เว้น | (v) omit, See also: leave a space, leave out, refrain from, miss, skip, Example: ครั้งนี้เป็นการบรรยายที่ผู้บรรยายจะตั้งคำถามง่ายๆ และเว้นคำตอบให้ผู้ฟังตอบเอง, Thai Definition: ปล่อยว่างเป็นตอนๆ |
เว้น | (v) omit, See also: abstain (from), spare, refrain (from), Syn. ละเว้น, Example: เธอดูแลจัดการให้ทุกเรื่องไม่เว้นแม้แต่อาหารการกิน เครื่องแต่งกาย ไปจนถึงบีบนวด, Thai Definition: ไม่กระทำหรือไม่ดำเนินการ |
เว้น | (v) omit, See also: leave a space, leave out, refrain from, miss, skip, Example: ครั้งนี้เป็นการบรรยายที่ผู้บรรยายจะตั้งคำถามง่ายๆ และเว้นคำตอบให้ผู้ฟังตอบเอง, Thai Definition: ปล่อยว่างเป็นตอนๆ |
เว้น | (v) omit, See also: abstain (from), spare, refrain (from), Syn. ละเว้น, Example: เธอดูแลจัดการให้ทุกเรื่องไม่เว้นแม้แต่อาหารการกิน เครื่องแต่งกาย ไปจนถึงบีบนวด, Thai Definition: ไม่กระทำหรือไม่ดำเนินการ |
งดเว้น | (v) refrain from, See also: abstain, give up, stop, desist, Syn. เว้น, ละเว้น, งด, ล้มเลิก, ยกเลิก, ยกเว้น, Ant. ปฏิบัติ, Example: พุทธศาสนิกชนควรงดเว้นการฆ่าสัตว์ |
ยกเว้น | (conj) except, See also: unless, but, whereas, Syn. เว้นแต่, นอกจาก, เว้นเสียแต่, Example: ข่าวความล้มเหลวทางเศรษฐกิจบั่นทอนความเชื่อมั่นครั้งใหม่ให้นักลงทุนและครั้งนี้ก็คงจะรุนแรงกว่าทุกๆ ครั้งยกเว้นแต่ว่ารัฐบาลจะมีหนทางรับมือได้อย่างทันท่วงที |
ยกเว้น | (v) except, See also: exclude, omit, refrain from, abstain from, Syn. ละเว้น, เว้น, Example: รัฐบาลยกเว้นการเก็บภาษีย้อนแล้ว, Thai Definition: ไม่เกี่ยวด้วย, กันเอาออก |
ละเว้น | (v) exclude, See also: leave out, omit, reject, make an exception of, Syn. ยกเว้น, Example: การออกเงินให้กู้ แกก็ไม่เคยละเว้นดอกเบี้ยให้ใคร |
ละเว้น | (v) exclude, See also: leave out, omit, reject, make an exception of, Syn. ยกเว้น, Example: การออกเงินให้กู้ แกก็ไม่เคยละเว้นดอกเบี้ยให้ใคร |
เว้นแต่ | (conj) unless, See also: but, if not, only if, except, Syn. เว้นแต่ว่า, นอกจาก, ยกเว้น, Example: ข้าพเจ้าก็ไม่เคยไปพบท่านจอมพลเลย เว้นแต่จะมีหน้าที่ราชการเท่านั้น |
ว่างเว้น | (v) free, See also: cease, abstain, refrain, stop, quit, Syn. งด, เว้น, หยุด, Example: เธอว่างเว้นจากเวทีประกวดมานาน 2 ปีเต็ม |
เว้นระยะ | (v) space (out), See also: put spaces between, Example: นักข่าวชิงจังหวะที่รัฐมนตรีเว้นระยะการพูดยิงคำถามด้วยความว่องไว |
เว้นระยะ | (v) space (out), See also: put spaces between, Example: นักข่าวชิงจังหวะที่รัฐมนตรีเว้นระยะการพูดยิงคำถามด้วยความว่องไว |
การยกเว้น | (n) exemption, See also: exception, exclusion, Syn. การเว้น, การละเว้น, Example: อสังหาริมทรัพย์ที่ได้รับการยกเว้นภาษี ได้แก่ พระราชวัง อันเป็นส่วนของแผ่นดิน, Thai Definition: การไม่เกี่ยวด้วย, การกันเอาออก |
ข้อยกเว้น | (n) exception, Example: เครื่องดื่มบำรุงร่างกายบางชนิดมีข้อยกเว้นสำหรับผู้ใหญ่ที่เป็นโรคหัวใจ, Thai Definition: ข้อกำหนดพิเศษซึ่งนอกเหนือไปจากที่กำหนดไว้ |
วันเว้นวัน | (adv) every other day, See also: alternate day, Example: เขาต้องไปธนาคารวันเว้นวัน |
ไม่ว่างเว้น | (adv) incessantly, See also: ceaselessly, steadily, perpetually, continually, continuously, constantly, Syn. สม่ำเสมอ, ต่อเนื่อง, Example: ช่วงนี้โรงแรมดังต่างๆ มีงานแต่งงานแทบทุกวันไม่ว่างเว้น |
เว้นเสียแต่ว่า | (conj) except, Syn. เว้นแต่, เว้นแต่ว่า, นอกจากว่า, นอกเสียจากว่า, Ant. รวมทั้ง, Example: ความเสี่ยงในการเกิดสงครามจะยังคงมีอยู่ เว้นเสียแต่ว่า อินเดียได้ถอนกำลังทั้งหมดออกจากบริเวณพรมแดน และยินยอมเปิดเจรจาเกี่ยวกับดินแดนแคชเมียร์, Thai Definition: คำที่ใช้นำหน้าประโยคเพื่อแสดงข้อยกเว้นในการกระทำนั้นๆ |
ข้อยกเว้น | น. ข้อความที่ไม่เกี่ยวด้วยเงื่อนไขหรือกฎเกณฑ์เป็นต้นที่กำหนดไว้. |
งดเว้น | ก. เว้นด้วยการงด คือ หยุดไม่กระทำหรือไม่ดำเนินการตามปรกติ เช่น งดเว้นอบายมุขระหว่างเข้าพรรษา. |
ยกเว้น | ก. ไม่เกี่ยวด้วย, กันเอาออก, ยอมให้เป็นพิเศษ. |
ยกเว้น | บ. นอกจาก, เว้นแต่, เว้นเสียแต่. |
ละเว้น | ก. งดเว้น, ยกเว้น, เช่น ลงโทษทุกคนไม่ละเว้นผู้ใด ทุกคนถูกบังคับให้ทำงานไม่มีละเว้น. |
ว่างเว้น | ก. งด, เว้น, เช่น ว่างเว้นจากการเสพสุรายาเมา เขาเคยมาเสมอ แต่หมู่นี้ว่างเว้นไป. |
เว้น | ก. แยกเอาออก (ไม่ให้พัวพันกันอยู่กับสิ่งซึ่งพึงกระทำหรือไม่พึงกระทำ) เช่น ทำเลขทุกข้อเว้นข้อ ๔ เปิดทุกวันเว้นวันนักขัตฤกษ์ วันโกนไม่ละวันพระไม่เว้น, เป็นคำใช้ได้ทั่ว ๆ ไป ถ้าต้องการให้ทราบชัดว่าเว้นด้วยลักษณะไหน ก็เอาคำอื่นซึ่งมีความหมายคล้ายคลึงกันมาประกอบเข้า เช่น งดเว้น ยกเว้น ละเว้น. |
เว้นช่องไฟ | ก. เว้นช่องว่างระหว่างตัวหนังสือหรือลวดลายแต่ละตัว. |
เว้นแต่ | สัน. นอกจาก, ยกเว้น, เช่น ฉันจะไป เว้นแต่ฝนตก. |
เว้นวรรค | ก. เว้นช่วงของคำ ข้อความ หรือประโยคเป็นระยะ ๆ. |
หัวไม่วางหางไม่เว้น | ว. รวบหมดทั้งหัวทั้งหาง |
หัวไม่วางหางไม่เว้น | อาการที่ทำงานอยู่ตลอดเวลาโดยไม่มีเวลาหยุดพัก เช่น เขาทำงานหัวไม่วางหางไม่เว้น เขาถูกใช้งานจนหัวไม่วางหางไม่เว้น. |
กฎหมู่ | น. การกดดันที่บุคคลจำนวนมากนำมาใช้บีบบังคับให้อีกฝ่ายหนึ่งกระทำหรือเว้นกระทำอย่างใดอย่างหนึ่ง (มักไม่เป็นไปตามตัวบทกฎหมาย). |
กระทำ ๑ | ทำการใด ๆ ที่เกิดผลในทางกฎหมาย แต่การงดเว้นการกระทำใด ๆ ที่กฎหมายกำหนดให้ต้องกระทำ ก็ถือว่าเป็นการกระทำด้วย เช่น บิดามารดามีหน้าที่ดูแลบุตรซึ่งยังเล็กอยู่ การที่บิดามารดาอยู่เฉยไม่หาอาหารให้ ก็อาจถือว่าเป็นการกระทำได้. |
กระทิง ๑ | น. ชื่อวัวป่าขนาดใหญ่ที่สุดชนิด Bos gaurus Smith ในวงศ์ Bovidae ขนสีดำหรือดำแกมน้ำตาลแซมด้วยขนยาวสีเทาหรือเทาอมดำ ยกเว้นบริเวณหน้าผากมีขนสีเทา และครึ่งล่างของขาทั้ง ๔ เป็นขนสีขาวอมเหลือง ขนเหล่านี้อาจเห็นเป็นสีเหลืองทอง เนื่องจากเหงื่อที่เป็นน้ำมันที่ขับออกมา. |
กระพี้เขาควาย | น. ชื่อไม้ต้นขนาดกลางถึงขนาดใหญ่ชนิด Dalbergia cultrata Graham ex Benth. ในวงศ์ Leguminosae ขึ้นตามป่าเบญจพรรณและป่าทุ่งทั่วไป เว้นแต่ปักษ์ใต้ แก่นสีดำแข็งและหนักมาก ใช้ทำเครื่องเรือน เพลาเกวียน และด้ามเครื่องมือต่าง ๆ. |
กราวรูด | (กฺราว-) ว. ตลอดหมด, ไม่เว้น, เช่น จับกราวรูด. |
กล้ำแกล่ | ก. กลืน, กิน, เช่น คือดั่งปากเว้นกลํ้า แกล่เหมี้ยงหมากพลู (โลกนิติ). |
กวางป่า | น. ชื่อกวางชนิด Cervus unicolor Kerr ในวงศ์ Cervidae เป็นชนิดที่ใหญ่ที่สุดในหมู่กวางในประเทศไทย ขนยาวหยาบสีน้ำตาล ตัวผู้มีเขาเป็นแขนงข้างละ ๓ กิ่ง ผลัดเขาปีละครั้ง มักแยกอยู่ตามลำพังยกเว้นฤดูผสมพันธุ์จึงจะรวมกลุ่ม กินใบไม้อ่อน หญ้าอ่อน, กวางม้า ก็เรียก. |
กองมรดก | น. ทรัพย์สินทุกชนิดของผู้ตาย รวมทั้งสิทธิหน้าที่และความรับผิดต่าง ๆ เว้นแต่ตามกฎหมายหรือโดยสภาพแล้วเป็นการเฉพาะตัวของผู้ตายโดยแท้. |
ก้าง ๒ | น. ชื่อปลานํ้าจืดชนิด Channa orientalis (Schneider) ในวงศ์ Channidae คล้ายปลาช่อนซึ่งเป็นปลาสกุลเดียวกัน แต่ตัวเล็กกว่า เว้นแต่ปลาก้างนั้นเกล็ดข้างตัวมีราว ๔๑-๔๕ เกล็ด ขอบครีบต่าง ๆ เป็นสีส้ม มักพบหลบอยู่ตามแหล่งน้ำตื้นที่มีใบไม้จมอยู่ ขนาดยาวได้ถึง ๒๐ เซนติเมตร, ขี้ก้าง ก็เรียก. |
กาฝาก ๒ | น. ชื่อนกขนาดเล็กหลายชนิด ในวงศ์ Dicaeidae ปากสั้น หางสั้น แต่ละชนิดมีสีตามลำตัวหลายสี ตัวผู้สีสดกว่าตัวเมีย ยกเว้นบางชนิดที่มีสีคล้ายคลึงกันทั้ง ๒ เพศ กินน้ำต้อยโดยเฉพาะดอกกาฝากและผลไม้ เช่น กาฝากอกเหลือง [ Prionochilus maculates (Temminck & Laugier) ] กาฝากปากหนา [ Dicaeum agile (Tickell) ] กาฝากอกเพลิง [ D. ignipectus (Blyth) ] สีชมพูสวน [ D. cruentatum (L.) ]. |
กิ้งกือ | น. ชื่อสัตว์ขาปล้อง ชั้น Diplopodae มีเปลือกตัวแข็ง ลำตัวกลมยาวแบ่งเป็นปล้อง ไม่แบ่งอกหรือท้องให้เห็น ปล้องตามลำตัวจับกันเป็นคู่ตามยาวยืดหดเข้าหากันได้ ทำให้สามารถขดตัวเป็นวงกลมได้เมื่อถูกรบกวน ปล้องแต่ละคู่จะมีขา ๒ คู่ ยกเว้นปล้องแรกไม่มีขา ปล้องที่ ๒ ถึง ๔ มีขาเพียงคู่เดียว จำนวนขาอาจมีได้ถึง ๒๔๐ คู่ ชนิดตัวโตที่พบบ่อย อยู่ในสกุล Thyropygusเช่น กิ้งกือกระบอก ชนิด T. allevatus (Karsch) วงศ์ Harpagophoridae ส่วนตัวขนาดย่อมอยู่ในสกุล Nepalmatoiulasวงศ์ Julidae. |
กุ้งดีด, กุ้งดีดขัน | น. ชื่อกุ้งขนาดเล็กหลายชนิดหลายสกุล เช่น สกุล Alpheus ในวงศ์ Alpheidae มีก้ามใหญ่ ๒ ข้าง ก้ามข้างหนึ่งโตกว่ามาก สามารถทำให้เกิดเสียงดังด้วยวิธีหนีบก้าม โดยเฉพาะเมื่อกระทบขันเสียงจะดังยิ่งขึ้น จึงได้ชื่อว่า กุ้งดีดขัน พบอาศัยหลบซ่อนอยู่ตามซอกวัสดุต่าง ๆ ริมฝั่งทั้งในนํ้าเค็มและนํ้ากร่อย ยกเว้นชนิด Alpheus microrhynchus De Man ที่พบอยู่ในนํ้าจืดด้วย, กระเตาะ ก็เรียก. |
กุแล | น. ชื่อปลาทะเลหลายชนิดในสกุล Sardinella และ Herklotsichthys วงศ์ Clupeidae ลำตัวยาว แบนข้างมาก สันท้องบางคล้ายคมมีด เกล็ดบางหลุดง่าย เกล็ดในแนวสันท้องเป็นเหลี่ยมคมเรียงต่อกันคล้ายฟันเลื่อย ปากเล็กเชิดขึ้นเล็กน้อย ฟันเล็กมาก ซี่เหงือกมีจำนวนมาก ไม่มีก้านครีบแข็งหรือเงี่ยง ลำตัวสีเงิน เฉพาะด้านหลังสีนํ้าเงินเข้ม บนลำตัวที่ใกล้มุมแผ่นปิดเหงือกมักมีแต้มสีดำคลํ้า ๑ จุด ครีบหลังและครีบหางสีดำคลํ้าอมเหลือง ขนาดยาวได้ถึง ๑๘ เซนติเมตร, อกรา หรือ อกแล ก็เรียก, ส่วน กุแลกลม หรือ กุแลกล้วย หมายถึงชนิดในสกุล Dussumieria ซึ่งอยู่ในวงศ์เดียวกัน ลักษณะทั่วไปคล้ายกัน เว้นแต่มีลำตัวแบนข้างเล็กน้อย หัวแหลม ท้องกลม ไม่มีเกล็ดที่เรียงกันเป็นฟันเลื่อย ซี่เหงือกมีจำนวนน้อยและสั้น ขนาดยาวได้ถึง ๒๒ เซนติเมตร, อกรากล้วย หรือ อกแลกล้วย ก็เรียก |
ข่มขืนใจ | ก. บังคับจิตใจหรือฝืนใจให้ต้องกระทำการหรืองดเว้นกระทำการ เช่น ข่มขืนใจเจ้าพนักงานให้ปฏิบัติการอันมิชอบด้วยหน้าที่ หรือให้ละเว้นการปฏิบัติการตามหน้าที่ โดยใช้กำลังประทุษร้าย หรือขู่เข็ญว่าจะใช้กำลังประทุษร้าย ซึ่งเป็นความผิดต่อเจ้าพนักงาน. |
ขยิบ | (ขะหฺยิบ) ก. ทำหลับตาแล้วลืมโดยเร็วครั้งหนึ่ง โดยเป็นอาณัติสัญญาณให้ผู้อื่นกระทำหรือเว้นกระทำอย่างใดอย่างหนึ่ง. |
ขอตัว | ก. พูดเพื่อให้ยกเว้นตัวเอง. |
ขอที, ขอเสียที | ก. ห้ามเชิงขอร้อง, ขอให้ละเว้นการกระทำ. |
ขอโทษ, ขอประทานโทษ | ก. ขอให้ยกเว้นโทษ, ใช้เป็นคำสุภาพเมื่อรู้สึกว่าจะเป็นการล่วงเกินผู้อื่น. |
ขอบิณฑบาต | ก. ขอให้ละเว้นการกระทำ. |
ขออภัย | ก. ขอให้ยกเว้นโทษ, ขออย่าได้ถือโทษ. |
ขี้ยอก | น. ชื่อปลานํ้าจืดหลายชนิด ในสกุล Mystacoleucusวงศ์ Cyprinidae รูปร่างทั่วไปคล้ายปลาตะเพียน เว้นแต่มีหนามแข็งยื่นจากต้นครีบหลังออกไปข้างหน้า ขนาดยาวได้ถึง ๒๐ เซนติเมตร เช่น ชนิด Mystacoleucus marginatus (Valenciennes), M. atridorsalis Fowler, ชื่อนี้เรียกกันเฉพาะในเขตแม่นํ้าปิงเท่านั้น ในเขตแม่นํ้าน่านเรียก หนามไผ่, ปักษ์ใต้เรียก หญ้า. |
แขก ๒ | น. คำเรียกชาวอินเดีย ศรีลังกา ปากีสถาน บังกลาเทศ อัฟกานิสถาน เนปาล ชวา มลายู ชาวเอเชียตะวันออกกลางและตะวันออกใกล้ ยกเว้นชาวยิว แอฟริกาเหนือ และ นิโกร. |
คดีปกครอง | น. คดีที่เป็นข้อพิพาทระหว่างหน่วยงานทางปกครอง หรือเจ้าหน้าที่ของรัฐกับเอกชนหรือระหว่างหน่วยงานทางปกครองหรือเจ้าหน้าที่ของรัฐด้วยกัน ซึ่งเป็นข้อพิพาทอันเนื่องมาจากกระทำหรือการละเว้นการกระทำในทางปกครองของหน่วยงานทางปกครองหรือเจ้าหน้าที่ของรัฐ. |
