แถบบันทึกเสียง | (n) magnetic sound-recording tape, Thai Definition: แถบเคลือบสารแม่เหล็ก ใช้บันทึกสัญญาณเสียง |
แถบบันทึกเสียง | น. แถบเคลือบสารแม่เหล็ก ใช้บันทึกสัญญาณเสียง. |
อัดเสียง | ก. บันทึกเสียงลงในแถบบันทึกเสียงหรือฟิล์มเป็นต้น. |
Tape recordings | แถบบันทึกเสียง (Tape recording), Example: <p>แถบบันทึกเสียง <p>หมายถึงวัสดุที่แบนยาวเคลือบด้วยสารแม่เหล็กใช้บันทึกสัญญาณเสียง เป็นวัสดุที่นิยมใช้ในการบันทึกเรื่องราวเหตุการณ์ต่างๆ บันทึก เสียงได้ทั้งสองแถบและสามารถลบเสียงเดิมออกแล้วบันทึกเสียงใหม่ได้ ต่างจากแผ่นเสียงที่เมื่อบันทึกเสียงลงไปแล้วจะคงอยู่ตลอด ไปจนกว่าแผ่นเสียงจะสึกหรอหรือแตกหัก เทปบันทึกเสียง มี 3 ลักษณะ ได้แก่ <p>1.เทปม้วน (tape open reel-to reel) <p>2.เทปตลับแบบคาสเซท (tape cassette) <p>3.เทปตลับแบบ cartridge <p>(tape cartridge) การจัดเก็บเทปบันทึกเสียง จะจัดเก็บไว้ในกล่อง เรียงตามลำดับเลขทะเบียนหรือหัวเรื่องที่กล่องเทปและที่วงของเทปมีป้ายระบุรายละเอียดไดว้คือ ผู้ผลิต ชื่อเรื่อง สถานที่ วัน เดือน ปี หมายเลขจำนวนระยะเวลาที่เล่น และอัตราความเร็ว <p>บรรณานุกรม : พิมลพรรณ ประเสริฐวงษ์ เรพเพอร์, การใช้ห้องสมุด กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยรามคำแหง, 2542 [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Audiocassettes | แถบบันทึกเสียงตลับ [TU Subject Heading] |
Audiocassettes for children | แถบบันทึกเสียงตลับสำหรับเด็ก [TU Subject Heading] |
Audiotapes | แถบบันทึกเสียง [TU Subject Heading] |
audiotape | (n) แถบบันทึกเสียง |
tape | (n) แถบบันทึกเสียง, See also: สายเทปบันทึกเสียง |
magnetic tape | แถบบันทึกแม่เหล็กหมายถึง แถบที่ทำด้วยพลาสติกฉาบออกไซด์ของโลหะ มีลักษณะคล้ายเทปหรือแถบบันทึกเสียง ม้วนอยู่บนวงล้อ มีหลายขนาด เป็นต้นว่า ขนาดยาว 2, 400 ฟุต 1, 200 ฟุต และ 600 ฟุต ตัวเทปกว้าง ? นิ้ว บันทึกข้อมูลได้ประมาณ 800-1, 600 ตัวอักษรต่อความยาวของเนื้อเทป 1 นิ้ว เทปหรือแถบบันทึกนี้สามารถเป็นได้ทั้งหน่วยรับข้อมูลและหน่วยแสดงผล คอมพิวเตอร์จะมีเครื่องมือที่ใช้อ่านและบันทึกข้อมูลลงในเทป เรียกว่า หน่วยขับเทป (tape drive) เราสามารถบันทึกข้อมูลใหม่ลงทับบนข้อมูลเก่าได้เหมือนการบันทึกเพลง ข้อมูลเดิมจะหายไปโดยอัตโนมัติ ข้อเสียของเทปก็คือ การค้นหาข้อมูลทำได้ช้า เพราะต้องเริ่มตั้งแต่ต้นเทปเสมอ ถ้าข้อมูลอยู่ปลายเทป ก็จะเสียเวลานาน การค้นหาแบบนี้เรียกว่าการเข้าถึงแบบเรียงลำดับ (sequential access) ซึ่งตรงข้ามกับการเข้าถึงแบบสุ่ม (direct access) ของจานบันทึก |