เห่า | (v) bark, See also: yap, bay, Example: สุนัขที่ใต้ถุนบ้านกำลังเห่าใครบางคนที่เดินผ่านข้างบ้านไป, Thai Definition: อาการส่งเสียงสั้นๆ ของหมา |
เห่า | (n) cobra, Syn. งูเห่า, Example: พิษของงูเห่ามักทำอันตรายต่อระบบประสาททำให้กล้ามเนื้ออ่อนแรง, Count Unit: ตัว, Thai Definition: ชื่องูพิษในสกุล Naja วงศ์ Elapidae ขนาดยาวประมาณ 1.3 เมตร พบหลายสีต่างกันไปในแต่ละตัว สามารถยกตัวท่อนหัวตั้งขึ้นและแผ่บริเวณคอกว้างออกได้ เรียกว่า แผ่แม่เบี้ย มีหลายชนิด |
งูเห่า | (n) cobra, See also: elapid, elapid snake, venomous snake, Example: พิษของงูเห่ามักทำอันตรายต่อระบบประสาททำให้กล้ามเนื้ออ่อนแรง, Count Unit: ตัว |
เห่าหอน | (v) howl, See also: bark, bay, Syn. หอน, เห่า, Example: เมื่อคืนนี้แถวบ้านฉันหมาเห่าหอนทั้งคืน, Thai Definition: ส่งเสียงสั้นๆ และร้องเสียงยาวโหยหวน (ใช้แก่สุนัข) |
งูเห่า | น. ชื่อว่านชนิดหนึ่ง ต้นและหัวเหมือนขมิ้นอ้อย แต่เนื้อสีขาว กลิ่นฉุนเหมือนนํ้ามันดินอ่อน ๆ. |
ล้วงคอ, ล้วงคองูเห่า | ก. บังอาจลักขโมยหรือล่อลวงเอาทรัพย์สินเป็นต้นจากผู้ที่น่าเกรงขาม. |
ลิ้นงูเห่า | น. ชื่อไม้ล้มลุก ๒ ชนิดในวงศ์ Acanthaceae คือ ชนิด Blepharis maderaspatensis B. Heyne ex Roth. ดอกเล็ก สีขาวลายม่วง และชนิด Clinacanthus siamensis Bremek. ดอกใหญ่เป็นหลอด สีแดงอมแสด. |
หมากัดไม่เห่า | น. คนที่ต่อสู้หรือตอบโต้โดยไม่เตือนล่วงหน้า. |
หมาเห่าใบตองแห้ง | น. คนที่ชอบพูดเอะอะแสดงว่าเก่ง แต่ไม่กล้าจริง. |
หมาเห่าไม่กัด | น. คนที่ดีแต่ส่งเสียงเอะอะอวดเก่ง แต่ไม่ยอมต่อสู้หรือตอบโต้. |
เห่า ๑ | ก. อาการส่งเสียงสั้น ๆ ของหมา. |
เห่า ๒ | น. ชื่องูพิษรุนแรงขนาดกลาง ในสกุล Naja วงศ์ Elapidae ขนาดยาวประมาณ ๑.๓-๒ เมตร พบหลายสีต่างกันไปในแต่ละตัว เช่น ดำ นํ้าตาล เขียวอมเทา เหลืองหม่น บางตัวมีลายสีขาวและบางตัวไม่มีลาย สามารถยกตัวท่อนหัวตั้งขึ้นและแผ่บริเวณคอกว้างออกได้ เรียกว่า แผ่แม่เบี้ย ขณะแผ่แม่เบี้ยจะเห็นลายดอกจันบริเวณกลางหัวด้านหลัง ทำเสียงขู่พ่นลมออกทางจมูกดังฟู่ ๆ อาศัยอยู่ตามที่ลุ่ม กินหนู กบ เขียด ลูกไก่ ในประเทศที่พบแล้ว มี ๓ ชนิด คือ เห่าไทย (N. kaouthiaLesson) ส่วนตัวที่มีสีคลํ้า เรียก เห่าหม้อ, เห่าด่างพ่นพิษ (N. siamensis Laurenti) และเห่าทองพ่นพิษ (N. sumatrana Müller) ซึ่งสามารถพ่นฉีดพิษออกจากเขี้ยวพิษได้. |
เห่าน้ำ | ดู ปากกว้าง. |
กด ๓ | น. ชื่อนกชนิดหนึ่ง เช่น นกกดอดทนสู้ พบงูเห่าเอาปีกบัง (ประพาสธารทองแดง). |
กระโชก | ว. กระแทกเสียง เช่น พูดกระโชก เห่ากระโชก |
เกรียว | (เกฺรียว) ว. ลักษณะที่ต่อเนื่องกันมาก ๆ เป็นแถว ๆ เช่น มากันเกรียว, ลักษณะอาการที่เป็นอย่างเดียวพร้อม ๆ กัน เช่น ขนลุกเกรียว, เสียงเอ็ดอึงพร้อมกันหลาย ๆ เสียง เช่น หมาเห่าเกรียว เล่นกันเกรียว. |
เขี้ยวแก้ว | เขี้ยวของงูพิษ อยู่บริเวณส่วนหน้าของขากรรไกรบน มีขนาดใหญ่และยาว เช่น งูจงอาง งูเห่า งูเขียวหางไหม้, ถ้าอยู่บริเวณท้ายขากรรไกรบน เรียกว่า เขี้ยวแก้วใน หรือ เขี้ยวแก้วใต้ตา เช่น งูปล้องทอง งูเขียวหัวจิ้งจก |