คัดคลองเลื่อย | ก. ดัดฟันเลื่อยให้เบนออกจากแนว โดยดัดฟันหนึ่งเว้นฟันหนึ่งจนตลอดทั้งตัวเลื่อยแล้วจึงดัดฟันที่เว้นไว้ให้เบนออกทางด้านตรงข้ามกับฟันที่ได้ดัดไว้แล้ว. |
คางเบือน | น. ชื่อปลานํ้าจืดไม่มีเกล็ดชนิด Belodontichthys truncatus (Bleeker) ในวงศ์ Siluridae รูปร่างคล้ายปลาค้าว เว้นแต่มีขนาดเล็กกว่า คือ ยาวประมาณ ๗๐ เซนติเมตร ปากเชิดขึ้นถึงแนวสันหลัง ครีบหลังเล็กมาก ครีบอกใหญ่และยาว ส่วนบนลำตัวหนาลู่แคบลงไปในแนวสันท้อง หลังกว้าง ด้านหลังสีเทาอมเขียว ข้างท้องสีเงิน พบตามแหล่งนํ้าใหญ่ทั่วไป, เบี้ยว อ้ายเบี้ยว หรือ ขบ ก็เรียก. |
คำเสนอ | น. การแสดงเจตนาว่าจะกระทำการหรืองดเว้นกระทำการอย่างใดอย่างหนึ่ง ที่บุคคลฝ่ายหนึ่งแจ้งต่อบุคคลอีกฝ่ายหนึ่ง. (ดู คำสนอง ประกอบ). |
ค้ำคอ | ก. ทำให้อยู่ในฐานะจำใจต้องทำหรืองดเว้น. |
คุ้มโทษ | ก. ได้รับความคุ้มครองยกเว้นที่จะไม่ต้องถูกลงโทษ เช่น อหนึ่งผู้ตามโจรได้รบพุ่งฟันแทงมีบาดเจบท่านว่าคุ้มโทษ (สามดวง). |
เคมีอนินทรีย์ | (-อะนินซี) น. วิชาเคมีแขนงที่ว่าด้วยการศึกษาเกี่ยวกับธาตุทั้งสิ้นและสารประกอบของธาตุเหล่านั้น ยกเว้นธาตุคาร์บอนซึ่งศึกษาแต่เพียงตัวธาตุคาร์บอน สารประกอบออกไซด์ สารประกอบซัลไฟด์ และโลหะคาร์บอเนตเท่านั้น. |
เคมีอินทรีย์ | น. วิชาเคมีแขนงที่ว่าด้วยการศึกษาเกี่ยวกับสารประกอบทั้งสิ้นของธาตุคาร์บอน ยกเว้นเรื่องสารประกอบออกไซด์ สารประกอบซัลไฟด์ และโลหะคาร์บอเนต. |
เคร่งครัด | ถูกต้องครบถ้วน เช่น ปฏิบัติตามคำสั่งอย่างเคร่งครัด ข้อยกเว้นต้องตีความอย่างเคร่งครัด |
โคร่ง ๑ | (โคฺร่ง) น. ชื่อเสือชนิด Panthera tigris (Linn.) ในวงศ์ Felidae เป็นเสือที่ใหญ่ที่สุดในประเทศไทย ตัวสีเหลือง มีลายดำตามขวาง ล่าสัตว์ป่าบนพื้นดิน มักอยู่ลำพังตัวเดียว ยกเว้นฤดูผสมพันธุ์ ชอบเล่นนํ้า, ลายพาดกลอน ก็เรียก. |
งด | ก. หยุดหรือเว้น คือ ไม่กระทำหรือไม่ดำเนินการตามปรกติ เช่น ผู้ป่วยต้องงดอาหารและน้ำตามที่แพทย์สั่ง. |
เงือก ๓ | น. ชื่อนกขนาดใหญ่หลายชนิด ในวงศ์ Bucerotidae ปากใหญ่ บนส่วนท้ายของขากรรไกรบนมีโหนกแข็ง ส่วนใหญ่ภายในโหนกแข็งกลวง ยกเว้นบางชนิดมีโหนกแข็งตัน เช่น นกชนหิน ส่วนใหญ่ลำตัวสีดำ นอกฤดูผสมพันธุ์อยู่รวมกันเป็นฝูง ขณะบินมีเสียงดัง ระยะเริ่มตกไข่ตัวเมียจะอยู่ในโพรงไม้ แล้วใช้เศษอาหาร ดิน และมูลปิดปากโพรงด้านใน ตัวผู้ใช้วัสดุเดียวกันปิดปากโพรงทางด้านนอก เหลือรูพอที่ตัวผู้จะหาอาหารมาป้อนให้ขณะที่ตัวเมียฟักไข่และเลี้ยงลูกได้ ร้องเสียงดังมาก กินผลไม้และสัตว์ขนาดเล็ก เช่น เงือกกรามช้าง [ Rhyticeros undulatus (Shaw) ] เงือกหัวแรด ( Buceros rhinoceros Linn.) เงือกสีน้ำตาล [ Ptilolaemus tickelli (Blyth) ] เงือกดำ [ Anthracoceros malayanus (Raffles) ]. |
จญ | ก. ประจญ, สู้รบ, เช่น คือนาคจญครุทธสรงง วิ่งเว้น (ยวนพ่าย). |
เจลียง | (จะเลียง) น. ชื่อไข้ที่มีอาการจับวันเว้นวัน. |
ช่องไฟ | บริเวณที่เว้นไว้เป็นพื้นเท่า ๆ กันระหว่างลวดลายแต่ละตัว |
ชั่วแต่ว่า | ว. เสียแต่ว่า, เว้นแต่ว่า, เพียงแต่ว่า. |
para- | ข้าง ๆ, ข้างเคียง, เข้าถึง, ต่าง, ยกเว้น, พิการ, ล้ำหน้า [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
power, dispensing | อำนาจยกเว้นความรับผิดทางอาญา [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
periodic abstinence | การงดเว้นในช่วงไข่สุก [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] |
privilege, franking | สิทธิยกเว้นไปรษณียากร [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
list, free | รายการสินค้าที่ยกเว้นภาษีศุลกากร [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
restraining order | คำสั่งให้งดเว้นกระทำการ, คำสั่งห้ามกระทำการ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
refrain | งดเว้น [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
statutory duty, breach of | การกระทำผิดหน้าที่, การละเว้นหน้าที่ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
statutory exception | ข้อยกเว้นโดยกฎหมาย [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
saving clause | ข้อกำหนดการยกเว้น [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
sine que non (L.) | สิ่งที่จะงดเว้นมิได้ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
stand-off distance; stand-off gap | ระยะเว้นก่อนเชื่อม [การเชื่อม ๒๐ ก.ย. ๒๕๔๔] |
stand-off gap; stand-off distance | ระยะเว้นก่อนเชื่อม [การเชื่อม ๒๐ ก.ย. ๒๕๔๔] |
staggered intermittent weld | รอยเชื่อมเว้นระยะสลับฟันปลา [การเชื่อม ๒๐ ก.ย. ๒๕๔๔] |
step time | เวลาเว้นเชื่อม [การเชื่อม ๒๐ ก.ย. ๒๕๔๔] |
step-by-step roller spot welding | การเชื่อมจุดเว้นระยะด้วยล้ออิเล็กโทรด [การเชื่อม ๒๐ ก.ย. ๒๕๔๔] |
step-by-step seam welding | การเชื่อมตะเข็บเว้นระยะ [การเชื่อม ๒๐ ก.ย. ๒๕๔๔] |
step-by-step welding | การเชื่อมจุดเว้นระยะ [การเชื่อม ๒๐ ก.ย. ๒๕๔๔] |
special exception | ข้อยกเว้นพิเศษ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
sponsion | ข้อตกลงที่ยังไม่ผูกพัน (เว้นแต่จะได้รับสัตยาบัน) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
order, cease-and-desist | คำสั่งทางราชการให้งดเว้นการกระทำ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
omission | การละเว้น [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] |
omission | การละเลย, การละเว้น [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
omit to disclose | ละเว้นเสียไม่เปิดเผย [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
act of indemnity | กฎหมายยกเว้นความรับผิด [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
abstain | งดเว้น (การร่วมเพศ) [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] |
abstention | การงด, การเว้น [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
abstinence | การงดเว้น (การร่วมเพศ) [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] |
justifiable act | ๑. นิรโทษกรรม๒. การกระทำที่กฎหมายยกเว้นความรับผิด [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
breach of statutory duty | การกระทำผิดหน้าที่, การละเว้นหน้าที่ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
besetting | การเฝ้าติดตามบุคคลโดยไม่มีเหตุผลตามกฎหมาย(เพื่อบีบบังคับให้กระทำหรืองดเว้นกระทำการบางอย่าง) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
birth spacing | การเว้นช่วงการมีบุตร [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] |
condemnation | ๑. การพิพากษาลงโทษทางอาญา (ป. วิ. อาญา)๒. การบังคับให้บุคคลกระทำหรืองดเว้นกระทำ การตามคำพิพากษา (ป. วิ. แพ่ง)๓. การประณาม, การพิพากษาของศาลทรัพย์เชลย (ก. ระหว่างประเทศ)๔. การเรียกเกณฑ์ทรัพย์, การเวนคืนทรัพย์, การสั่งห้ามใช้อาคาร (ที่ไม่ถูกต้องด้วยสุขลักษณ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
cease-and-desist order | คำสั่งทางราชการให้งดเว้นการกระทำ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
chain intermittent weld | รอยเชื่อมเว้นระยะตรงกัน [การเชื่อม ๒๐ ก.ย. ๒๕๔๔] |
dispensing power | อำนาจยกเว้นความรับผิดทางอาญา [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
dead time | เวลาเว้นว่าง [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
gratis | ทำให้เปล่า, ยกเว้นค่าธรรมเนียม [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
free list | รายการสินค้าที่ยกเว้นภาษีศุลกากร [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
free of capture and seizure clause | ข้อกำหนดยกเว้นการจับกุมยึดหน่วง [ประกันภัย ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] |
franking privilege | สิทธิยกเว้นไปรษณียากร [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
exemption | การยกเว้น [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
exemption clause | ข้อกำหนดยกเว้น [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
exempt income | เงินได้ที่ได้รับยกเว้นภาษี [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
exempt, tax | การยกเว้นภาษี [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
exempt, tax | การยกเว้นภาษี [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
errors and omissions insurance | การประกันภัยความผิดตกละเว้น [ประกันภัย ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] |
exculpatory clause | ข้อกำหนดยกเว้นความรับผิด (เมื่อกระทำโดยบริสุทธิ์ใจ) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
exclusion of liability | การยกเว้นความรับผิด [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
exception | ๑. ยกเว้น๒. สิ่งผิดปรกติ, ความผิดปรกติ [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
Escape clause action | การปฏิบัติตามข้อกำหนดงดเว้น [เศรษฐศาสตร์] |
Absorbed dose | ปริมาณ (รังสี) ดูดกลืน, Absorbed dose, D<sub>T, R</sub> ปริมาณพลังงานที่วัตถุดูดกลืนไว้เมื่อได้รับรังสี มีหน่วยเป็น เกรย์ ปกติจะระบุชนิดของวัตถุและชนิดของรังสี โดยเขียนเป็นสัญลักษณ์ดังนี้ D<sub>material, radiation</sub> เช่น D<sub>lung, alpha </sub>ยกเว้นรังสีแกมมาอาจไม่ต้องระบุชนิดของรังสี เช่น Dwater (ดู gray, Gy ประกอบ) [นิวเคลียร์] |
Elementary particles | อนุภาคมูลฐาน, อนุภาคชั้นสามัญที่สุดของสสารและรังสี ส่วนใหญ่มีอายุสั้นและไม่ปรากฏในภาวะปกติ (ยกเว้น อิเล็กตรอน นิวตรอน โปรตอน และนิวทริโน) เดิมหมายถึงอนุภาคใดๆ ที่ไม่สามารถแบ่งย่อยต่อไปได้ หรืออนุภาคที่เป็นองค์ประกอบของอะตอม ปัจจุบันหมายถึงอนุภาคโปรตอน นิวตรอน อิเล็กตรอน มีซอน มิวออน แบรีออน และปฏิยานุภาคของอนุภาคเหล่านี้ รวมทั้งโฟตอน แต่ไม่รวมอนุภาคแอลฟาหรือดิวเทอรอน [นิวเคลียร์] |
Source material | วัสดุต้นกำลัง, วัสดุใด ๆ ที่มียูเรเนียม ทอเรียม หรือทั้งสองอย่างรวมกัน เป็นองค์ประกอบ ร้อยละ 0.05 ขึ้นไป ยกเว้นวัสดุนิวเคลียร์พิเศษ, Example: [นิวเคลียร์] |
Nucleus | นิวเคลียส, แกนกลางของอะตอม มีประจุเป็นบวก และขนาดเล็กประมาณ 10-15 เมตร หรือประมาณ 1 ใน 10, 000 ของเส้นผ่าศูนย์กลางของอะตอม เป็นที่รวมของมวลเกือบทั้งหมดของอะตอม ทุกนิวเคลียสประกอบด้วยโปรตอนและนิวตรอน ยกเว้นนิวเคลียสของไฮโดรเจนธรรมดาที่มีเพียงโปรตอนหนึ่งอนุภาค [นิวเคลียร์] |
Neutron | นิวตรอน, อนุภาคมูลฐานที่ไม่มีประจุ มีมวลมากกว่าโปรตอนเล็กน้อย และพบในนิวเคลียสของทุกอะตอมยกเว้นอะตอมไฮโดรเจนธรรมดา นิวตรอนอิสระไม่เสถียร มีครึ่งชีวิต 10.3 นาที สลายเป็นอิเล็กตรอน โปรตอน และนิวทริโน [นิวเคลียร์] |
Braille Typewriter | เครื่องพิมพ์ดีดอักษรเบรลล์, เครื่องพิมพ์ที่ผลิตจุดนูนที่เป็นอักษรเบรลล์เพื่อคนตาบอด มีแป้นพิมพ์จำนวน ๖ แป้นเพื่อสร้างรหัสอักษรเบรลล์ โดยการกดแป้นคีย์พร้อมกัน ๑ ถึง ๖ แป้น ก็จะสามารถสร้างรหัสอักษรเบรลล์ได้ครั้งละ ๖ จุด นอกจากนั้นก็มีแป้นเว้นวรรค, แป้นลบถอยหลัง และแป้นขึ้นบรรทัดใหม่, Example: ความหมายเดียวกับ Perkins Brailler [Assistive Technology] |
