เป็นต้น. |
ดอกไม้จันทน์ | น. เนื้อไม้จันทน์เป็นต้นที่ไสเป็นแถบบางนำมาประดิษฐ์เป็นช่อขนาดเล็ก ใช้ในการเผาศพ. |
ตรีทิพยรส | (-ทิบพะยะรด) น. พิกัดตัวยาประเภทหนึ่งในตำรายาไทย จำกัดจำนวนตัวยาอันมีรสดี ๓ อย่าง คือ โกฐกระดูก เนื้อไม้ อบเชยไทย. |
ตรีสุรผล | น. พิกัดตัวยาประเภทหนึ่งในตำราไทย จำกัดจำนวนตัวยาอันมีรสกล้า ๓ อย่าง คือ สมุลแว้ง เนื้อไม้ เทพทาโร. |
ตะโก ๑ | น. ชื่อไม้ต้นหลายชนิดในสกุล Diospyros วงศ์ Ebenaceae เปลือกสีดำคลํ้า เช่น ตะโกสวน [ D. malabarica (Desv.) Kostel. ] ผลคล้ายมะพลับ ตะโกนา ( D. rhodocalyxKurz) ผลเล็ก ผล เปลือก และเนื้อไม้ใช้ทำยาได้. |
ตะเคียน, ตะเคียนทอง | น. ชื่อไม้ต้นขนาดใหญ่ชนิด Hopea odorata Roxb. ในวงศ์ Dipterocarpaceae เนื้อไม้แข็ง ใช้ในการก่อสร้าง และขุดทำเรือ. |
ตาเสือ | น. ชื่อไม้ต้นชนิด Aphanamixis polystachya (Wall.) R. Parker ในวงศ์ Meliaceae เนื้อไม้สีแดง แข็งและหนัก ใช้ในการก่อสร้าง. |
ติดตา ๑ | น. วิธีขยายพันธุ์ต้นไม้แบบหนึ่ง ด้วยการแซะตาของต้นที่ต้องการขยายพันธุ์ไปติดที่ต้นหรือกิ่งของอีกต้นหนึ่งที่เป็นชนิดเดียวกัน โดยกรีดเปลือกตรงที่ต้องการจะนำตาไปติดให้เผยออก สอดตาให้แนบกับเนื้อไม้ ใช้แถบพลาสติกพันให้แน่นเว้นเฉพาะส่วนที่เป็นตา. |
ตีนนก | น. ชื่อไม้ต้นชนิด Vitex pinnata L. ในวงศ์ Labiatae ดอกเล็ก สีฟ้าอมขาว ออกเป็นช่อใหญ่ ผลกลมเล็ก สีดำ เนื้อไม้ทนทานใช้ทำเครื่องมือ, กานน กาสามปีก โคนสมอ หรือ สมอกานน ก็เรียก. |
alder | (n) ไม้ชนิดหนึ่งจำพวก alnus เปลือกใช้ย้อมผ้า เนื้อไม้ใช้ทำสะพานหรือตอม่อ |
annual ring | (n) การเกิดชั้นวงกลมในเนื้อไม้ของแต่ละปี, See also: วงปี ในเนื้อไม้ |
awl | (n) เหล็กปลายแหลม (ใช้เจาะหนังหรือเนื้อไม้ให้เป็นรู), Syn. bit, drill, pick |
creosote | (n) น้ำมันสีน้ำตาล (ใช้ทารักษาเนื้อไม้) |
curl | (n) ลายปีในเนื้อไม้ |
grain | (n) เมล็ดข้าว, See also: เมล็ด, เมล็ดพืช, เม็ดข้าว, ธัญพืช, เนื้อไม้, Syn. seed, bulb |
grain | (n) ลายเนื้อไม้ |
larch | (n) ต้นสนจำพวกหนึ่งที่มีเนื้อไม้แข็งแรงและทนทาน |
primer | (n) สารที่ใช้เคลือบสีเนื้อไม้ |
pulp | (n) เนื้อไม้ |
pulpous | (adj) เหมือนเนื้อไม้อ่อน, See also: นุ่มเหมือนเนื้อเยื่อ, Syn. pulpy |
pulpwood | (n) เนื้อไม้หรือวัสดุทำเยื่อกระดาษ |
pulpy | (adj) เหมือนเนื้อไม้อ่อน, See also: นุ่มเหมือนเนื้อเยื่อ, Syn. pulpous |