งู | น. ชื่อสัตว์เลื้อยคลานอันดับย่อย Serpentes ในอันดับ Squamata หัวไม่มีรูเปิดสำหรับฟังเสียง ลำตัวเรียวยาว มีเกล็ด ไม่มีขา มีทั้งชนิดที่มีพิษและไม่มีพิษ ที่มีพิษ เช่น งูเห่าไทย ( Naja kaouthia Lesson) ที่ไม่มีพิษ เช่น งูเหลือม [ Python reticulatus (Schneider) ]. |
จงอาง | น. ชื่องูพิษชนิด Ophiophagus hannah (Cantor) ในวงศ์ Elapidae เป็นงูพิษรุนแรงที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในโลก โตเต็มวัยยาวประมาณ ๔.๕ เมตร หัวโต เกล็ดบนหัวใหญ่ สามารถยกหัวและลำตัวท่อนบนตั้งขึ้นได้สูงและแผ่บริเวณคอออกได้ เรียกว่า แผ่แม่เบี้ย แต่ไม่แผ่เป็นแผ่นกว้างเท่างูเห่า ขณะแผ่แม่เบี้ยจะเห็นลายขีดบั้งที่ด้านหลังคอ ตัวสีเขียวอมเทาหรือสีคลํ้า พบทั้งในป่าโปร่งและป่าทึบ, บองหลา ก็เรียก. |
ปากเปราะ | เห่าเก่ง (ใช้แก่สุนัข). |
ปากกว้าง | น. ชื่องูนํ้าขนาดกลางชนิด Homalopsis buccata (Linn.) ในวงศ์ Colubridae ลำตัวยาวประมาณ ๑.๓ เมตร หัวใหญ่ ด้านบนมีแถบสีน้ำตาลเหลืองพาดขวาง ปากกว้าง เกล็ดมีสัน ตัวสีน้ำตาลแดง มักพบอาศัยอยู่ตามริมคลอง บึง และหนองน้ำ หากินเวลากลางคืน กินปลาและสัตว์สะเทินน้ำสะเทินบกเป็นอาหาร มีพิษอ่อนมาก, หัวกะโหลก เหลือมอ้อ เหลือมน้ำ หรือ เห่าน้ำ ก็เรียก. |
แผ่พังพาน, แผ่แม่เบี้ย | ก. อาการที่งูเห่าหรืองูจงอางเป็นต้นชูและแผ่คอให้แบนเพื่อเตรียมฉกศัตรูเป็นต้น. |
พังพาน | น. คองูเห่าหรืองูจงอางที่แผ่แบนออกทำท่าจะฉก, แม่เบี้ย ก็เรียก, โดยปริยายหมายถึง คอพญานาคหรืองูใหญ่ที่แผ่ออกอย่างที่ปรกอยู่เหนือพระพุทธรูปปางนาคปรก. |
ฟ่อ, ฟ้อ ๑ | ว. เสียงดังเช่นนั้นอย่างงูเห่าขู่. |
แม่เบี้ย | น. พังพานงู (ใช้แก่งูเห่าและงูจงอาง) เช่น งูเห่าแผ่แม่เบี้ย. |
ลองดี | ก. หาทางพิสูจน์ว่าจะดีจริงหรือไม่ (โดยมากเป็นไปในเชิงดูหมิ่นหรือท้าทาย) เช่น พูดจาท้าทายลองดีนักเลงใหญ่ ล้วงคองูเห่าด้วยการลองดีกับตำรวจ. |
หมองู | น. ผู้มีความชำนาญในการจับงูเห่ามาเลี้ยงเพื่อนำไปแสดง. |
หมองูตายเพราะงู | น. ผู้ที่ชำนาญในการเอางูเห่ามาเลี้ยงเป็นอาชีพก็อาจถูกงูเห่ากัดตายเพราะความประมาทได้, โดยปริยายหมายถึงผู้ที่มีความรู้อาจตายหรือพลาดท่าเสียทีเพราะความรู้ของตนก็ได้. |
โฮก | ว. อาการคำรามของเสือ, อาการเห่ากระโชกของหมา |
โฮ่ง, โฮ่ง ๆ, โฮ้ง, โฮ้ง ๆ | ว. เสียงหมาเห่ากระโชก. |
เห่า | [hao] (v) EN: bark ; yap ; bay FR: aboyer ; japper |
เห่า | [hao] (v) EN: swear ; abuse ; curse FR: jurer ; maudire |
เห่าหอน | [hao høn] (v, exp) EN: bark and bowl ; howl ; bark ; bay |
งูเห่า | [ngū hao] (n) EN: cobra ; elapid ; elapid snake FR: cobra [ m ] |
งูเห่าด่างพ่นพิษ | [ngū hao dāng phon phit] (n, exp) EN: Indo-Chinese Spitting Cobra |
งูเห่าดง ? | [ngū hao dong] (n, prop) EN: King Cobra FR: cobra royal [ m ] |
งูเห่าดง ? | [ngū hao dong] (n, exp) EN: Keeled Rat Snake |
งูเห่าหางม้า | [ngū hao hāng mā] (n, exp) EN: Dog-toothed Cat Snake |