Perkins Brailler | เครื่องพิมพ์ดีดอักษรเบรลล์, เครื่องพิมพ์ที่ผลิตจุดนูนที่เป็นอักษรเบรลล์เพื่อคนตาบอด มีแป้นพิมพ์จำนวน ๖ แป้นเพื่อสร้างรหัสอักษรเบรลล์ โดยการกดแป้นคีย์พร้อมกัน ๑ ถึง ๖ แป้น ก็จะสามารถสร้างรหัสอักษรเบรลล์ได้ครั้งละ ๖ จุด นอกจากนั้นก็มีแป้นเว้นวรรค, แป้นลบถอยหลัง และแป้นขึ้นบรรทัดใหม่, Example: ความหมายเดียวกับ Braille Typewriter [Assistive Technology] |
มังสวิรัติ | การงดเว้นกินเนื้อสัตว์ เรียกอาหารที่ไม่มีเนื้อสัตว์ มีแต่พืชผักว่า อาหารมังสวิรัติ, Example: คำที่มักเขียนผิด คือ มังสวิรัต [คำที่มักเขียนผิด] |
Hold harmles agrements | ข้อตกลงยกเว้นความรับผิด [TU Subject Heading] |
Neurosurigical procedures | ศัลยกรรมประสาท, ศัลยกรรมประสาท ใช้กับงานที่กล่างถึงวิธีหรือขั้นตอนของการดำเนินการผ่าตัดระบบประสาท หรือส่วนใดส่วนหนึ่งของระบบ เป็นหัวเรื่องทางการแพทย์ที่ใช้ได้กับหัวเรื่องย่อยเฉพาะด้านในกลุ่ม E4 ยกเว้นบางคำที่ระบุคำสั่งห้ามใช้ [TU Subject Heading] |
Omission, Criminal | การละเว้นทางอาญา [TU Subject Heading] |
Tax exemption | การยกเว้นภาษีอากร [TU Subject Heading] |
Mechanical Thinning | การตัดสางแบบต้นเว้นต้น, Example: การตัดสางขยายระยะวิธีหนึ่ง โดยเลือกตัดแบบต้นเว้นต้น หรือโดยวิธีตัดเว้นระยะระหว่างแถวหรือแนว โดยไม่คำนึงถึงเรือนยอดของต้นไม้ การตัดสางขยายระยะแบบนี้ ใช้ได้สำหรับสวนป่าที่เพิ่งเริ่มปลูกและไม่เคยทำการตัดสาง ขยายระยะมาก่อนและต้นไม้ขึ้นหนาแน่น [สิ่งแวดล้อม] |
ASEAN Investment Area | เขตการลงทุนอาเซียน จัดตั้งขึ้นตามกรอบความตกลงว่าด้วยเขตลงทุนอาเซียน ที่ลงนามเมื่อ ปี พ.ศ. 2541 เพื่อส่งเสริมให้มีภาวะการลงทุนที่โปร่งใสและเสรีในอาเซียนในอันที่จะดึงดูด การลงทุนจากภายในและภายนอกภูมิภาค โดยให้ประเทศสมาชิกเปิดให้มีการลงทุนทางอุตสาหกรรม และให้มี การประติบัติเยี่ยงคนชาติแก่นักลงทุนอาเซียนภายในปี พ.ศ. 2553 และแก่นักลงทุนทั่วไปภายในปี พ.ศ. 2563 โดยครอบคลุมการลงทุนโดยตรง ทั้งหมดในสาขาอุตสาหกรรมการผลิต เกษตร ประมง ป่าไม้ และเหมืองแร่ รวมทั้งการบริการที่เกี่ยวเนื่องกับสาขาการผลิตดังกล่าว ยกเว้นการลงทุนในตลาดหลักทรัพย์ [การทูต] |
ASEAN Dialogue Partners | คู่เจรจาอาเซียน " ประกอบด้วย 9 ประเทศ 1 กลุ่มประเทศ และ 1 องค์การระหว่างประเทศ คือ ออสเตรเลีย แคนาดา จีน อินเดีย ญี่ปุ่น สาธารณรัฐเกาหลี นิวซีแลนด์ รัสเซีย สหรัฐอเมริกา ประชาคมยุโรป และโครงการพัฒนาแห่งสหประชาชาติ โดยคู่เจรจาเหล่านี้ (ยกเว้นโครงการพัฒนาแห่งสห- ประชาชาติ) จะเข้าร่วมการประชุม PMC ด้วย " [การทูต] |
Commonwealth of Independent States | เครือรัฐเอกราช " กลุ่มประเทศเครือรัฐเอกราชเกิดจากการรวมตัวกันของบรรดาประเทศเกิดใหม่ภาย หลังการล่มสลายของสหภาพโซเวียต (ยกเว้นประเทศ กลุ่มทะเลบอลติก 3 ประเทศ ได้แก่ ลิธัวเนีย แลตเวีย และเอสโตเนีย) ซึ่งได้ร่วมลงนามในปฏิญญา Alma-Ata ก่อตั้งเครือรัฐเอกราชเมื่อปี พ.ศ. 2534 ประกอบด้วยสมาชิก 12 ประเทศ ได้แก่ รัสเซีย ยูเครน เบลารุส มอลโดวา คาซัคสถาน อุซเบกิสถาน เติร์กเมนิสถาน คีร์กิซสถาน ทาจิกิสถาน อาร์เมเนีย อาเซอร์ไบจาน และจอร์เจีย " [การทูต] |
Classes of Consuls | เจ้าหน้าที่ฝ่ายกงสุล แบ่งออกเป็นสองประเภท คือ กงสุลอาชีพ (Consules de Carriere) กับกงสุลกิตติมศักดิ์ (Honorary Consuls) กงสุลอาชีพเป็นคนชาติของรัฐผู้ส่ง และจะประจำทำงานเต็มเวลาในที่ทำการทางกงสุล ส่วนกงสุลกิตติมศักดิ์นั้นไม่มีฐานะเป็นกงสุลอาชีพ โดยมากเป็นนักธุรกิจในต่างประเทศ ซึ่งจะประจำทำงานเพียงส่วนหนึ่งของวัน (ไม่ใช่เต็มวัน) ในสถานที่ทำการทางกงสุลของตน และอาจจะเป็นคนชาติของรัฐที่เขาเป็นตัวแทนอยู่ หรือไม่เป็นคนชาติของรัฐนั้นก็ได้ ความแตกต่างอื่นๆ ระหว่างกงสุลอาชีพกับกงสุลกิตติมศักดิ์ มีดังนี้1. กงสุลอาชีพจะได้รับเงินเดือนประจำ แต่กงสุลกิตติมศักดิ์ไม่มีเงินเดือน2. กงสุลอาชีพมีตำแหน่งหน้าที่ถาวร ส่วนกงสุลกิตติมศักดิ์มีตำแหน่งว่าจ้างเพียงชั่วคราว 3. ส่วนมากกงสุลอาชีพจะต้องเป็นผู้ได้รับการฝึกอบรมหรือมีประสบการณ์มาก่อน ส่วนกงสุลกิตติมศักดิ์ไม่ต้องเป็นเช่นนั้น4. กงสุลอาชีพมีสิทธิได้รับความคุ้มกัน (immunities) และการยกเว้นต่าง ๆ มากกว่ากงสุลกิตติมศักดิ์สำหรับบุคคลที่เป็นหัวหน้าในที่ทำการทางกงสุลนั้น มีตำแหน่งตามลำดับชั้น คือ1) กงสุลใหญ่ (Consuls-general)2) กงสุล (Consuls)3) รองกงสุล (Vice-consuls) [การทูต] |
Conduct of Diplomatic Mission Towards the Receiving State | ในการปฏิบัติของคณะผู้แทนทางการทูตต่อรัฐผู้รับ นั้นหน้าที่สำคัญที่สุดอันหนึ่งของนักการทูตคือ จะต้องละเว้นจากการเข้าแทรกแซงใด ๆ ในกิจการภายในของรัฐผู้รับ อนุสัญญากรุงเวียนนาได้บัญญัติเรื่องนี้ไว้ในมาตราที่ 41 ว่า1. โดยไม่เสื่อมเสียแก่เอกสิทธิ์และความคุ้มกันของตน เป็นหน้าที่ของบุคคลทั้งมวลซึ่งอุปโภคเอกสิทธิ์และความคุ้มกันเช่นนี้ ที่จะเคารพกฎหมายรวมทั้งข้อบังคับของรัฐผู้รับ บุคคลเหล่านี้มีหน้าที่ที่จะไม่แทรกสอดในกิจการภายในของรัฐนั้นด้วย2. ธุรกิจในทางการทั้งมวลกับรัฐผู้รับ ซึ่งรัฐผู้ส่งได้มอบหมายแก่คณะผู้แทนให้กระทำกัน โดยผ่านกระทรวงการต่างประเทศของรัฐผู้รับ หรือกระทรวงอื่นเช่นที่อาจจะตกลงกัน3. สถานที่ของคณะผู้แทนต้องไม่ใช้ไปในทางที่ไม่ต้องด้วยกับการหน้าที่ของคณะผู้ แทน ดังที่ได้กำหนดลงไว้ในอนุสัญญานี้ หรือโดยกฎเกณฑ์อื่นของกฎหมายระหว่างประเทศทั่วไป หรือด้วยการตกลงพิเศษอื่นใดที่ใช้บังคับอยู่ระหว่างรัฐผู้ส่งกับรัฐผู้รับ ข้อ 42 ของอนุสัญญากรุงเวียนนายังได้บัญญัติด้วยว่า ตัวแทนทางการทูตจะต้องไม่ปฏิบัติกิจกรรมใดทางวิชาชีพหรือพาณิชย์เพื่อ ประโยชน์ส่วนตัวในรัฐผู้รับตามบทบัญญัติข้างต้นของอนุสัญญากรุงเวียนนา พอจะตีความหมายได้ว่า ผู้แทนทางการทูตจะต้องเคารพกฎหมายและระเบียบข้อบังคับ เพื่อที่จะธำรงรักษาไว้ซึ่งความสงบเรียบร้อยของประชาชน รวมทั้งความปลอดภัยในรัฐผู้รับ การปฏิบัติใดๆ ที่ถูกต้องของผู้แทนทางการทูตนั้นย่อมเป็นเครื่องประกันอย่างดีที่สุด ที่ตัวบุคคลของผู้แทนทางการทูตนั้นจะถูกล่วงละเมิดมิได้ตามที่กล่าวอ้าง [การทูต] |
Consular Fees and Charges | ค่าธรรมเนียมและค่าภาระทางกงสุล ตามข้อ 39 ของอนุสัญญากรุงเวียนนา ได้กำหนดไว้ว่า1. สถานที่ทำการทางกงสุล อาจเรียกเก็บในอาณาเขตของรัฐผู้รับ สำหรับการปฏิบัติงานทางกงสุลซึ่งค่าธรรมเนียม ค่าภาระตามที่ได้บัญญัติไว้โดยกฎหมายและข้อบังคับของรัฐผู้ส่ง2. จำนวนเงินที่เก็บได้ในรูปค่าธรรมเนียมและค่าภาระตามที่อ้างถึงในวรรค 1 ของข้อนี้ ใบรับสำหรับค่าธรรมเนียมหรือค่าภาระเช่นว่านั้น จะได้รับยกเว้นจากค่าติดพันและภาษีทั้งปวงในรัฐผู้รับ [การทูต] |
Convention for the Avoidance of Double Taxation with Respect to Taxes on Income | อนุสัญญาเพื่อการเว้นการเก็บภาษีซ้อนในส่วนที่เกี่ยวกับภาษีเก็บจากเงินได้ [การทูต] |
Convention on Cluster Munitions | อนุสัญญาว่าด้วยระเบิดพวง มีสาระสำคัญคือ การห้ามใช้ สะสม ผลิตและโอนรวมทั้งต้องทำลายระเบิดพวง โดยมีการยกเว้นระเบิดพวงบางประเภทที่มีความแม่นยำต่อเป้าหมายและมีอัตรา ความเสี่ยงต่ำ โดยเปิดให้ลงนามอนุสัญญาฯ เมื่อวันที่ 3 ธันวาคม พ.ศ. 2551 ณ กรุงออสโล ประเทศนอร์เวย์เป็นต้นไป และจะมีผลบังคับใช้วันแรก ของเดือนที่หกหลังจากที่ 30 ประเทศ ได้ให้สัตยาบัน [การทูต] |
Corps Diplomatique หรือ Diplomatic Corps | คณะทูตานุทูตที่ประจำอยู่ในนครหลวง (Capital) ของประเทศ ซึ่งจะมีหัวหน้าคณะทูตพร้อมด้วยเจ้าหน้าที่ทางการทูตใน คณะทูต เจ้าหน้าที่ทางการทูตในคณะทูตนั้นจะประกอบไปด้วย อัครราชทูต (Minister) อัครราชทูตที่ปรึกษา (Minister Counselor) และที่ปรึกษา (Counselor) ซึ่งอาจจะมีคนเดียวหรือหลายคน นอกจากนี้ มีเลขานุการทางการทูตอีกหลายคน คือ เลขานุการเอก โท ตรี และตามปกติยังมีผู้ช่วยทูต (Attaché) อีกหลายคนซึ่งมีฐานะทางการทูต (Diplomatic status) คือผู้ช่วยทูตฝ่ายทหาร (บก เรือ และอากาศ) ผู้ช่วยทูตฝ่ายพาณิชย์ (Commercial Attaché) ผู้ช่วยทูตฝ่ายการแถลงข่าว (Press Attaché) และผู้ช่วยฝ่ายอื่น ๆ ซึ่งกระทรวงทบวงกรมของรัฐบาล (นอกจากกระทรวงการต่างประเทศ) เป็นฝ่ายแต่งตั้งข้าราชการของตนไปประจำในคณะทูต รวมทั้งเจ้าหน้าที่อื่น ๆ ซึ่งมีฐานะทางการทูตด้วยในนครหลวงของประเทศใดก็ตาม ผู้ที่ทำหน้าที่เป็นหัวหน้าคณะทูตานุทูต (Head หรือ Dean of the Diplomatic Corps) จะได้แก่ผู้แทนทางการทูตอาวุโสที่ได้ประจำการอยู่ในประเทศนั้นเป็นเวลานาน ที่สุด ยกเว้นแต่ในบางประเทศ จะถือเอกอัครราชทูตผู้แทนองค์สมเด็จพระสันตะปาปา (Papal Nuncio) เป็นหัวหน้าคณะทูตานุทูตตลอดไป โดยไม่คำนึงถึงเรื่องอาวุโสแต่อย่างใด เช่น ฟิลิปปินส์ [การทูต] |
Dean (หรือ Doyen) of the Diplomatic Corps | หัวหน้า (Dean) ของคณะทูตานุทูตในนครหลวงของประเทศใดก็ตาม ได้แก่ ตัวทูตที่อาวุโสที่สุด (คือเป็นทูตอยู่ในประเทศนั้นๆ เป็นเวลานานที่สุด) ตัวหัวหน้าคณะทูตานุทูตจะมีลำดับอาวุโสเหนือทุกคนในคณะทูตานุทูต ทำหน้าที่เป็นโฆษกของคณะทูตเมื่อถึงความจำเป็น และเป็นผู้ดูแลและคุ้มครองบรรดาเอกสิทธ์และความคุ้มกันทางการทูตที่คณะ ทูตานุทูตมีอยู่ แต่หน้าที่ที่แท้จริงนั้น โดยมากเกี่ยวกับเรื่องพิธีการทูตมากกว่า อาทิเช่น เมื่อถึงวันที่ระลึกครบรอบวันเกิดประมุขของรัฐ (เช่นวันเฉลิมพระชนมพรรษาในประเทศไทย) Dean ของคณะทูตจะเป็นผู้กล่าวแสดงความยินดีในโอกาสดังกล่าวในนามของคณะทูตทั้งหมด แต่การที่จะเรียกหรือขอให้บุคคลในคณะทูตไปประชุมเพื่อจุดประสงค์ทางการเมือง นั้น เป็นสิ่งที่ Dean ไม่พึงกระทำ อย่างไรก็ตาม จะไม่มีผู้แทนทางการทูตคนใดไปร่วมการประชุมระหว่างบุคคลในคณะทูตด้วยกัน เกี่ยวกับปัญหาระหว่างประเทศโดยมิได้รับคำสั่งโดยเฉพาะจากรัฐบาลของตนก่อน ภริยาของ Dean หรือ Doyen นั้นเรียกว่า Doyenneเมื่อหัวหน้าคณะทูตวายชนม์ขณะที่ดำรงตำแหน่งอยู่ บุคคลในคณะทูตที่มีอาวุโสรองลงมาหรือเป็นบุคคลที่สองจะเป็นผู้รับช่วงงาน ทันที และมีตำแหน่งเรียกว่า อุปทูตชั่วคราว (Chargé d?Affaires ad interim) ทั้งจะต้องดูว่า เอกสารทางราชการต่าง ๆ โดยเฉพาะเอกสารลับหรือปกปิด จะไม่ทิ้งรวมอยู่กับ เอกสารส่วนตัวของทูตผู้วายชนม์อนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทาง การทูต ซึ่งได้รับการรับรองเมื่อวันที่ 18 เมษายน ค.ศ. 1961 จากการประชุมสหประชาชาติ เกี่ยวกับการติดต่อและความคุ้มกันทางการทูต ได้บัญญัติไว้ว่า?ข้อ 39 (3) ในกรณีการถึงแก่กรรมของบุคคลในคณะผู้แทนทางการทูต ให้คนในครอบครัวของบุคคลในคณะผู้แทนอุปโภคเอกสิทธิ์และความคุ้มกันซึ่งเขามี สิทธิที่จะได้รับไปจนกว่าจะสิ้นกำหนดเวลาอันสมควรที่จะออกจากประเทศไป(4) ในกรณีการถึงแก่กรรมของบุคคลในคณะผู้แทนซึ่งไม่ใช่คนชาติของรัฐผู้รับ หรือมีถิ่นที่อยู่ถาวรในรัฐผู้รับ หรือของคนในครอบครัว ซึ่งประกอบเป็นส่วนของครัวเรือนของบุคคลในคณะผู้แทนดังกล่าว ให้รัฐผู้รับอนุญาตให้ถอนสังหาริมทรัพย์ของผู้วายชนม์ไป ยกเว้นแต่ทรัพย์สินใดที่ได้มาในประเทศที่ส่งออกซึ่งทรัพย์สินนั้นเป็นอัน ต้องห้ามในเวลาที่บุคคลในคณะผู้แทน หรือคนในคราอบครัวของบุคคลในคณะผู้แทนนั้นถึงแก่กรรม อากรกองมรดก การสืบมรดกและการรับมรดกนั้น ๆ ไม่ให้เรียกเก็บแก่สังหาริมทรัพย์ซึ่งอยู่ในรัฐผู้รับ เพราะการไปอยู่ ณ ที่นั้นแต่ฝ่ายเดียวของผู้วายชนม์ในฐานะเป็นบุคคลในคณะผู้แทนอนึ่ง อนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางกงสุล ซึ่งได้รับการรับรองจากที่ประชุมสหประชาชาติ เกี่ยวกับความสัมพันธ์ทางกงสุล ซึ่งได้รับการรับรองจากที่ประชุมสหประชาชาติ เกี่ยวกับความสัมพันธ์ทางกงสุล เมื่อวันที่ 24 เมษายน ค.ศ. 1963 ได้บัญญัติไว้ว่า ?ข้อ 51 ในกรณีมรณกรรมของบุคคลในสถานที่ทำการทางกงสุล หรือของคนในครอบครัว ซึ่งเป็นส่วนแห่งครัวเรือนของบุคคลดังกล่าว รัฐผู้รับ(ก) จะอนุญาตให้ส่งออกซึ่งสังหาริมทรัพย์ของผู้วายชนม์ โดยมีข้อยกเว้นแก่ทรัพย์สินเช่นว่า ทรัพย์ใด ๆ ที่ได้มาในรัฐผู้รับนั้น ซึ่งการส่งออกของทรัพย์ต้องห้าม ในเวลาที่บุคคลดังกล่าวถึงแก่มรณกรรม(ข) จะไม่เรียกเก็บอากรกองมรดก อากรสืบช่วงมรดกหรืออากรรับมรดก และอากรการโอน ไม่ว่าจะเป็นอากรของชาติ ของภูมิภาค หรือของเทศบาล จากสังหาริมทรัพย์ ซึ่งการที่สังหาริมทรัพย์นั้นอยู่ในรัฐผู้รับก็เนื่องมาแต่ฝ่ายเดียว จากการที่ผู้วายชนม์อยู่ในรัฐนั้นฐานะบุคคลในสถานที่ทำการทางกงสุลหรือใน ฐานะคนในครอบครัวของบุคคลในที่ทำการกงสุล? ?ข้อ 53(5) กรณีมรณกรรมของบุคคลในสถานที่ทำการทางกงสุล คนในครอบครัวซึ่งเป็นส่วนแห่งครัวเรือนของบุคคลดังกล่าว จะคงได้รับอุปโภคเอกสิทธิ์และความคุ้มกันที่ได้ประสาทให้แก่ตนต่อไป จนกว่าตนจะออกไปจากรัฐผู้รับ หรือจนกว่าจะสิ้นกำหนดเวลาอันสมควรที่จะสามารถให้ตนกระทำดังนั้นได้ แล้วแต่ว่าเวลาไหนจะมาถึงก่อนกัน? [การทูต] |
