42 ผลลัพธ์ สำหรับ *เสียงสั่น*
หรือค้นหา: เสียงสั่น, -เสียงสั่น-

NECTEC Lexitron-2 Dictionary (TH-EN)
เสียงสั่น(n) shivering sound, See also: shaking sound, trembling sound, vibrating sound, quivering sound, Syn. เสียงสั่นเครือ, Example: พระรูปนี้มีเสียงสั่นเวลาเทศน์เพราะมีอายุมากแล้ว

พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔
โฆษะว. ก้อง, เสียงสระหรือพยัญชนะซึ่งขณะที่เปล่งออกมาเส้นเสียงสั่นในภาษาไทยได้แก่เสียง บ ด เมื่อเป็นพยัญชนะต้น เสียง ง น ม ย ร ล ว และเสียงสระทุกเสียง, (ไว) เรียกพยัญชนะในภาษาบาลีและสันสกฤตที่มีเสียงก้องว่า พยัญชนะโฆษะ ได้แก่ พยัญชนะตัวที่ ๓, ๔, ๕ ของวรรค และ ย ร ล ว ห ฬ.
จ๋ะ ๒ว. เสียงประกอบคำเรียก เช่น แม่จ๋ะ (เป็นเสียงสั้นจากคำ จ๋า).
นาง ๑คำเรียกหรือคำนำหน้าชื่อหญิงที่มีพฤติกรรมไม่ดีหรือน่ารังเกียจเป็นต้น เช่น นางแพศยา มักออกเสียงสั้นว่า นัง เป็น นังแพศยา
บังคับลหุน. กฎเกณฑ์ของการประพันธ์ที่บัญญัติให้ใช้พยางค์ที่มีเสียงเบา คือ พยางค์ที่ประกอบด้วยสระเสียงสั้นที่ไม่มีตัวสะกด เช่น ละ ติ ลุ.
ไม้ไต่คู้น. เครื่องหมายชนิดหนึ่งรูปดังนี้  ็ ทำให้คำนั้น ๆ มีเสียงสั้น.
ระรัวว. รัว ๆ, สั่นถี่ ๆ, สั่นสะท้าน, เช่น กลัวจนตัวสั่นระรัว เสียงสั่นระรัว.
รัสสระ(รัดสะสะหฺระ) น. สระที่มีเสียงสั้น ในภาษาบาลีได้แก่ อ อิ อุ, ในภาษาสันสกฤตได้แก่ อ อิ อุ ฤ ฦ, ในภาษาไทยได้แก่ อ อิ อึ อุ เอะ แอะ โอะ เอาะ เออะ เอียะ เอือะ อัวะ ฤ ฦ อำ ใอ ไอ เอา.
ลหุใช้ในตำราฉันทลักษณ์ หมายถึง พยางค์ที่มีเสียงเบา ได้แก่ พยางค์ที่ประกอบด้วยสระเสียงสั้นที่ไม่มีตัวสะกด เช่น จะ มิ ดุ, ใช้เครื่องหมาย แทน, คู่กับ ครุ ซึ่งใช้เครื่องหมาย แทน.
เสียงกระเส่าน. เสียงสั่นเครือและเบา.
เห่า ๑ก. อาการส่งเสียงสั้น ๆ ของหมา.

ศัพท์บัญญัติราชบัณฑิตยสถาน
laryngograph; glottographเครื่องวัดเส้นเสียงสั่น [สัทศาสตร์ ๘ มี.ค. ๒๕๔๕]
glottis in vibration(สภาพ)ช่องเส้นเสียงสั่น [สัทศาสตร์ ๘ มี.ค. ๒๕๔๕]
glottograph; laryngographเครื่องวัดเส้นเสียงสั่น [สัทศาสตร์ ๘ มี.ค. ๒๕๔๕]
trillเสียงสั่น [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]

Volubilis Dictionary (TH-EN-FR)
สระเสียงสั้น[sara sīeng san] (n, exp) EN: short vowel  FR: voyelle brève [ f ]
เสียงสั้น[sīeng san] (n, exp) EN: short-duration sound  FR: son bref [ m ]

NECTEC Lexitron Dictionary EN-TH
chatter(vi) พูดเสียงสั่นกึกๆ, See also: พูดเสียงกึกๆ เช่นเมื่อรู้สึกหนาวตัวสั่น, Syn. click
falter(vi) พูดตะกุกตะกัก, See also: พูดเสียงสั่น, พูดอ้ำอึ้ง, พูดละล่ำละลัก
falter(vt) พูดตะกุกตะกัก, See also: พูดเสียงสั่น, พูดอ้ำอึ้ง, พูดละล่ำละลัก
quaver(n) เสียงสั่น, See also: เสียงกระเส่า
quavery(adj) ซึ่งพูดเสียงสั่น
quiver(n) เสียงสั่น
sonorant(n) เสียงที่มีเสียงสั่นหรือรัวน้อยกว่าสระ
sonorant(adj) ซึ่งมีเสียงสั่นหรือรัวน้อยกว่าสระ
sonority(n) เสียงสั่น, See also: เสียงกังวาน
tremolous(adj) อย่างเสียงสั่น
tremor(n) เสียงสั่น
tremulant(adj) ซึ่งมีเสียงสั่น
trill(vi) พูดเสียงสั่น
trill(vi) ร้องเพลงด้วยเสียงสั่น
warble(n) การร้องเสียงสั่นรัว
warble(n) เสียงสั่นรัว
wobble(n) การมีเสียงสั่น

Hope Dictionary
jar(จาร์) { jarred, jarring, jars } n. กระปุก, ขวดปากกว้าง, เหยือก, โอ่ง, ไห, โถ, เสียงสั่นสะเทือนระคายหู, การสั่นสะเทือน, อาการช็อค, ความไม่เห็นด้วย v. สั่นสะเทือน, ขัดแย้ง, ชนโครม, ไม่เห็นด้วย, See also: jaringly adv. ดูjar, Syn. vibrate
purr(เพอ) n., v. (เกิด) เสียงคล้ายเสียงหายใจที่ได้ยินในเครื่องฟัง, เสียงสั่นสะเทือนของเครื่องยนต์, เสียงรัวของลมพัด, เสียงครางของแมวที่แสดงความพอใจ, See also: purringly adv. -S.pur
quaver(เคว'เวอะ) vi. สั่น, สั่นเทา, vi. พูดเสียงสั่น, n. การสั่น, เสียงสั่น, เสียงดนตรีเสียงที่8, See also: quaverer n. quaveringly adv. quavery adj. quaverous adj., Syn. tremble, vibrate
sonant(โซ'เนินทฺ) n., adj. (ออก) เสียงรัว, เสียงสั่น, เสียงพยางค์, พยัญชนะที่ออกเสียงได้โดยไม่มีสระ, See also: sonantal, sonantic adj.
tremolant(เทรม'มะเลินทฺ) adj. ซึ่งมีเสียงสั่นอย่างมาก
vibrant(ไว'เบรินทฺ) adj. สั่นสะเทือน, ระรัว, กังวาน, ก้องกังวาน, มีชีวิตชีวา, ตื่นเต้น, กระตุ้นจิต. n. เสียงสั่นสะเทือน, เสียงกังวาน., See also: vibrancy, vibrance n. vibrantly adv.

Nontri Dictionary
trill(n) เสียงรัว, เสียงสั่น
trill(vt) ออกเสียงรัว, พูดเสียงสั่น

Time: 0.8071 secondsLongdo Dict -- https://dict.longdo.com/