งูเห่าอีสานพ่นพิษ | [ngū hao īsān phon phit] (n, exp) EN: Indo-Chinese Spitting Cobra |
งูเห่าหม้อ | [ngū hao mø] (n, exp) EN: Monocled Cobra ; Monocellate Cobra |
งูเห่าปี่แก้ว | [ngū hao pīkaēo] (n, exp) EN: Indo-Chinese Rat Snake ; Chinese Rat Snake |
งูเห่าสีนวล | [ngū hao sī nūan] (n, exp) EN: Suphan Cobra |
งูเห่าสุพรรณ | [ngū hao suphan] (n, exp) EN: Suphan Cobra |
งูเห่าตะลาน | [ngū hao talān] (n, exp) EN: Indo-Chinese Rat Snake ? ; Chinese Rat Snake ? |
งูเห่าไทย | [ngū hao Thai] (n, exp) EN: Monocled Cobra ; Monocellate Cobra |
งูเห่าทองพ่นพิษ | [ngū hao thøng phon phit] (n, exp) EN: Equatorial Spitting Cobra |
หนองงูเห่า | [Nøng Ngū Hao] (n, prop) EN: Nong Ngu Hai (litt. : Cobra Swamp) FR: Nong Ngu Hao |
พิษงูเห่า | [phit ngū hao] (n, exp) FR: venin de cobra [ m ] |
bark | (n) เสียงเห่าของสุนัข |
bark | (vi) เห่า, Syn. growl, bay |
bark at | (phrv) เห่า |
cobra | (n) งูเห่า, Syn. king cobra |
grunt | (vi) คำรามเสียงออกจมูก, See also: เห่า, ตะคอก, Syn. grumble, numble, Ant. articulate |
howl | (n) การเห่าหอน, See also: การคำราม, การหอน |
howl | (vi) เห่าหอน, See also: คำราม, หอน |
king cobra | (n) งูจงอาง, See also: งูเห่าดง, Syn. hamadryad |
snarl | (vi) เห่า, See also: คำราม, ขู่คำราม, Syn. bark, growl, gnarl |
snarl | (n) เสียงขู่คำราม, See also: เสียงคำราม, เสียงเห่า, Syn. growl, gnarl |
woof | (n) เสียงเห่าของสุนัข |
yap | (vi) เห่า, See also: หอน |
bark | (บาร์ค) { barked, barking, barks } n. เปลือกไม้ vt. ลอกหนัง, ลอกเปลือก, ลอกผิว, แช่เปลือกในสารละลายฟอกเปลือกไม้ , เห่า, ลั่น (ปืน) , ดัง, ร้อง |
bay | (เบ) { bayed, baying, bays } n. อ่าวเล็ก, ที่เว้าของเทือกเขา, มุข, ชื่อเสียง (bays) , สีน้ำตาลปนแดง, ม้าหรือสัตว์ที่มีสีน้ำตาลปนแดง, เสียงเห่า, ภาวะหมดหนทาง, ความอับจน, การหอน vi. เห่า, หอน vt. เห่าใส่ adj. สีเทาปนแดง |
bowwow | (เบา`เวา) n. เสียงเห่าของสุนัข |
cobra | (โค'บระ) n. งูเห่า |
hood | (ฮูด) n. หมวกครอบ, ผ้าคลุมศีรษะ, หมวกปริญญาของเสื้อชุดปริญญาของมหาวิทยาลัย, ฝาครอบเครื่องยนต์, ฝาครอบปล่องไฟ, คอแผ่แม่เบี้ยของงูเห่า, หงอนขนบนหัวของนกหรือสัตว์บางชนิด, Syn. cowl, bonnet |
snarl | (สนาร์ล) vi., vt., n. (การ) เห่า, คำราม, แยกเขี้ยวคำราม, พูดอย่างโกรธเคือง, พูดตะคอก, เสียงเห่า, เสียงคำราม, See also: snarler n. snarlingly adv., Syn. grumble, growl, snap, grumble |
ululate | (ยูล'อะเลท) vi. คำราม, เห่า, หอน, ร้องเสียงโหยหวน, ร้องคร่ำครวญ., See also: ululation n. |
woof | (วูฟ) interj. เสียงเห่าของสุนัข |
yap | (แยพ) vi., n. (การ) เห่า, หอน, ปาก, See also: yapper n. yappingly adv. |
yelp | (เยลพฺ) vt., vt., n. (การ) ร้องเอ๋ง, เห่าเอ๋ง, See also: yelper n. |
yip | (ยิพ) vi. เห่าเสียงดัง, ร้องเอ๋ง n. การเห่าเสียงดัง, การร้องเอ๋ง, Syn. bark sharply, yelp |