Diplomatic Language | ภาษาการทูต ในสมัยโบราณจนถึงคริสต์ศตวรรษที่ 18 รัฐทั้งหลายในสมัยนั้นได้นิยมใช้ภาษาละตินเป็นภาษาการทูตและก็เป็นภาษาเดียว ที่ใช้กันในยุโรปภาคกลางและภาคตะวันตก ต่อมาในราวกลางคริสต์ศตวรรษที่ 18 ได้ใช้ภาษาฝรั่งเศสแทนภาษาละตินเป็นภาษาการทูต และใช้กันตลอดมาจนถึงสมัยสงครามโลกครั้งแรก หลังจากเสร็จสงครามโลกครั้งแรกจนถึงสงครามโลกครั้งที่สอง รัฐต่างๆ เริ่มนิยมใช้ภาษาอังกฤษมากขึ้น และใช้มาจนถึงปัจจุบันนี้ แต่ก็ยังไม่มีการรับรองเป็นทางการกันว่าให้ใช้ภาษาใดเป็นภาษาทางการทูตใน องค์กรทั้งหมดของสหประชาชาติยกเว้นศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ ใช้ 5 ภาษาเป็นภาษาราชการ คือ ภาษาจีน รัสเซีย สเปน อังกฤษ และฝรั่งเศส ดังนั้น ในการประชุมใด ๆ ณ องค์การสหประชาชาติ หากมีการแถลงเป็นภาษาหนึ่ง ก็จะมีการแปลเป็นอีก 4 ภาษาเกือบพร้อมกันในทันที (Simultaneous Translation) สำหรับศาลยุติธรรมระหว่างประเทศนั้น ภาษาที่ใช้เป็นภาษาราชการคือ ภาษาอังกฤษและฝรั่งเศส เพียงสองภาษา [การทูต] |
Diplomatic Pouch | ถุงเมล์ทางการทูตที่บรรจุหนังสือโต้ตอบทางราชการ ระหว่างกระทรวงการต่างประเทศของรัฐบาล กับสถานเอกอัครราชทูตต่าง ๆ ใน ต่างประเทศ ถุงเมล์ทูตจะถูกปิดประทับตราของทางราชการ และผู้ใดจะล่วงละเมิดมิได้ แม้แต่เจ้าหน้าที่ศุลกากรก็ขอตรวจไม่ได้ คือได้รับการละเว้นจากการแทรกแซงใด ๆ ทั้งสิ้นเรื่องถุงเมล์ทางการทูตนี้ อนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางการทูตได้บัญญัติไว้ในข้อ 27 ว่า?1. ในรัฐผู้รับจะอนุญาตและคุ้มครองการสื่อสารโดยเสรีในส่วนของคณะผู้แทน เพื่อความมุ่งประสงค์ทั้งมวลในการติดต่อกับคณะรัฐบาลและกับคณะผู้แทน และสถานกงสุลอื่นของรัฐผู้ส่งไม่ว่าตั้งอยู่ที่ใด คณะผู้แทนอาจใช้วิถีทางเหมาะสมทั้งมวลได้ รวมทั้งผู้สื่อสารทางการทูต และสารเป็นรหัสหรือประมวล อย่างไรก็ดี คณะผู้แทนอาจติดตั้งและใช้เครื่องส่งวิทยุได้ด้วยความยินยอมของรัฐผู้รับ เท่านั้น 2. หนังสือโต้ตอบทางการทูตของคณะผู้แทนจะถูกละเมิดมิได้ หนังสือโต้ตอบทางการทูตหมายถึง หนังสือโต้ตอบทั้งมวลที่เกี่ยวกับคณะผู้แทนและภารกิจหน้าที่ของคณะผู้แทน 3. ถุงเมล์ทางการทูตจะไม่ถูกเปิดหรือถูกกักไว้ 4. หีบห่อซึ่งรวมเป็นถุงทางการทูตจะต้องมีเครื่องหมายติดไว้ภายนอกที่เห็น ชัดเจน แสดงลักษณะของถุงทางการทูตและอาจบรรจุเอกสารหรือสิ่งของทางการทูต ซึ่งได้เจตนาเพื่อใช้ในทางการเท่านั้น 5. ผู้ถือสารทางการทูต (Diplomatic courrier) จะได้รับเอกสารทางการ แสดงสถานภาพของตนและจำนวนหีบห่อ ซึ่งรวมเป็นถุงทางทูตนั้น ให้ได้รับความคุ้มครองจากรัฐผู้รับในการปฏิบัติการตามหน้าที่ของตน ให้ผู้ถือสารทางการทูตได้อุปโภคความละเมิดมิได้ และจะต้องไม่ถูกจับกุมหรือกักในรูปใด 6. รัฐผู้ส่งหรือคณะผู้แทนอาจแต่งตั้งผู้ถือสารทางการทูตเฉพาะกรณีได้ในกรณีที่ ว่านี้ให้นำบทแห่งวรรค 5 ของข้อนี้มาใช้ด้วย เว้นแต่ว่าความคุ้มกันที่กล่าวไว้ในวรรคนั้นให้ยุติไม่ใช้ เมื่อผู้ถือสารนี้ได้ส่งถุงทางการทูตในหน้าที่ของตนให้แก่ผู้รับแล้ว 7. ถุงทางการทูตอาจจะมอบหมายไว้แก่ผู้บังคับการของเครื่องบินพาณิชย์ ซึ่งได้มีพิกัดจะลง ณ ท่าเข้าเมืองที่ได้รับอนุญาตแล้วได้ ให้ผู้บังคับบัญชาของเครื่องบินพาณิชย์รับเอกสารทางการ แสดงจำนวนหีบห่อซึ่งรวมเป็นถุง แต่ไม่ให้ถือว่าผู้บังคับการของเครื่องบินพาณิชย์เป็นผู้ถือสารทางการทูต คณะผู้แทนอาจส่งบุคคลหนึ่งในคณะผู้แทนไปรับมอบถุงทางการทูตได้โดยตรงและโดย เสรีจากผู้บังคับการของเครื่องบิน?คำว่าถุงทางการทูตนี้ กระทรวงการต่างประเทศอังกฤษเรียกว่า ?Diplomatic bag? ส่วนในภาษาฝรั่งเศสใช้คำว่า ?Valise Diplomatique? [การทูต] |
Duration of Diplomatic Privileges and Immunities | ระยะเวลาของการอุปโภคเอกสิทธิ์และความคุ้มกันทาง การทูต ในเรื่องนี้ อนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางการทูตได้บัญญัติไว้ในมาตราที่ 39 ว่า?1. บุคคลทุกคนมีสิทธิที่จะได้รับเอกสิทธิ์และความคุ้มกัน ที่จะได้อุปโภคเอกสิทธิ์และความคุ้มกันนั้นตั้งแต่ขณะที่บุคคลนั้นเข้ามาใน อาณาเขตของรัฐผู้รับในการเดินทางไปรับตำแหน่งของตน หรือถ้าอยู่ในอาณาเขตของรัฐผู้รับแล้ว ตั้งแต่ขณะที่ได้บอกกล่าวการแต่งตั้งของตนต่อกระทรวงการต่างประเทศ หรือกระทรวงอื่นตามที่อาจจะตกลงกัน 2. เมื่อภารกิจหน้าที่ของบุคคล ซึ่งอุปโภคเอกสิทธิ์และความคุ้มกันยุติลง เอกสิทธิ์และความคุ้มกันตามปกติให้สิ้นสุดลงขณะที่บุคคลนั้นออกไปจากประเทศ หรือเมื่อสิ้นกำหนดอันสมควรที่จะทำเช่นนั้น แต่จะยังมีอยู่จนกระทั่งเวลานั้น แม้ในกรณีของการขัดแย้งด้วยอาวุธ อย่างไรก็ดี ในส่วนที่เกี่ยวกับการกระทำที่ได้ปฏิบัติไปโดยบุคคลเช่นว่านั้น ในการปฏิบัติการหน้าที่ของตนในฐานะเป็นบุคคลในคณะผู้แทน ความคุ้มกันนั้นให้มีอยู่สืบไป 3. ในกรณีการถึงแก่กรรมของบุคคลในคณะผู้แทน ให้คนในครอบครัวของบุคคลในคณะผู้แทน อุปโภคเอกสิทธิ์และความคุ้มกันซึ่งเขามีสิทธิที่จะได้สืบไป จนกว่าจะสิ้นกำหนดเวลาอันสมควรที่จะออกจากประเทศไป 4. ในกรณีการถึงแก่กรรมของบุคคลในคณะผู้แทน ซึ่งไม่ใช่คนชาติของรัฐผู้รับ หรือมีถิ่นอยู่ถาวรในรัฐผู้รับ หรือของคนในครอบครัว ซึ่งประกอบเป็นส่วนของครัวเรือนของบุคคลในคณะผู้แทนดังกล่าว รัฐผู้รับสามารถอนุญาตให้ถอนสังหาริมทรัพย์ของผู้วายชนม์ไป ยกเว้นแต่ทรัพย์สินใดที่ได้มาในประเทศที่การส่งออกซึ่งทรัพย์สินนั้นเป็นอัน ต้องห้าม ในเวลาที่บุคคลในคณะผู้แทน หรือคนในครอบครัวของบุคคลในคณะผู้แทนนั้นถึงแก่กรรม อากรกองมรดก การสืบมรดก และการรับมรดกนั้น ไม่ให้เรียกเก็บแก่สังหาริมทรัพย์ซึ่งอยู่ในรัฐผู้รับเพราะการไปอยู่ ณ ที่นั้นแต่เพียงถ่ายเดียวของผู้วายชนม์ ในฐานะเป็นบุคคลในคณะผู้แทน หรือในฐานะเป็นคนในครอบครัวของบุคคลในคณะผู้แทน? [การทูต] |
DP.1 (Entry Form for Customs Clearance) | แบบฟอร์มการขอยกเว้นภาษีนำเข้าของผู้มีเอกสิทธิ์ทางการทูต [การทูต] |
Exemption from Customs Duties and Inspection of Diplomatic Mission?s Articles | การยกเว้นจากอากรศุลกากร และการตรวจสิ่งของเครื่องใช้ของคณะผู้แทนทางการทูต การยกเว้นดังกล่าวนี้ไม่ถือว่าเป็นสิทธิ แต่เป็นเรื่องของการแสดงอัธยาศัยไมตรีระหว่งประเทศที่ให้ต่อกันมากกว่า กฎหมายระหว่างประเทศก็มิได้กำหนดพันธะที่จะต้องให้การยกเว้นจากอากรศุลกากร อย่างไรก็ดี รัฐส่วนมากได้แสดงอัธยาศัยไมตรีโดยให้ผู้แทนทางการทูตได้รับการยกเว้นอากร ศุลกากรแก่สินค้าและเครื่องใช้ที่นำเข้ามาใช้ในส่วนตัวเองอนุสัญญากรุง เวียนนาได้ระบุไว้ในมาตรที่ 36 ว่า1. รัฐผู้รับจะอนุญาตให้นำเข้าและอำนวยให้มีการยกเว้นจากอากรศุลกากร ภาษี ตลอดจนค่าภาระที่เกี่ยวข้องทั้งมวล นอกจากค่าภาระในการเก็บรักษา การขนส่งและบริการ ให้ทำนองเดียวกันตามกฎหมายหรือข้อบังคับ ซึ่งรัฐผู้รับอาจกำหนดไว้แก่ก. สิ่งของสำหรับใช้ในทางการของคณะผู้แทนข. สิ่งของสำหรับใช้ส่วนบุคคลของตัวแทนทางการทูต หรือคนในครอบครัวของตัวแทนทางการทูต ซึ่งประกอบเป็นส่วนครัวเรือนของตัวแทนทางการทูต รวมทั้งสิ่งของที่แสดงเจตนาสำหรับการตั้งถิ่นฐานของตัวแทนทางการทูตด้วย2. หีบห่อส่วนบุคคลของตัวแทนทางการทูต ให้ได้รับยกเว้นจากการตรวจตรา นอกจากมีมูลเหตุอันร้ายแรงที่ทำให้สันนิษฐานได้ว่า หีบห่อส่วนตัวนั้นบรรจุสิ่งของซึ่งไม่อยู่ในข่ายแห่งการยกเว้นที่ได้ระบุไว้ ในวรรค 1 ของข้อนี้ หรือสิ่งของซึ่งการนำเข้าหรือส่งออกนั้นต้องห้ามทางกฎหมาย หรือถูกควบคุมตามข้อบังคับว่าด้วยการกักตรวจโรคของรัฐผู้รับ การตรวจตราเช่นว่านี้ให้กระทำต่อหน้าตัวแทนทางการทูต หรือต่อหน้าผู้แทนที่ได้รับมอบอำนาจของตัวแทนทางการทูตเท่านั้น [การทูต] |
Exemption from Taxation of Diplomatic Agent | การยกเว้นภาษีอากรให้แก่ตัวแทนทางการทูต ในเรื่องนี้ข้อ 34 ของอนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางการทูต ได้บัญญัติไว้ว่า?ให้ตัวแทนทางการทูตได้รับยกเว้นจากภาระผูกพันและภาษีทั้ง ปวงของชาติท้องถิ่นหรือเทศบาล ในส่วนบุคคลหรือในทรัพย์สิน เว้นแต่ก. ภาษีทางอ้อม ชนิดที่ตามปกติรวมอยู่ในราคาของสินค้าหรือบริการแล้วข. ภาระผูกพันและภาษีจากอสังหาริมทรัพย์ส่วนตัว ซึ่งตั้งอยู่ในอาณาเขตของรัฐผู้รับ นอกจากว่า ตัวแทนทางการทูตครอบครองอสังหาริมทรัพย์นั้นไว้ในนามของรัฐผู้ส่ง เพื่อความมุ่งประสงค์ของคณะผู้แทนค. อากรกองมรดก การสืบมรดก หรือการรับมรดก ซึ่งรัฐผู้รับเรียกเก็บภายในบังคับแห่งบทของวรรค 4 ข้อ 39 ง. ภาระผูกพันและภาษีจากเงินได้ส่วนตัว ซึ่งมีแหล่งกำเนิดในรัฐผู้รับ และภาษีเก็บจากเงินทุนซึ่งได้ลงทุนในการประกอบการพาณิชย์ในรัฐผู้รับจ. ค่าภาระซึ่งเรียกเก็บสำหรับบริการจำเพาะที่ได้ให้ฉ. ค่าธรรมเนียมการจดทะเบียน ค่าธรรมเนียมศาล หรือสำนวนความ ภาระผูกพันในการจำนอง และอากรแสตมป์ในส่วนที่เกี่ยวกับอสังหาริมทรัพย์ ภายในบังคับแห่งบทของข้อ 23?นอกจากนี้ ข้อ 35 ของอนุสัญญากรุงเวียนนายังได้บัญญัติไว้ด้วยว่า ?ให้รัฐผู้รับให้ตัวแทนทางการทูตได้รับการยกเว้นจากการบริการส่วนบุคคลทั้ง มวล จากบริการส่วนสาธารณะทั้งมวล และจากข้อผูกพันทางทหาร เช่น ส่วนที่เกี่ยวกับการเรียกเกณฑ์ ส่วนบำรุง หรือเรียกคืนที่พักอาศัยเพื่อปฏิบัติการทางทหาร? [การทูต] |
exemption from taxation | การยกเว้นภาษี [การทูต] |