redwood | (n) ต้นสนเนื้อไม้สีแดงชนิดหนึ่ง |
shipworm | (n) หอยทะเลที่เจาะเนื้อไม้ |
springwood | (n) วงในของเนื้อไม้ที่เพิ่งขึ้นใหม่ |
summerwood | (n) เนื้อไม้ที่เติบโตและแข็งขึ้นหลังฤดูใบไม้ผลิ |
whitewood | (n) ต้นไม้เนื้อไม้สีขาวหรือสีอ่อน |
wood | (n) เนื้อไม้, See also: ไม้ |
woodborer | (n) แมลงในตระกูล Cossidae ชอบเจาะหรือไชเนื้อไม้ |
xyloid | (adj) คล้ายเนื้อไม้ |
xylophagous | (adj) ซึ่งทำลายเนื้อไม้, See also: ซึ่งกัดกินเนื้อไม้ |
xylotomist | (n) ผู้ตัดเนื้อไม้เพื่อศึกษาด้วยกล้องจุลทรรศน์ |
xylotomous | (adj) ซึ่งเจาะหรือไชเนื้อไม้ |
xylotomy | (n) การตัดเนื้อไม้เพื่อศึกษาด้วยกล้องจุลทรรศน์ |
annual ring | การเกิดชั้นวงกลมในเนื้อไม้พืชแต่ละปีมีอยู่ 2 ชั้นคือชั้นฤดูใบไม้ผลิและชั้นฤดูร้อน |
close-grained | มีเนื้อไม้ที่ละเอียด |
coarse-grained | adj. มีเนื้อไม้ที่หยาบ, หยาบ, เอะอะโวยวาย., See also: coarse-grainedness n. ดูcoarse-grained, Syn. crude |
hardwood | n. ไม้แข็ง, เนื้อไม้แข็ง adj. ซึ่งทำด้วยเนื้อไม้แข็ง |
herb | (เฮิร์บ) n. ต้นไม้ที่มีลำต้นอ่อน (ไม่เป็นเนื้อไม้) , สมุนไพร |
mortise | (มอร์'ทิส) n. บาก, ช่องเซาะในเนื้อไม้ vt. เซาะเป็นร่องหรือช่อง, บาก, สกัด., See also: mortiser n., Syn. mortice. |
paris green | n. ผงสีเขียว ยาฆ่าแมลง และยารักษาเนื้อไม้ |
pulpwood | (พัลพฺ'วูด) n. เนื้อไม้หรือวัสดุทำเยื่อกระดาษ |
ret | (เรท) vt. แช่ปอหรือป่าน (เพื่อทำให้เส้นใยออกจากเนื้อไม้) vi. แช่จนนิ่ม, แช่จนเปื่อย |
vein | (เวน) n. เส้นโลหิตดำ, สายแร่, ทางแร่, ลำเหมือง, เส้นใบไม้, เส้นบนปีกแมลง, ลายเนื้อไม้, สายเนื้อหิน, อารมณ์, นิสัย, ลีลา. vt. ทำให้มีลายเส้น. |
woodborer | (วูด'บอเรอะ) n. แมลงเจาะกินเนื้อไม้และผลไม้ |
wooden fibre | n. เส้นใยเนื้อไม้ |
woodpaper | (วูด'เพเพอะ) n. กระดาษที่ทำ จากเนื้อไม้ |
woodworm | (วูด'เวิร์ม) n. หนอนที่เจาะหรือจาะกินเนื้อไม้ |
xylem | (ไซ'เลิม) n. ส่วนเนื้อไม้เป็นมัดท่อของเนื้อเยื่อพืช (ต่างกับ phloem) |
xyloid | (ไซ'ลอยดฺ) adj. คล้ายไม้, คล้ายเนื้อไม้ |
xylotomy | (ไซลอท'ทะมี) n. ศิลปะการตัดเนื้อไม้เพื่อตรวจส่องกล้องจุลทรรศน์, See also: xylotomist n. |
yellow pine | n. ต้นสนอเมริกาที่มีเนื้อไม้สีเหลืองและแข็งแรง, ไม้ของต้นดังกล่าว |