Freedom of Communication | เสรีภาพในการติดต่อและสื่อสาร ถือเป็นสิทธิทางกฎหมาย (ไม่ใช่เพียงเอกสิทธิ์เท่านั้น) ที่สำคัญอันหนึ่งของนักการทูตย่อมจะเห็นได้ชัดว่า คณะทูต จะไม่สามารถปฏิบัติหน้าที่ได้อย่างพึงพอใจ นอกจากจะมีอิสระอย่างสมบูรณ์ในการที่จะมีหนังสือหรือวิถีทางอื่นๆ เพื่อติดต่อกับรัฐบาลของตน หรือจะส่งและรับจดหมาย หรือหนังสือต่างๆ โดยเจ้าหน้าที่ถือสารพิเศษ หรือโดยถุงทางการทูต (Diplomatic pouch) สำหรับเรื่องนี้ อนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางการทูต ได้บัญญัติไว้ในข้อ 27 ดังนี้?1. ให้รัฐผู้รับอนุญาตและคุ้มครองการสื่อสารโดยเสรีในส่วนของคณะผู้แทน เพื่อความมุ่งประสงค์ในทางการทั้งมวลเพื่อการติดต่อกับรัฐบาล และกับคณะผู้แทนและสถานกงสุลอื่นของรัฐผู้ส่ง ไม่ว่าตั้งอยู่ ณ ที่ใด คณะผู้แทนอาจใช้วิถีทางที่เหมาะสมทั้งมวลได้ รวมทั้งผู้ถือสารทางการทูต และสารเป็นรหัสหรือประมวล อย่างไรก็ดี คณะผู้แทนอาจติดตั้งและใช้เครื่องส่งวิทยุได้ด้วยความยินยอมของรัฐผู้รับ เท่านั้น 2. หนังสือโต้ตอบทางการของคณะผู้แทนจะถูกละเมิดมิได้ หนังสือโต้ตอบทางการ หมายถึง หนังสือโต้ตอบทั้งมวลที่เกี่ยวกับคณะผู้แทนและภารกิจหน้าที่ของคณะผู้แทน 3. ถุงทางการทูต (Diplomatic Pouch) จะไม่ถูกเปิดหรือถูกกักไว้ 4. หีบห่อซึ่งรวมเป็นถุงทางการทูต จะต้องมีเครื่องหมายภายนอกที่เห็นได้ชัดเจน สามารถแสดงลักษณะของถุงทางการทูต ซึ่งอาจบรรจุเพียงเอกสารหรือสิ่งของทางการทูตที่เจตนาเพื่อใช้ในทางการเท่า นั้น 5. ผู้ถือสารทางการทูต (Diplomatic courrier) จะได้รับเอกสารทางการแสดงสถานภาพของตน และจำนวนหีบห่อซึ่งรวมเป็นถุงทางทูตนั้น ให้ได้รับความคุ้มครองจากรัฐผู้รับ ในการปฏิบัติการตามหน้าที่ของตน ให้ผู้ถือสารทางการทูตได้อุปโภคความละเมิดมิได้ ส่วนบุคคลจะต้องไม่ถูกจับกุมหรือกักขังในรูปใด 6. รัฐผู้ส่งหรือคณะผู้แทนอาจแต่งตั้งผู้ถือสารทางการทูตเฉพาะกรณีได้ ในกรณีที่ว่านี้ให้นำบทแห่งวรรค 5 ของข้อนี้มาใช้ด้วย เว้นแต่ว่าความคุ้มกันที่กล่าวไว้ในวรรคนั้นให้ยุติไม่ใช้ เมื่อผู้ถือสารนี้ได้ส่งถุงทางการทูตในหน้าที่ของตนให้แก่ผู้รับแล้ว 7. ถุงทางการทูตอาจจะมอบหมายไว้แก่ผู้บังคับการของเครื่องบินพาณิชย์ ซึ่งได้มีพิกัดจะลง ณ ท่าเข้าเมืองที่ได้รับอนุญาตแล้วได้ ให้ผู้บังคับบัญชาของเครื่องบินพาณิชย์รับเอกสารทางการแสดงจำนวนหีบห่อซึ่ง รวมเป็นถุง แต่ไม่ใช่ถือว่าผู้บังคับการของเครื่องบินพาณิชย์เป็นผู้ถือสารทางทูต คณะผู้แทนอาจส่งบุคคลหนึ่งในคณะผู้แทนไปรับมอบถุงทางการทูตได้โดยตรง และโดยเสรีจากผู้บังคับการของเครื่องบิน? [การทูต] |
Free Trade Area of the Americas | เขตการค้าเสรีแห่งทวีปอเมริกา " ประกอบด้วยประเทศสมาชิกทั้งหมดขององค์การรัฐอเมริกัน (Organization of American States หรือ OAS) ยกเว้นประเทศคิวบา มีเป้าหมายที่จะจัดตั้งให้สำเร็จในปี พ.ศ. 2548 (OAS มีสมาชิกทั้งหมด 35 ประเทศ ประกอบด้วย สหรัฐอเมริกา แคนาดา เม็กซิโก อาร์เจนตินา โบลิเวีย บราซิล ชิลี โคลัมเบีย คอสตาริกา คิวบา โดมินิกัน เอกวาดอร์ เอลซัลวาดอร์ กัวเตมาลา เฮติ ฮอนดูรัส นิการากัว ปานามา ปารากวัย อุรุกวัย เวเนซุเอลา แอนติกัวและบาร์บูดา เซนต์วินเซนต์และเกรนาดีนส์ จาเมกา บาร์เบโดส เกรนาดา สุรินาเม โดมินิกา เซนต์ลูเซีย บาฮามาส เซนต์คิดตส์และเนวิส เบลิซ กายอานา ตรินิแดดและโตบาโก) " [การทูต] |
General Exception | รายการยกเว้นทั่วไป สำหรับสินค้าบางรายการที่ไม่ต้องนำมาอยู่ในรายการลดอัตราภาษีศุลกากรของเขต การค้าเสรีอาเซียนตลอดไป ได้แก่ สินค้าที่มีผลต่อความมั่นคง ศีลธรรม ชีวิตและสุขภาพของมนุษย์ สัตว์และพืช ศิลปะและโบราณวัตถุ [การทูต] |
Generalized System of Preferences | ระบบการให้สิทธิพิเศษทางภาษีศุลกากรเป็นการทั่วไป " มีที่มาจากการประชุมว่าด้วยการค้าและการพัฒนาขององค์การ สหประชาชาติ (UNCTAD) เมื่อปี พ.ศ. 2510 ภายใต้ระบบนี้ประเทศที่พัฒนาแล้วจะเปิดโอกาสให้ประเทศกำลังพัฒนาสามารถส่ง สินค้าไปขายแข่งขันในประเทศพัฒนา โดยการยกเว้นหรือลดหย่อนอัตราภาษีขาเข้าให้แก่สินค้าที่อยู่ในข่ายได้รับ สิทธิพิเศษ โดยไม่เรียกร้อง ผลประโยชน์ตอบแทนใด ๆ " [การทูต] |
Head of Diplomatic Mission | บุคคลซึ่งได้รับมอบหมายจากรัฐผู้ส่งให้ทำหน้าที่ เป็นหัวหน้าคณะผู้แทนทางการทูต ในกรณีของสถานเอกอัครราชทูตผู้ที่เป็นหัวหน้าคณะผู้แทน ทางการทูต เรียกว่า เอกอัครราชทูตวิสามัญและมีอำนาจเต็ม (Ambassador Extraordinary and plenipotentiary) หัวหน้าคณะผู้แทนทางการทูตจะได้แก่ อัครราชทูตวิสามัญและมีอำนาจเต็ม หรือเรียกว่าอุปทูต (Chargé d?Affaires entitre) คองเกรสแห่งเวียนนาและที่ประชุมแห่งเอกซ์ ลา ชา แปล (Congress of Aix-la-Chapelle) ได้จำแนกหัวหน้าคณะผู้แทนทางการทูตไว้ดังต่อไปนี้ คือ1. เอกอัครราชทูต (Ambassadors) หรือเอกอัครสมณทูต (Papal Nucios)2. อัครราชทูต (Envoys Extraordinary and Ministers Plenipotentiary)3. อัครราชทูตผู้มีถิ่นพำนัก (Mission Resident)4. อุปทูต (Chargé d?Affaires)แต่อนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางการทูต ได้บัญญัติไว้ในมาตร 14 ว่า?1. หัวหน้าคณะผู้แทนแบ่งออกเป็น 3 ชั้น คือก. ชั้นเอกอัครราชทูตหรือเอกอัครสมณทูต ซึ่งแต่งตั้งไปยังประมุขของรัฐ และหัวหน้าคณะผู้แทนอื่นที่มีชั้นเท่ากันข. ชั้นรัฐทูต อัครราชทูต และอัครสมณทูต ซึ่งแต่งตั้งไปยังประมุขของรัฐค. ชั้นอุปทูตซึ่งแต่งตั้งไปยังรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ 2. ข้อยกเว้นที่เกี่ยวกับลำดับอาวุโสและมารยาท ต้องไม่ให้มีความแตกต่างกันระหว่างหัวหน้าคณะผู้แทน ในมาตรา 15 ก็ได้ระบุว่า ชั้นที่กำหนดให้แก่หัวหน้าคณะผู้แทนนั้น ต้องทำความตกลงกันระหว่างรัฐ? [การทูต] |
Immunity from Jurisdiction of Diplomatic Agents | ความคุ้มกันจากอำนาจศาลของตัวแทนทางการทูต ในเรื่องนี้ อนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางการทูตได้บัญญัติไว้ในมาตรา 31 ว่า?1. ให้ตัวแทนทางการทูตได้อุปโภคความคุ้มกันจากอำนาจศาลทางอาญาของรัฐผู้รับ ตัวแทนทางการทูตยังจะได้อุปโภคความคุ้มกันจากอำนาจศาลทางแพ่ง และทางการปกครองของรัฐผู้รับด้วย เว้นแต่ในกรณีของก) การดำเนินคดีกรรมสิทธิ์หรือสิทธิครอบครองเกี่ยวกับอสังหาริมทรัพย์ส่วนตัว ที่ตั้งอยู่ในอาณาเขตของรัฐผู้รับนอกจากตัวแทนทางการทูตครอบครองไว้ในนามของ รัฐผู้ส่งเพื่อความมุ่งประสงค์ของคณะผู้แทนข) การดำเนินคดีเกี่ยวกับการสืบมรดกซึ่งเกี่ยวพันถึงตัวแทนทางการทูตในฐานะผู้ จัดการมรดกโดยพินัยกรรม ผู้จัดการมรดกโดยศาลตั้งทายาท หรือผู้รับมรดกในฐานะเอกชน และมิใช่ในนามของรัฐผู้ส่งค) การดำเนินคดีเกี่ยวกับกิจกรรมใดในทางวิชาชีพ หรือพาณิชย์ ซึ่งตัวแทนทางการทูตได้กระทำในรัฐผู้รับ นอกเหนือจากการหน้าที่ทางการของตน 2. ตัวแทนทางการทูตไม่จำเป็นต้องให้การในฐานะพยาน 3. มาตรการบังคับคดี ไม่อาจดำเนินได้ในส่วนที่เกี่ยวกับตัวแทนทางการทูต เว้นแต่ในกรณีซึ่งอยู่ภายใต้อนุวรรค (ก) (ข) และ (ค) ของวรรค 1 ของข้อนี้ และโดยมีเงื่อนไขว่ามาตรการที่เกี่ยวข้องอาจดำเนินไปได้โดยปราศจากการละเมิด ความละเมิดมิได้ในตัวบุคคลของตัวผู้แทนทางการทูต หรือที่อยู่ของตัวแทนทางการทูต 4. ความคุ้มกันของตัวแทนทางการทูตจากอำนาจศาลของรัฐผู้รับ ไม่ยกเว้นตัวแทนทางการทูตจากอำนาจศาลของรัฐผู้ส่ง?เกี่ยวกับความคุ้มกันตัว แทนทางการทูตจากขอบเขตของอำนาจศาลทางแพ่ง อาจกล่าวได้อย่างกว้างๆ ว่า ตัวแทนทางการทูตนั้นได้รับการยกเว้นจากอำนาจของศาลแพ่งในท้องถิ่นคือตัวแทน ทางการทูตนั้นได้รับการยกเว้นจากอำนาจของศาลแพ่งในท้องถิ่นคือตัวแทนทางการ ทูตจะถูกฟ้องมิได้ และถูกจับกุมมิได้เกี่ยวกับหนี้สิน รวมทั้งทรัพย์สินของเขา เช่น เครื่องเรือน รถยนต์ ม้า และสิ่งอื่นๆ ทำนองนั้นก็จะถูกยืดเพื่อใช้หนี้มิได้ ตัวแทนทางการทูตจะถูกกีดกันมิให้ออกไปจากรัฐผู้รับในฐานะที่ยังมิได้ชดใช้ หนี้สินของเขานั้นก็มิได้เช่นกัน อนึ่ง นักกฎมายบางกลุ่มเห็นว่า ตัวแทนทางการทูตจะถูกหมายศาลเรียกตัว (Subpoenaed) ไม่ได้ หรือแม้แต่ถูกขอร้องให้ไปปรากฎตัวเป็นพยานในศาลแพ่งหรือศาลอาญาก็ไม่ได้ อย่างไรก็ดี ถ้าหากตัวแทนทางการทูตสมัครใจที่จะไปปรากฏตัวเป็นพยานในศาล ก็ย่อมจะทำได้ แต่จะต้องขออนุมัติจากรัฐบาลในประเทศของเขาก่อน [การทูต] |
International Court of Justice | ศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ หรือที่เรียกกันอย่างไม่เป็นทางการว่า ศาลโลก ตั้งขึ้นเมื่อปี ค.ศ.1945 ตามกฎบัตรขององค์การสหประชาชาติ กฎข้อบังคับ (Statute) ของศาลโลกนั้นได้ผนวกอยู่ท้ายกฎบัตรของสหประชาชาติ และถือเป็นส่วนสำคัญอย่างแยกจากกันมิได้ของกฎบัตร ศาลนี้ตั้งอยู่ ณ กรุงเฮก ประเทศเนเธอร์แลนด์ศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ ถือเป็นองค์กรแห่งศาลหรือแห่งตุลาการสำคัญที่สุดขององค์การสหประชาชาติ ประเทศใดที่เข้าเป็นภาคีของกฎข้อบังคับของศาลโลก ย่อมมีสิทธิที่จะส่งคดีใดก็ตามไปให้ศาลโลกพิจารณาได้ ภายใต้เงื่อนไขที่คณะมนตรีความมั่นคงได้จัดวางไว้ นอกจากนั้น คณะมนตรีความมั่นคงก็อาจจะส่งกรณีพิพาททางกฎหมายไปให้ศาลพิจารณาได้ทั้ง สมัชชาและคณะมนตรีความมั่นคงสามารถขอคำปรึกษาหรือความเห็นจากศาลเกี่ยวกับ ปัญหาข้อกฎหมายใดๆ และองค์กรอื่น ๆ ของสหประชาชาติ อันรวมถึงองค์การชำนัญพิเศษ ก็สามารถขอคำปรึกษา หรือความเห็นเกี่ยวกับประเด็นปัญหาทางกฎหมายใดๆ ที่อยู่ภายในกรอบของงานที่ปฏิบัติอยู่ แต่ทั้งนี้ ต้องได้รับอนุมัติเห็นชอบจากสมัชชาสหประชาชาติก่อน สมัชชาเคยมอบอำนาจเช่นนี้แก่คณะมนตรีเศรษฐกิจและสังคม คณะมนตรีภาวะทรัสตี คณะกรรมาธิการระหว่างกาล (Interim Committee) ของสมัชชา รวมทั้งองค์กรระหว่างรัฐบาลบางแห่งด้วยรัฐทั้งหมดที่เป็นสมาชิกของสหประชา ชาติถือว่าเป็นภาคีของกฎข้อบังคับของศาลโลกไปในตัว ส่วนประเทศใดที่มิใช่เป็นสมาชิกของสหประชาชาติ ก็อาจเป็นภาคีของกฎข้อบังคับของศาลโลกได้ ตามเงื่อนไขที่สมัชชาสหประชาชาติเป็นผู้กำหนดเป็นราย ๆ ไป ตามข้อเสนอแนะของคณะมนตรีความมั่นคง ศาลโลกมีอำนาจที่จะพิจารณาปัญหาทั้งหลายที่รัฐสมาชิกขอให้พิจารณา รวมทั้งเรื่องอื่น ๆ ทั้งหลายที่ระบุอยู่ในกฎบัตรสหประชาชาติ และตามสนธิสัญญาหรืออนุสัญญาที่ใช้บังคับอยู่ รัฐสมาชิกย่อมยอมผูกพันตนล่วงหน้าได้ที่จะยอมรับอำนาจศาลในกรณีพิเศษต่าง ๆ โดยจะต้องลงนามในสนธิสัญญา หรืออนุสัญญาซึ่งยอมให้ส่งเรื่องไปที่ศาลได้ หรือออกประกาศเป็นพิเศษว่าจะปฏิบัติเช่นนั้น ในคำประกาศเช่นนั้นจะต้องระบุว่ายอมรับอำนาจบังคับของศาลโลก และอาจจะยกเว้นคดีบางประเภทมิให้อยู่ในอำนาจของศาลได้ ในการวินิจฉัยลงมติ ศาลโลกจะอาศัยแหล่งที่มาของกฎหมายต่าง ๆ ดังนี้ คือ- สัญญาหรืออนุสัญญาระห่างประเทศซึ่งวางกฎข้อบังคับที่รัฐคู่กรณียอมรับ- ขนบธรรมเนียมระหว่างประเทศซึ่งมีหลักฐานแสดงว่าเป็นหลักปฏิบัติทั่วไปตามที่ กฎหมายรับรองศาลโลกอาจจะตัดสินชี้ขาดว่าสิ่งใดยุติธรรมและดี โดยรัฐภาคีที่เกี่ยวข้องตกลงเห็นชอบด้วยคณะมนตรีความมั่นคงอาจจะรับการขอ ร้องจากรัฐภาคีหนึ่งใดในกรณีพิพาท ให้กำหนดมาตรการที่จะใช้เพื่อให้คำตัดสินของศาลมีผลบังคับ ถ้าคู่กรณีอีกฝ่ายหนึ่งไม่ยอมปฏิบัติตามข้อผูกพันภายใต้อำนาจศาลศาลโลก ประกอบด้วยผู้พิพากษารวม 15 ท่าน ซึ่งถือกันว่าเป็น ?สมาชิก? ของศาล และได้รับเลือกตั้งจากสมัชชาและคณะมนตรีความมั่นคงของสหประชาชาติ ผู้พิพากษาเหล่านี้จะมีอำนาจออกเสียงลงคะแนนอย่างอิสระเสรีหลักเกณฑ์การคัด เลือกผู้พิพากษาศาลโลกจะถือตามคุณสมบัติขอผู้พิพากษานั้น ๆ มิใช่ถือตามสัญชาติของบุคคลดังกล่าว อย่างไรก็ดี จะมีการระมัดระวังด้วยว่า กฎหมายที่นำมาใช้ในศาลจะต้องมาจากระบบกฎหมายที่สำคัญ ๆ ของโลก ในศาลโลกจะมีผู้พิพากษาที่เป็นชาติเดียวกันมากกว่าหนึ่งคนไม่ได้ ผู้พิพากษาทั้งหลายจะมีสิทธิ์ดำรงอยู่ในตำแหน่งได้ เป็นเวลา 9 ปี มีสิทธิ์ได้รับเลือกตั้งซ้ำได้ และระหว่างที่ดำรงอยู่ในตำแหน่ง จะต้องไม่ประกอบอาชีพการงานอื่นใดทั้งสิ้น [การทูต] |
Inviolability of Residence and Property of Diplomatic Agents | หมายถึง ความละเมิดมิได้ของทำเนียบและทรัพย์สินของตัวแทนทางการทูต ในเรื่องนี้ อนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางการทูต ได้บัญญัติไว้ในมาตรา 30 ว่า ?1. ให้ที่อยู่ส่วนตัวของตัวแทนทางการทูต ได้อุปโภคความละเมิดมิได้และความคุ้มครอง เช่นเดียวกับสถานที่ของคณะผู้แทน 2. ให้กระดาษเอกสาร หนังสือโต้ตอบ และยกเว้นที่ได้บัญญัติไว้ในวรรค 3 ของข้อ 31 ทรัพย์สินของตัวแทนทางการทูตได้อุปโภคและละเมิดมิได้เช่นกัน?วรรค 3 ของข้อ 31 ในอนุสัญญากรุงเวียนนาได้บัญญัติว่า มาตรการบังคับคดีไม่อาจดำเนินได้ในส่วนที่เกี่ยวกับตัวแทนทางการทูต (เว้นแต่ในกรณีซึ่งอยู่ภายใต้อนุวรรค (ก) (ข) และ (ค) ของวรรค 1 ของข้อนี้ และโดยเงื่อนไขว่า มาตรการที่เกี่ยวข้องอาจดำเนินไปได้ โดยปราศจาการละเมิด) หรือที่อยู่ของตัวแทนทางการทูต [การทูต] |
Inviolability of the Mission Premises | คือความละเมิดมิได้จากสถานที่ของคณะผู้แทน หมายความว่า บ้านของตัวแทนทางการทูต รวมทั้งสถานที่อื่น ๆ ที่ใช้เพื่อจุดประสงค์ทางการทูต รวมถึงตึกรามใด ๆ ที่ผู้แทนทางการทูตใช้ดำเนินงานทางการทูตในตำแหน่งที่ของเขา ไม่ว่าสถานที่นั้น ๆ จะเป็นทรัพย์สินของรัฐบาลของเขาหรือเป็นของเขาเอง หรือแม้แต่เป็นสถานที่ที่ให้ตัวแทนทางการทูตเช่า เหล่านี้จะได้รับความคุ้มกัน (Immunity) ทั้งสิ้น นอกจากนี้ เจ้าหน้าที่ของรัฐผู้ใด โดยเฉพาะเจ้าที่ตำรวจ เจ้าหน้าที่เก็บภาษี หรือเจ้าหน้าที่ศาล จะเข้าไปในที่อยู่หรือทำเนียบของผู้แทนทางการทูตมิได้ นอกจากจะได้รับความยินยอมให้กระทำเช่นนั้นอย่างไรก็ดี หากเกิดอาชญากรรมขึ้นภายในสถานที่ของคณะผู้แทน หรือในที่อยู่ของตัวแทนทางการทูต โดยบุคคลซึ่งมิได้อุปโภคความละเมิดมิได้ ตัวแทนทางการทูตผู้นั้นจะต้องมอบตัวอาชญากรดังกล่าวให้แก่รัฐบาลท้องถิ่นตาม ที่ขอร้อง กล่าวโดยทั่วไป ตัวแทนทางการทูตจะยอมให้ที่พักพิงในสถานทูตแก่อาชญากรใด ๆ ไม่ได้ เว้นแต่ในกรณีที่เห็นว่าอาชญากรผู้นั้นตกอยู่ในอันตรายที่จะถูกฆ่าจากฝูงชน ที่ใช้ความรุนแรง ก็จะยอมให้เข้าไปพักพิงได้เป็นกรณีพิเศษในเรื่องนี้ อนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางการทูต ได้กล่าวไว้ในข้อ 22 ดังนี้ ?1. สถานที่ของคณะผู้แทนจะถูกละเมิดมิได้ ตัวแทนของรัฐผู้รับไม่อาจเข้าไปในสถานที่นั้นได้ เว้นแต่ด้วนความยินยอมของหัวหน้าคณะผู้แทน 2. รัฐผู้รับมีหน้าที่พิเศษที่จะดำเนินการทั้งมวลที่เหมาะสม เพื่อคุ้มครองสถานที่ของคณะผู้แทนจากการบุกรุกหรือความเสียหายใด ๆ และที่จะป้องกันการรบกวนใด ๆ ต่อความสงบสุขของคณะผู้แทน หรือการทำให้เสื่อมเสียเกียรติ 3. สถานที่ของคณะผู้แทน เครื่องตกแต่ง และทรัพย์สินอื่นของคณะผู้แทนในสถานที่นั้น ตลอดจนพาหนะในการขนส่งของคณะผู้แทน ให้ได้รับความคุ้มกันจาการค้น การเรียกเกณฑ์ การอายัด หรือการบังคับคดี ? [การทูต] |
Multiple Representation | คือการเป็นตัวแทนประจำประเทศต่าง ๆ มากกว่าหนึ่งแห่ง ตามหลักทั่วไป รัฐหนึ่งจะแต่งตั้งบุคคลหนึ่งให้ไปประจำเพียงรัฐเดียวในตำแหน่งเอกอัคร ราชทูต แต่มาในทุกวันนี้ เนื่องจากงบประมาณของประเทศมีจำกัด จึงเป็นธรรมเนียมแพร่หลายที่จะตั้งให้เอกอัครราชทูตคนเดียวไปประจำปลาย ประเทศได้ในเวลาเดียวกัน ยกเว้นแต่ว่ารัฐผู้รับหนึ่งใดจะแสดงการคัดค้านอย่างแจ้งชัดเอกอัครราชทูตคน เดียวกัน ซึ่งไปประจำอยู่หลายประเทศนั้น จะมีถิ่นพำนักถาวร (Permanent Residence) อยู่ในนครหลวงของเพียงประเทศหนึ่ง ส่วนในประเทศที่เหลือที่เขาเป็นเอกอัครราชทูตประจำอยู่ด้วยนั้น เขาไปพำนักอยู่เพียงระยะเวลาจำกัดเป็นพัก ๆ รัฐผู้ส่งจะมีคณะผู้แทนทางการทูตของตนไปประจำ ณ นครหลวงของแต่ละประเทศเหล่านั้น ตัวหัวหน้าคณะแต่ละแห่งจะมีตำแหน่งเรียกว่า อุปทูตชั่วคราว (Charge d? Affaires ad interim)เกี่ยวกับเรื่องนี้ อนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางการทูตได้บัญญัติไว้ในข้อ 5 ดังนี้ ?1. หลังจากที่ได้บอกกล่าวแก่รัฐผู้รับที่เกี่ยวข้องตามสมควรแล้ว นอกจากจะมีการคัดค้านอย่างชัดแจ้งโดยรัฐผู้รับรัฐใดรัฐหนึ่ง รัฐผู้ส่งอาจแต่งตั้งหัวหน้าคณะผู้แทน หรือแต่งตั้งบุคคลใดในคณะเจ้าหน้าที่ฝ่ายการทูตแล้วแต่กรณี ไปยังมากกว่ารัฐหนึ่งก็ได้ 2. ถ้ารัฐผู้ส่งแต่งตั้งหัวหน้าคณะผู้แทนไปยังรัฐอื่นหนึ่งรัฐหรือมากกว่านั้น รัฐผู้ส่งอาจสถาปนาคณะผู้แทนทางการทูตโดยมีอุปทูตชั่วคราวเป็นหัวหน้าในแต่ ละรัฐที่หัวหน้าคณะผู้แทนไม่มีที่นั่งทำงานของตนเป็นประจำก็ได้ 3. หัวหน้าคณะผู้แทน หรือบุคคลใดในคณะเจ้าหน้าที่ฝ่ายการทูตของคณะผู้แทน อาจกระทำการในฐานะเป็นผู้แทนของรัฐผู้ส่งในองค์การระหว่างประเทศใดก็ได้" [การทูต] |
Neutralization, Neutrality หรือ Neutralism | คำว่า Neutraliza-tion หมายถึง กระบวนการซึ่งรัฐได้รับการค้ำประกันความเป็นเอกราชและบูรณภาพอย่างถาวรภาย ใต้อนุสัญญาระหว่างประเทศ รัฐที่ได้รับการประกันรับรองให้เป็นกลาง (Neutralized State) เช่นนี้จะผูกมัดตนว่า จะละเว้นจาการใช้อาวุธโจมตีไม่ว่าประเทศใดทั้งสิ้น นอกเสียจากว่าจะถูกโจมตีก่อน ตัวอย่างอันเป็นที่รู้จักกันดีที่สุดในเรื่องรัฐที่ได้รับการค้ำประกันความ เป็นกลางอย่างถาวร คือ ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ตามปฏิญญา (Declaration) ซึ่งมีการลงนามกัน ณ กรุงเวียนนา ประเทศออสเตรีย เมื่อวันที่ 20 มีนาคม ค.ศ. 1815 ประเทศใหญ่ ๆ ในสมัยนั้น คือ ออสเตรีย ฝรั่งเศส อังกฤษ ปรัสเซีย และรัสเซีย ได้รับรองว่า โดยคำนึงถึงผลประโยชน์ส่วนรวม จึงเป็นการจำเป็นที่จะให้รัฐเฮลเวติก(Helvetic Swiss States) ได้รับการประกันความเป็นกลางตลอดไป ทั้งยังประกาศด้วยว่า รัฐสภาของสวิตเซอร์แลนด์ตกลงรับปฏิบัติตามข้อกำหนดที่ได้ระบุไว้เมื่อไร ความเป็นกลางของสวิตเซอร์แลนด์ก็จะได้รับการค้ำประกันความเป็นกลางในทันที และแล้วสมาพันธ์สวิตเซอร์แลนด์ก็ได้ประกาศยอมรับปฏิบัติตาม หรือให้ภาคยานุวัติเมื่อวันที่ 27 พฤษภาคม ค.ศ. 1815 บรรดาประเทศที่รับรองค้ำประกันความเป็นกลางของสวิตเซอร์แลนด์จึงประกาศ รับรองดังกล่าว เมื่อวันที่ 20 พฤศจิกายน ค.ศ. 1815 อนึ่ง การค้ำประกันความเป็นกลางในลักษณะที่ครอบคลุมทั้งประเทศของรัฐใดรัฐหนึ่ง นั้น มีความแตกต่างกับการค้ำประกันเพียงดินแดนส่วนใดส่วนหนึ่งของรัฐหนึ่ง ซึ่งหมายความว่าดินแดนส่วนหนึ่งของรัฐที่ได้รับการค้ำประกันความเป็นกลางจะ ไม่ยอมให้ฝ่ายใดใช้ดินแดนส่วนที่ค้ำประกันนั้นเป็นเวทีสงครามเป็นอันขาด การค้ำประกันความเป็นกลางยังมีอีกแบบหนึ่งคือ รัฐหนึ่งจะประกาศตนแต่ฝ่ายเดียวว่าจะรักษาความเป็นกลางของตนตลอดไปโดยถาวร แต่ในกรณีเช่นนี้ ความเป็นเอกราชและบูรณภาพของรัฐที่ประกาศตนเป็นกลางเพียงฝ่ายเดียว จะไม่ได้รับการค้ำประกันร่วมกันจากรัฐอื่น ๆ แต่อย่างใดส่วนคติหรือลัทธิความเป็นกลาง (Neutralism) เป็นศัพท์ที่หมายถึงสถานภาพของรัฐต่าง ๆ ที่ไม่ต้องการน้ำประเทศของตนเข้ากับฝ่ายหนึ่งฝ่ายใดในสงครามเย็น ( Cold War) ที่กำลังขับเคี่ยวกันอยู่ระหว่างกลุ่มประเทศภาคตะวันออกกับกลุ่มประเทศภาค ตะวันตก นอกจากนี้ ผู้นำบางคนในกลุ่มของรัฐที่เป็นกลาง ไม่เห็นด้วยกีบการที่ใช้คำว่า ?Neutralism? เขาเหล่านี้เห็นว่าควรจะใช้คำว่า ?ไม่ฝักใฝ่กับฝ่ายหนึ่งฝ่ายใด? ( Uncommitted ) มากกว่าจะเห็นได้ว่า คำว่า ?ความเป็นกลาง? ( Neutrality ) นั้น หมายถึงความเป็นกลางโดยถาวร ซึ่งได้รับการค้ำประกันจากกลุ่มประเทศกลุ่มหนึ่ง เช่นในกรณีประเทศสวิตเซอร์แลนด์ก็ได้หรือหมายถึงความเป็นกลางเฉพาะในดินแดน ส่วนหนึ่งของรัฐที่ไม่ยอมให้ใครเข้าไปทำสงครามกันในดินแดนที่เป็นกลางส่วน นั้นเป็นอันขาดก็ได้ ดังนั้น พอจะเห็นได้ว่า แก่นแท้ในความหมายของความเป็นกลาง ( Neutrality) จึงอยู่ที่ท่าที หรือ ทัศนคติของประเทศที่ดำรงตนเป็นกลาง ไม่ต้องการเข้าข้างประเทศคู่สงครามใด ๆ ในสงคราม ในสมัยก่อนผู้คนยังไม่รู้จักความคิดเรื่องความเป็นกลางดังที่รู้จักเข้าใจ กันในปัจจุบัน ความเป็นกลางเป็นผลมาจากการทยอยวางหลักเกณฑ์ต่าง ๆ ของความเป็นกลาง นับตั้งแต่ศตวรรษที่ 16 เรื่อยมาจนถึงปัจจุบัน [การทูต] |
Organization of American States | คือองค์การของรัฐในสหรัฐอเมริกา เมื่อวันที่ 2 กันยายน ค.ศ. 1947 สหรัฐอเมริกา และประเทศต่าง ๆ ในละตินอเมริกา ยกเว้นประเทศนิคารากัวและอีเควดอร์ ได้ตกลงทำสนธิสัญญาระหว่างรัฐในอเมริกาด้วยกัน ณ กรุงริโอเดจาเนโร เพื่อให้ความช่วยเหลือซึ่งกันและกัน ซึ่งเรียกกันทั่วไปว่า สนธิสัญญาริโอ ประเทศเหล่านั้นต่างมุ่งมั่นที่จะให้ความช่วยเหลือกันอย่างมีประสิทธิผล ถ้าหากรัฐในอเมริกาหนึ่งใดถูกโจมตีด้วยกำลังอาวุธหรือถูกคุกคามจาการรุกราน ต่อมาในเดือนเมษายน ค.ศ. 1948 ได้มีการจัดตั้งองค์การของรัฐอเมริกัน (Organization of American States) ขึ้น ณ กรุงโบโกตา ประเทศโบลิเวีย ประกอบด้วยรัฐต่าง ๆ ในอเมริการวม 21 ประเทศ ยกเว้นประเทศแคนาดา เพื่อดำเนินการให้เป็นผลตามสนธิสัญญาริโอ และจัดวางระบบการรักษาความมั่นคงร่วมกันขึ้น กฎบัตร (Charter) ขององค์การได้มีผลบังคับให้เมื่อวันที่ 13 ธันวาคม ค.ศ. 1951องค์การโอเอเอสนี้ เป็นองค์การส่วนภูมิภาคแห่งหนึ่ง ภายในกรอบของสหประชาชาติ ประเทศสมาชิกต่างปฏิญาณร่วมกันที่จะทำการธำรงรักษากระชับสันติภาพ ตลอดจนความมั่นคงในทวีปอเมริกา เพื่อป้องกันมิให้เกิดเหตุแห่งความยุ่งยากใด ๆ และต้องการระงับกรณีพิพาทที่อาจเกิดขึ้นได้ในระหว่างประเทศสมาชิกด้วยกันโดย สันติวิธี อนึ่ง ถ้าหากมีการรุกรานเกิดขึ้นก็จะมีการปฏิบัติการร่วมกัน นอกจากนี้ ยังจะหาทางระงับปัญญาหาทางการเมือง ทางการศาล และทางเศรษฐกิจ ที่อาจเกิดขึ้นได้ในระหว่างประเทศสมาชิก พร้อมทั้งจะพยายามร่วมกัน ในการหาหนทางส่งเสริมพัฒนาการทางเศรษฐกิจสังคม และวัฒนธรรม สำนักงานใหญ่ขององค์การโอเอเอสตั้งอยู่ ณ กรุงวอชิงตันดีซี นครหลวงของสหรัฐอเมริกา [การทูต] |
Personal Diplomacy | คือการเจรจากันโดยตรงระหว่างรัฐมนตรีว่าการ กระทรวงต่างประเทศด้วยกัน ส่วนการเจรจากันโดยตรงระหว่างประมุขของรัฐ หรือหัวหน้าของรัฐบาล แต่เดิมก็จัดอยู่ในประเภทการมทูตส่วนบุคคล แต่มาในปัจจุบันนี้ มักนิยมเรียกกันว่าเป็นทูตแบบสุดยอด (Summit Diplomacy) แยกออกต่างหากจากการทูตส่วนบุคคลมีผู้สังเกตการณ์หลายคนเตือนว่า ในกรณีที่เกิดเรื่องหรือปัญหาที่ยังคาราคาซังอยู่นั้น ไม่ควรหันเข้าใช้วิธีส่งผู้แทนพิเศษจากนครหลวงไปแก้ปัญหา ควรให้เอกอัครราชทูตเป็นผู้ดำเนินการมากกว่า เพราะประการแรก การกระทำเช่นนั้นยังผลเสียหายต่อศักดิ์ศรีของตัวเอกอัครราชทูตเอง ทั้งยังกระทบกระเทือนต่อการที่เขาจะปฏิบัติงานให้ประสบผลอย่างเต็มที่ ระหว่างที่ดำรงตำแหน่งอยู่ในประเทศนั้นในภายหน้าด้วย อีกประการหนึ่ง จะพึงคาดหมายได้อย่างไรว่า ตัวผู้แทนพิเศษที่ส่งไปนั้นจะมีความรอบรู้เกี่ยวกับภูมิหลังของปัญหา รวมทั้งตัวบุคคลต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องเท่ากับตัวเอกอัครราชทูตเอง ซึ่งได้ประจำทำงานอยู่ระยะเวลาหนึ่งแล้ว ณ ที่นั่น แม้แต่ แฮโรลด์ นิโคลสัน ก็ไม่เห็นด้วย และได้เตือนว่า การที่รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศของประเทศหนึ่งไปเยือนและพบปะกับ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศของอีกประเทศหนึ่งบ่อย ๆ นั้น เป็นสิ่งที่ไม่ควรกระทำและไม่ควรสนับสนุน เพราะการกระทำเช่นนี้ นอกจากจะทำให้ประชาชนคาดหมายไปต่าง ๆ นานาแล้ว ยังจะทำให้เกิดเข้าใจผิด และเกิดความสับสนขึ้นมาได้แม้แต่ผู้รอบรู้ในเรื่องธรรมเนียมปฏิบัติทางการ ทูตบางคนก็ยังแคลงใจว่า การทูตแบบสุดยอด (Summit Diplomacy) จะได้ประโยชน์และให้ผลจริง ๆ หรือไม่ นอกจากเฉพาะในกรณียกเว้นจริง ๆ เท่านั้น บ้างเห็นว่า การพบปะเจรจาแบบสุดยอดมักจะกลายสภาพเป็นการโฆษณาเพื่อประชาสัมพันธ์มากกว่า ที่จะเป็นการเจรจากันอย่างแท้จริง เพราะมีอันตรายอยู่ว่า ผู้ร่วมเจรจามักจะแสดงความคิดเห็นตามความรู้สึกมากกว่าตามข้อเท็จจริง เพราะมัวแต่เป็นห่วงและคำนึงถึงประชามติในประเทศของตนมากเกินไปนอกจากนี้ ผู้เจรจาไม่อยู่ในฐานะที่จะให้ข้อลดหย่อนหรือทำการประนีประนอม ( ซึ่งเป็นสิ่งที่จำเป็นยิ่งหากจะให้เจรจาบังเกิดผล) เพราะกลัวเสียหน้าหากกระทำเช่นนั้น ตามปกติ ถ้าให้นักการทูตเป็นผู้เจรจา เขาจะมีโอกาสมากกว่าที่จะใช้วิธีหลบหลีกอันชาญฉลาดในการเจรจาต่อรอง เพื่อให้เป็นผลตามที่มุ่งประสงค์ [การทูต] |
Persons Entitled to Diplomatic Privileges and Immunities | บุคคลทีมีสิทธิที่จะได้รับเอกสิทธิ์และความคุ้ม ครองกันทางการทูต มาตรา 37 ของอนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางการทูตได้บัญญัติไว้ว่า ?1. คนในครอบครัวของตัวแทนทางการทูต ซึ่งประกอบเป็นส่วนของครัวเรือนของตัวแทนทางการทูต ถ้าไม่ใช่คนในชาติของรัฐผู้รับ ให้ได้อุปโภคเอกสิทธิ์และความคุ้มกันที่ระบุไวในข้อ 29 ถึง 36 2. บุคคลในคณะเจ้าหน้าที่ฝ่ายธุรการและฝ่ายวิชาการของคณะผู้แทน รวมทั้งคนในครอบครัวของตน ซึ่งประกอบเป็นส่วนของครัวเรือนของตน ตามลำดับ ถ้าไม่ใช่คนในชาติของรัฐผู้รับ หรือมีถิ่นที่อยู่ถาวรในรัฐผู้รับ ให้ได้อุปโภคเอกสิทธิ์และความคุ้มกันที่ได้ระบุไว้ในข้อ 29 ถึง 35 เว้นแต่ว่าความคุ้มกันจากอำนาจศาลทางแพ่งและทางปกครองของรัฐผู้รับ ที่ได้ระบุไว้ในวรรค 1 ของข้อ 31 นั้น ไม่ให้ขยายไปถึงการกระทำที่ได้ปฏิบัติไปเกินภารกิจหน้าที่ของตน ให้บุคคลในคณะเจ้าหน้าที่ฝ่ายธุรการและฝ่ายวิชาการได้อุปโภคเอกสิทธิ์ ที่ได้ระบุไว้ในข้อ 36 วรรค 1 ในส่วนที่เกี่ยวกับสิ่งของที่ได้นำเข้าเมื่อเข้ารับหน้าที่ครั้งแรกด้วย 3. บุคคลในคณะเจ้าหน้าที่ฝ่ายบริการของคณะผู้แทนซึ่งไม่ใช่คนในชาติของรัฐผู้ รับ หรือมีถิ่นที่อยู่ถาวรในรัฐผู้รับให้ได้อุปโภคความคุ้มกัน ในส่วนที่เกี่ยวกับการกระทำที่ได้ปฏิบัติตามภารกิจหน้าที่ตน การยกเว้นจากค่าภาระผูกพันรวมทั้งภาษีสำหรับค่าบำเหน็จที่ตนได้รับโดยเหตุผล จากการรับจ้างของตน และการยกเว้นที่ได้บรรจุไว้ในข้อ 33 4. คนรับใช้ส่วนตัวของบุคคลในคณะผู้แทน ถ้าไม่ใช่คนในชาติของรัฐผู้รับ หรือมีถิ่นที่อยู่ประจำในรัฐผู้รับ ให้ได้รับการยกเว้นจากค่าภาระผูกพัน หรือภาษีสำหรับค่าบำเหน็จที่เขาได้รับโดยเหตุผลจากการรับจ้างของตนในส่วน อื่น คนรับใช้ส่วนตัวเช่นว่านี้ อาจได้อุปโภคเอกสิทธิ์และความคุ้มกันเท่าที่รัฐผู้รับยอมให้เท่านั้น อย่างไรก็ดี รัฐผู้รับต้องใช้อำนาจของตนเหนือบุคคลเช่นว่านี้ ในการที่จะไม่แทรกสอดโดยไม่สมควรในการปฏิบัติการหน้าที่ของคณะผู้แทน [การทูต] |
Temporary Exclusion List | รายการขอยกเว้นเป็นการชั่วคราว " หมายถึง รายการที่ขอยกเว้นจากแผนความตกลงเป็นการชั่วคราว เพื่อ ให้มีระยะเวลาในการปรับตัว อาทิ รายการขอยกเว้นเป็นการชั่วคราวของเขตการค้าเสรีอาเซียน หรือรายการขอยกเว้นจากการเปิดเสรี อุตสาหกรรมและการประติบัติเยี่ยงคนชาติของเขตการลงทุนอาเซียน " [การทูต] |
Visa Waiver Agreement | ความตกลงยกเว้นการตรวจลงตรา [การทูต] |
Abstinence | การคุมกำเนิดโดยงดร่วมเพศ, การงดเว้นการร่วมประเวณี, การงดเว้นการร่วมเพศสัมพันธ์ [การแพทย์] |
Alternate Day | วันเว้นวัน [การแพทย์] |
Chemotherapy, Intermittent Supervised | ระบบยาแบบควบคุมเว้นระยะ, การใช้ยาแบบเว้นระยะในการควบคุม [การแพทย์] |
ได้รับการยกเว้น | [dāirap kān yokwen] (v, exp) EN: be exempt |
ได้รับการยกเว้นภาษี | [dāirap kān yokwen phāsī] (v, exp) FR: être exonéré de taxe |
ได้รับยกเว้นไม่ต้องเสียภาษี | [dāirap yokwen mai tǿng sīa phāsī] (v, exp) EN: be exempted from tax |
โดยไม่มีข้อยกเว้น | [dōi mai mī khøyokwen] (adv) EN: without exception FR: sans exception |
โดยไม่มีข้อละเว้น | [dōi mai mī khølawēn] (adv) EN: without exception |
ดอกลาเว็นเดอะ | [døk lāwendoe] (n) EN: lavender FR: lavande [ f ] |
การได้รับยกเว้นอากรขาเข้า | [kān dāi rap yokwen ākøn khākhao] (n, exp) EN: exemption from import duties |
การละเว้น | [kān lawen] (n) EN: abstinence FR: abstention [ f ] ; abstinence [ f ] |
การงดเว้น | [kān ngotwen] (n) EN: refrain |
การเว้นวรรค | [kān wēnwak] (n) FR: espace [ m ] ; espacement [ m ] |
การยกเว้น | [kān yokwen] (n) EN: exemption ; exception ; exempt ; exclusion FR: exception [ f ] ; exemption [ f ] ; exonération [ f ] |
การยกเว้นความรับผิด | [kān yokwen khwām rapphit] (n, exp) EN: exclusion of liability ; exemption from liability |
การยกเว้นภาษี | [kān yokwen phāsī] (n, exp) EN: tax exemption ; tax exempt |
ข้อกำหนดการยกเว้น | [khøkamnot kān yokwen] (n, exp) EN: saving clause ; exception clause FR: clause de sauvegarde [ f ] ; clause d'exception [ f ] |
ข้อละเว้น | [khølawēn] (n) EN: prohibition ; exception |
ข้อยกเว้น | [khøyokwen] (n) EN: exception ; exclusion FR: exception [ f ] ; exclusion [ f ] ; anomalie [ f ] |
ละเว้น | [lawen] (v) EN: refrain from ; abstain ; stop ; exclude ; leave out ; omit ; reject ; make an exception of ; abandon ; give up ; remit ; desert FR: s'abstenir ; arrêter ; se désister ; abandonner ; quitter |
ไม่มีการละเว้น | [mai mī kān lawen] (x) EN: without exception FR: sans exception |
ไม่ว่างเว้น | [mai wāngwēn] (adv) EN: incessantly |
งดเว้น | [ngotwen] (v) EN: refrain from ; abstain from ; give up ; stop ; desist FR: s'abstenir ; se garder ; arrêter |
งดเว้นการดื่มเหล้า | [ngotwen kān deūm lao] (v, exp) EN: abstain from alcohol |
งดเว้นเนื้อสัตว์ | [ngotwen neūa sat] (v, exp) FR: s'abstenir de viande |
วันเว้นสองวัน | [wan wen søng wan] (n, exp) EN: once every three days ; every three days ; every third day FR: un jour sur trois ; tous les trois jours |
วันเว้นวัน | [wan wen wan] (n, exp) EN: every other day ; every alternate day ; every second day ; every two days FR: un jour sur deux ; tous les deux jours |
เว้น | [wen] (v) EN: give up ; stop ; refrain from ; abstain from ; leave ; omit FR: éviter de ; arrêter de ; s'abstenir de ; exclure ; abandonner |
เว้น | [wen] (v) EN: alternate ; skip ; space FR: alterner ; sauter |
เว้นระยะ | [wen raya] (v, exp) EN: space (out) ; put spaces between FR: espacer ; éloigner |
เว้นเสียแต่ว่า | [wēn sīa tāewā] (x) EN: unless ; except FR: à moins que ; sauf si |
เว้นแต่ | [wentāe] (conj) EN: unless ; but ; if not ; only if ; except FR: sauf ; excepté |
เว้นแต่ว่า | [wentāe wā] (x) FR: sauf si ; à moins que |
เว้นวรรค | [wēnwak] (n) EN: space ; leave a space ; FR: espacer ; laisser un espace |
เว้นวรรค | [wēnwak] (v) EN: take a break (from) ; take a breather |
ยกเว้น | [yokwen] (v) EN: excuse ; exempt (from) ; remit ; grant immunity FR: excepter ; exempter |
ยกเว้น | [yokwen] (conj) EN: except ; excluding ; unless ; but ; whereas ; all but FR: sauf ; hormis ; excepté |
ยกเว้นค่าธรรมเนียม | [yokwen khā thamnīem] (x) EN: free of charge |
ยกเว้นภาษี | [yokwen phāsī] (v, exp) EN: exempt from tax ; be tax-exempt FR: exempter de la taxe |
abstain | (vi) งดเว้น, See also: ละเว้น, Syn. refrain, forbear, avoid |
alternate | (adj) หนึ่งเว้นหนึ่ง |
abstain from | (phrv) ละเว้นจาก, See also: ละเว้น, หลีกเลี่ยง, Syn. forbear from |
balaclava | (n) หมวกเหล็กที่คลุมหัว คอ ยกเว้นหน้า, Syn. balaclava helmet |
barring | (prep) ยกเว้น, See also: ถ้าไม่มี, ยกเสียแต่ว่า, Syn. except, Ant. including |
brokenly | (adv) (คำพูด) ที่สั้นมากหรือเว้นช่วงหยุดพูดบ่อยมาก |
but | (perp) ยกเว้น, See also: เว้นแต่, นอกจาก, Syn. except |
beg off | (phrv) แก้ตัว, See also: ยกเว้นให้กับ, Syn. cry off |
celibacy | (n) การละเว้นจากการร่วมเพศ, Syn. chastity, sexual abstention |
chastity | (n) การถือพรหมจรรย์, See also: การละเว้นเรื่องเพศ, พรหมจรรย์, ความเป็นพรหมจรรย์, ความบริสุทธิ์, Syn. celibacy, sexual abstention, sexual morality, virtue |
clearway | (n) ทางด่วน (ถนนที่ห้ามจอด ยกเว้นกรณีที่รถเสียเท่านั้น) |
dispense from | (phrv) ยกเว้น, See also: ละเว้นให้ |
every last one | (idm) ทุกคน, See also: ไม่ยกเว้นใคร |
forbear from | (phrv) งดเว้นจาก, See also: ละเว้นจาก, หลีกเลี่ยง โดยควบคุมตัวเอง, ป้องกันตนจาก, Syn. refrain from, withhold from |
day in day out | (adv) ทุกวันติดต่อกันเป็นเวลานาน, See also: ไม่หยุดหย่อน, ไม่เว้นแต่ละวัน, Syn. every day |
desist | (vi) หยุดการกระทำ, See also: ระงับ, ยุติ, เลิก, งดเว้น, Syn. cease, refrain, hold, stop |
desistance | (n) การหยุดการกระทำ, See also: การระงับ, การยุติ, การเลิก, การงดเว้น, Syn. astinenee |
except | (conj) นอกจากว่า (คำโบราณ), See also: เว้นแต่, Syn. unless |
except | (vt) ยกเว้น, See also: เว้น, ไม่รวม |
excepting | (conj) ยกเว้น (คำทางการ) |
excepting | (prep) ยกเว้น (คำทางการ) |
exception | (n) ข้อยกเว้น, See also: การยกเว้น, Syn. irregularity |
exception | (n) คนที่ได้รับการยกเว้น, See also: คนที่ถูกยกเว้น |
exempt | (adj) ที่ได้รับการยกเว้น, See also: ซึ่งยกเว้น, Syn. exceptional, excluded, privileged |
exempt | (n) ผู้ได้รับการยกเว้น, See also: สิ่งที่ได้รับการยกเว้น |
exempt | (vt) ยกเว้น, See also: ละเว้น, Syn. grant, immunity, release |
exemption | (n) ผู้ที่ได้รับการยกเว้นภาษี |
frank | (n) ตราประทับแสดงการยกเว้นการชำระค่าแสตมป์ |
nothing but | (idm) เพียงแต่, See also: เว้นแต่, แค่ บางสิ่ง เท่านั้น |
immune | (adj) ซึ่งได้รับการยกเว้น, See also: ซึ่งเป็นอิสระจากบางสิ่ง, Syn. exempt, free |
impunity | (n) การได้รับยกเว้นจากการลงโทษ, See also: รอดพ้นจากสถานการณ์ไม่ดี, Syn. exemption |
keep off | (phrv) งด, See also: ละเว้น, ยกเลิก, Syn. keep away from, stay away from, stay off |
nonfeasance | (n) การเพิกเฉย (ทางกฎหมาย), See also: การละเลย, การละเว้นไม่ยอมปฏิบัติตาม, ความล้มเหลว, Syn. failure, lack, omission |
omit | (vt) ละเลยไป, See also: เว้นไว้, ข้ามไป, Syn. neglect, exclude, Ant. include, insert |
other than | (prep) นอกจาก (มักใช้ในประโยคปฏิเสธ), See also: ยกเว้น, Syn. except |
prevent from | (phrv) งดเว้นจาก, See also: ละเว้นจาก, Syn. hinder from, keep from |
quit | (vt) หยุด, See also: เลิก, เว้น, Syn. stop |
quitrent | (n) ค่าเช่า, See also: ปลดปล่อย, การเว้นภาษีที่ชำระเป็นค่าแรงงาน |
quit-rent | (n) ค่าเช่า, See also: ปลดปล่อย, การเว้นภาษีที่ชำระเป็นค่าแรงงาน |
refrain | (vi) งดเว้น, See also: หลีกเลี่ยง, ละเว้น, เลิก, Syn. abstain, avoid, cease |
rhythm method | (n) การคุมกำเนิดแบบงดเว้นมีเพศสัมพันธ์ในช่วงมีไข่ตกในสตรี |
restrain from | (phrv) ละเว้นจาก, See also: ระงับจาก, ยับยั้งจาก, Syn. prevent from |
sclera | (n) เยื่อหุ้มลูกตาสีขาว (ยกเว้นบริเวณกระจกตา cornea), See also: เปลือกลูกตา |
space | (vt) เว้นระยะ, See also: เว้นวรรค, เว้นช่อง, เว้นช่วง, Syn. interval, keep apart |
spacing | (n) การเว้นวรรค |
space out | (phrv) เว้นที่ระหว่างกัน, See also: ทำให้แยกกัน, Syn. fan out, spread out |
tax-exempt | (adj) ซึ่งไม่ต้องเสียภาษี, See also: ยกเว้นภาษี, ปลอดภาษี, เกี่ยวกับดอกเบี้ยที่ไม่ต้องเสียภาษี, Syn. tax-free |
unexceptionably | (adv) อย่างไม่ยกเว้น |
unless | (conj) ถ้าไม่, See also: เว้นแต่, นอกจาก, ยกเว้น |
unless | (prep) นอกจาก, See also: เว้นแต, จนกว่า, ยกเว้น, Syn. except |
absentee | (แอบ' เซนที) n. ผู้ที่ไม่มา, ผู้ละเว้นหน้าที่, ผู้สละทรัพย์สมบัติ. |
absolution | (แอบโซล' เชิน) n. การอภัยโทษ, การยกเว้น, การชำระบาป, การให้อภัยบาป. |
abstain | (แอบสเทน') vt. ละเว้น, ไม่ลงคะแนนเสียง, ไม่ฟุ่มเฟือยในการกินและดื่ม, อดเหล้า, สละสิทธิ์ -abstainer n., Syn. forbear, desist |
abstention | (แอบสเทน' เชิน) n. การงด, การละเว้น, การสละสิทธิ์. -abstentious adj. |
achilles | (อะคิล' ลีซ) n. ชื่อเทพเจ้าของกรีกที่อยู่ยงคงกระพัน เว้นแต่ที่ส้นเท้า, จุดอ่อน, จุดเป็นจุดตาย. -Achillean adj. |
alternate | (ออล' เทอเนท) vt., vi., n., adj. สลับกัน, ผลัดกัน, หมุนเวียนกัน, หนึ่งเว้นหนึ่ง, คนละครั้ง, ตัวแทน, แผนเปรียบเทียบ. -alternateness n., Syn. interchange |
always | (ออล' เวย์ซ) adv. ตลอดเวลา, ตลอดไป, เป็นประจำ, โดยไม่มีการยกเว้น, โดยไม่มีเงื่อนไข, ตายตัว, เด็ดขาด, Syn. eternally, perpetually |
barring | (แบร์'ริง) prep. ยกเว้น |
beast | (บีสทฺ) n. สัตว์ (ยกเว้นคน) , สัตว์เดรัจฉาน |
beg | (เบก) vt. ขอทาน, ขอ, อ้อนวอน, ขอความกรุณา -Phr. (beg off ขอได้โปรดยกเว้น), Syn. entreat |
but | (บัท) conj. แต่, หากว่า, แต่ทว่า, ถ้าไม่, ถ้าไม่ได้ -adv. เพียง, เพียงแต่. -pron. ที่ไม่ -prep. เว้นแต่, นอกจาก |
cease | (ซีส) vi. หยุด, ยุติ, เลิก, เว้น, ตาย vt. หยุด, เลิก, Syn. quit -Conf. seize |
charter | (ชาร์'เทอะ) { chartered, chartering, charters } n. ตราตั้ง, กฎบัตร, กฎหมาย, สัญญาเช่าเรือ, สัญญาเช่า, สิทธิพิเศษ, สิทธิยกเว้น, หนังสือรับรอง, ประกาศนียบัตร -vt. อนุญาตด้วยตราตั้ง, ให้สิทธิพิเศษ. -adj. เช่ามา, เหมา, See also: charterer n. -Conf. chartered กริยาช |
continence | (คอน'ทะเนินซฺ) n. การควบคุมใจตัวเอง, การรู้จักละเว้น, Syn. continency |
countess | (เคา'เทส) n. ภรรยาของท่านเค้าท์ (count) ซึ่งเป็นขุนนางในประเทศภาคพื้นยุโรป (ยกเว้นอังกฤษ) , หญิงที่มีตำแหน่งเป็นท่านเค้าท์หรือเอิร์ล |
deferment | (ดิเฟอร์'เมินทฺ) n. การเลื่อน, การยึดเวลาออกไป, การยกเว้น, การถูกเกณฑ์ทหารชั่วคราว |
deferred | (ดิเฟอร์ดฺ') adj. ซึ่งเลื่อนไป, ซึ่งยึดเวลาออกไป, ซึ่งได้รับยกเว้นไม่ต้องถูกเกณฑ์ทหารชั่วคราว |
disk pack | ชุดจานชุดจานบันทึกจานบันทึกที่ใช้กับเมนเฟรมมักจะมาเป็นชุด ๆ ละ 5-10 แผ่น มีแกนยึดให้ติดกันอยู่ตรงกลาง ชนิด (ที่เป็นแผ่นเดียวก็มี เรียกว่า disk cartridge) จานนี้ใช้เป็นสื่อเก็บข้อมูล ที่มีประสิทธิภาพมาก โดยปกติ จานบันทึกแต่ละชุดจะบรรจุข้อมูลได้ทั้งสองหน้า ยกเว้นจานแรกและจานสุดท้าย |
dispensation | n. การแจกจ่าย, ระบบ, การจัดการ, การยกเว้น, การงด, Syn. dispersion, arrangement |
dispense | (ดิสเพนซฺ') vt. แจกจ่าย, จัดการ, ปรุงยาและจ่ายยา vi. แจกจ่าย, ละเว้น, งด, ขจัด, ยกเว้น, ไม่จำเป็นต้องมีก็ได้, Syn. scatter |
ellipsis | (อิลิพ'ซิส) n., (pl. ellipses) การตัดคำทิ้งจากประโยค, วิธีการเว้นคำหรือถ้อยคำไว้เข้าใจเอง, เครื่องหมายเว้นคำ " ", "....." |
eschew | (เอสชิว') vt. หลบหนี, ละเว้น., See also: eschewal n. ดูeschew eschewer n. ดูeschew |
every | (เอฟว'รี) adj. ทุก ๆ , แต่ละ, ทั้งหมด. -Phr. (every now and then บางครั้งบางคราว) -Phr. (every other day วันเว้นวัน), Syn. each, all possible |
except | (อิคเซพทฺ') prep., conj., vt. นอกจาก, ยกเว้น, ไม่นับ, ยกเว้น. vi. คัดค้าน., See also: exceptable adj. ดูexcept |
excepting | (อิคเซพ'ทิง) prep. ยกเว้น, ไม่นับ |
exception | (อิคเซพ'เชิน) n. การยกเว้น, ข้อยกเว้น, กรณีพิเศษ, การคัดค้าน, ข้อคัดค้าน. -Phr. (with the exception of (that) ยกเว้น), See also: exceptional adj. เป็นที่ยกเว้น n., Syn. objection |
exceptionable | n. ยกเว้นได้, See also: exceptionableness n. ดูexceptionable |
exceptive | (เอคเซพ'ทิฟว) adj. เป็นข้อยกเว้น, คัดค้าน |
excuse | (v. เอคคิวซ', n. เอคคิวซ') vt. ขอโทษ, ขออภัย, ยกโทษ, แก้ตัว, ยอมรับคำแก้ตัว, ยกเว้น, ปลดเปลื้อง. n. คำขอโทษ, คำแก้ตัว, การให้อภัย, ข้อแก้ตัว, ข้ออ้าง, การปลดเปลื้อง., See also: excusableness n. ดูexcuse excusably adv. ดูexcuse excuser n. ดูexcuse |
exempt | (เอคเซมพฺทฺ') { exempted, exempting, exempts } vt. ยกเว้น, ละเว้น, พ้น. adj. ซึ่งถูกยกเว้น, พ้น., See also: exemptible adj. |
exemption | (เอคเซมพฺ'เชิน) n. การยกเว้น, การละเว้น, ผู้ได้รับการยกเว้นภาษี, การพ้นจาก, See also: exemptive adj. |
forbear | (ฟอแบร์') v. อดีตกาลของforbid, อดทน, อดกลั้น, หักห้าม, บังคับจิตใจ, ข่มใจ, ละเว้น. -forbearer n. |
free | (ฟรี) { freed, freeing, frees } adj., adv. อิสระ, เสรี, เป็นไทย, ไม่มีข้อจำกัด, ไม่มีพิธีรีตอง, ไม่ปิดบัง, ได้รับการยกเว้นภาษี, ปลอดภัย, ทั่วไป, ปราศจาก, หลวม, ว่าง, ปลอด, ไม่ถูกขัดขวาง, ไม่แน่นอน, ไม่คงที่ vt. ทำให้อิสระ, See also: freeness n. คำที่มีความหมายเห |
free list | n. รายชื่อสินค้าที่ได้รับการยกเว้นเสียภาษี |
immune | (อีมิวนู') adj. มีภูมิคุ้มกันโรค, ได้รับการยกเว้น. n. ผู้มีภูมิคุ้มกันโรค, ผู้ได้รับการยกเว้น, Syn. exempt |
immunise | (อิม'มะไนซ) vt. ทำให้มีภูมิคุ้มกันโรค, ทำให้ยกเว้น, ทำให้รอดจาก., See also: immuniser, immunizer n. |
immunize | (อิม'มะไนซ) vt. ทำให้มีภูมิคุ้มกันโรค, ทำให้ยกเว้น, ทำให้รอดจาก., See also: immuniser, immunizer n. |
impunity | (อิมพิว' นิที) n. การได้รับการยกเว้นโทษ, การได้รับนิรโทษ |
indult | (อินดัลทฺ') n. การยินยอมจากองค์สันตะปาปาให้ได้รับการยกเว้นจากกฎของศาสนาโรมันคาธอลิค |
interlacing | มีการสอดประสานเป็นลักษณะของจอที่ใช้หลอดภาพกราดแสง (scan) บรรทัดเว้นบรรทัด ซึ่งจะไม่ดีต่อสายตา ถ้าต้องดูนาน ๆ และใกล้ ๆ อย่างเวลาทำงานกับเครื่องคอมพิวเตอร์ อาจใช้ เป็นจอโทรทัศน์ได้ แต่จอภาพของคอมพิวเตอร์ควรเป็นชนิดที่เรียกว่า non interlacing |
miss | (มิส) vt. พลาด, ทำพลาด, ตี, ต่อย, แทง, ฟัน, ขว้าง, ปาพลาด, พลาดโอกาส, พลาดรถไฟหรือพาหนะอื่น ๆ , ทำหาย, คิดถึง, หลบหลีก, หนี, ไม่สามารถเข้าใจ. vi. พลาด, ทำพลาด. n. การพลาด, การทำพลาด, การละเว้น, Syn. lose, fail |
moderation | (มอดดะเร'เชิน) n. ความไม่รุนแรง, การกระทำที่พอประมาณ, ความพอควร, การละเว้นของมึนเมา. -Phr. (in moderation พอควร, พอประมาณ), Syn. temperance |
omission | (โอมิส'เชิน) n. การละเว้น, การละเลย, Syn. neglect |
omissive | (โอมิส'ซิฟว) adj. เป็นการละเว้น, เป็นการละเลย, |
omit | (โอมิท') vt. ละเว้น, เว้น, ละเลย, เอาออก, ตัดทอน, ข้ามไป |
only | (โอน'ลี) adv., adj. เท่านั้น, เพียงแต่, สิ่งเดียว conj. เพียงแต่, ยกเว้นว่า, แต่ทว่า -Phr. (only too ความจริงแล้ว, อย่างยิ่ง, มาก ๆ), Syn. solely, alone |
ordinary | (ออร์'ดินะรี) adj. ปกติ, ธรรมดา, สามัญ, พื้น ๆ , ต่ำกว่าถัวเฉลี่ย, ระดับต่ำ. n. ภาวะที่ปกติ, สิ่งที่ปกติ, ลูกขุน -Phr. (out of the ordinary ผิดธรรม, เป็นกรณียกเว้น.), See also: ordinariness n. |
other | (อัธ'เธอะ) adj. อื่น, อีก, อื่นอีก, อะไรอีก, มากกว่า, จำนวนพิเศษ, ต่างไปกว่า, ไม่เหมือนกัน, แตกต่างกัน, อันก่อน, ก่อน. -every other..วันเว้นวัน -Phr. (the other day (night) สองสามวันก่อน, เมื่อวานซืนนี้) n. สิ่งอื่น, คนอื่น, อันอื่น, วันอื่น pron. สิ่งอื่น, คนอื่น adv. มิฉะนั้น, ตรงกันข้าม |
outside | (เอาทฺ'ไซดฺ) n. ข้างนอก, ด้านนอก, ผิวนอก, ส่วนนอก, สิ่งภายนอก, นอกวงการ, โฉมหน้า, โฉมภายนอก adj., adv. ภายนอก, ด้านนอก, ผิวนอก, วงนอก, ไกลสุด, เต็มขีด prep. ภายนอก, ข้างนอก. -Phr. (at the outside เต็มที่ เต็มขีด มากที่สุด) -Phr. (outside of นอกจาก ยกเว้น) |
pardon | (พาร์'ดัน) n. การให้อภัย, ละเว้นโทษ |
abstain | (vi) เว้น, ละเว้น, อด |
abstention | (n) การเว้น, การสละสิทธิ์, การละเว้น |
abstinence | (n) การเว้น, การละเว้น |
barring | (pre) นอกจาก, ยกเว้น |
but | (con) แต่, นอกจาก, เว้นแต่, หากแต่, เพียงแต่ |
but | (pre) หากแต่, เว้นแต่, เพียงแต่, นอกจาก |
cease | (vi, vt) ยุติ, เลิก, หยุด, สิ้นสุด, เว้น |
cessation | (n) การสิ้นสุด, การหยุด, การยุติ, การเลิก, การเว้น |
continence | (n) การรู้จักละเว้น, การบังคับใจตนเอง, ความไม่มักมาก |
continent | (adj) ไม่มักมาก, รู้จักละเว้น |
eschew | (vt) หลีกเลี่ยง, ละเว้น, หลบหนี, อดกลั้น, กล้ำกลืน |
except | (pre) ยกเว้น, นอกจาก, ไม่นับ, ไม่รวม |
except | (vt) ยกเว้น, ไม่รวม, ไม่นับ |
excepting | (pre) ยกเว้น |
exception | (n) ข้อยกเว้น, กรณีพิเศษ |
exceptional | (adj) ผิดปกติ, ผิดธรรมดา, เป็นพิเศษ, เป็นข้อยกเว้น |
exclusion | (n) การเอาออก, การไล่ออก, การกีดกัน, การยกเว้น |
exclusive | (adj) พิเศษ, เฉพาะตัว, แต่ผู้เดียว, ซึ่งผูกขาด, เว้นไว้แต่ |
exempt | (adj) ซึ่งถูกยกเว้น, ซึ่งพ้นจาก |
exempt | (vt) ยกเว้นให้, ละเว้น, พ้นจาก |
exemption | (n) การยกเว้น, การละเว้น, การพ้นจาก, ผู้ได้รับการยกเว้นภาษี |
forbear | (vi, vt) อดกลั้น, หักห้าม, ระงับ, ละเว้น, อดทน, ข่มใจ |
forbearance | (n) การข่มใจ, การหักห้าม, การระงับ, ความอดทน, การละเว้น |
intermission | (n) การหยุดพักชั่วขณะ, ระยะเว้น, การหยุดพักสลับฉาก |
omission | (n) การเว้น, การละเลย, การละเว้น, การคัดออก |
omit | (vt) ละเว้น, ละเลย, เว้น, เอาออก |
only | (con) เพียงแต่, เว้นเสียแต่ว่า, แต่ทว่า |
prohibition | (n) การห้าม, ข้อห้าม, ข้อละเว้น, การปราม, คำสั่งห้าม |
punctuate | (vt) เว้นวรรค, คั่น, สลับ |
punctuation | (n) การเว้นวรรค, การคั่น, การสลับ |
refrain | (vi) งด, ละเว้น, กลั้น, ระงับ, ข่มจิต |
release | (n) การหลุดพ้น, การปล่อย, การปลด, การสละสิทธิ์, การยกเว้น |
remission | (n) การลดหย่อน, การหลุดพ้น, การอภัยโทษ, การละเว้น |
remit | (vt) งดเว้น, ผ่อนคลาย, บรรเทาลง, อภัยโทษ |
restrain | (vt) รั้ง, งดเว้น, ยับยั้ง, ผูกมัด, ควบคุม, ข่มใจ, อดกลั้น |
restraint | (n) การยับยั้ง, การงดเว้น, ข้อผูกมัด, การหักห้ามใจ |
save | (pre) ยกเว้น, นอกจาก, เว้นแต่, แต่ |
space | (vt) เว้นช่อง, เว้นระยะ, เว้นวรรค |
spare | (vt) ไว้ชีวิต, หวง, ผ่อนผัน, จำกัดจำเขี่ย, งดเว้น |
special | (adj) เจาะจง, พิเศษ, เฉพาะ, ยกเว้น, สนิทสนม |
unexceptionable | (adj) ไม่มีที่ติ, ไม่มีข้อยกเว้น, ธรรมดา |
unless | (con) เว้นเสียแต่, นอกจาก, จนกว่า, ยกเว้น |
unusual | (adj) ผิดธรรมดา, ผิดปกติ, เป็นข้อยกเว้น |