77 Results for *แผ่นดินไหว*
หรือค้นหา: แผ่นดินไหว, -แผ่นดินไหว-

พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔
แผ่นดินไหวน. การสั่นสะเทือนของแผ่นดินที่รู้สึกได้ ณ บริเวณใดบริเวณหนึ่งบนผิวโลก ส่วนใหญ่เกิดจากการเคลื่อนตัวของเปลือกโลกที่รองรับผิวโลกอยู่ บางครั้งเกิดจากภูเขาไฟระเบิด.
กัมป-, กัมปน-(กำปะ-, กำปะนะ-) น. การหวั่นไหว, แผ่นดินไหว.
สลดใจก. รู้สึกเศร้าใจแกมสังเวช, รู้สึกหดหู่ใจ, เช่น ข่าวแผ่นดินไหวคนตายเป็นหมื่น ๆ ฟังแล้วสลดใจ เห็นสุนัขถูกรถทับตาย รู้สึกสลดใจ.
อนนต์น. ชื่อปลา ๑ ใน ๗ ตัว ในหนังสือไตรภูมิกถา, ชื่อปลาใหญ่ในวรรณคดี เชื่อกันว่าหนุนแผ่นดิน เมื่อปลานี้พลิกตัวจะทำให้เกิดแผ่นดินไหว, อานนท์ ก็ว่า.
อานนท์ ๒น. ชื่อปลา ๑ ใน ๗ ตัว ในหนังสือไตรภูมิกถา, ชื่อปลาใหญ่ในวรรณคดี เชื่อกันว่าหนุนแผ่นดิน เมื่อปลานี้พลิกตัวจะทำให้เกิดแผ่นดินไหว, อนนต์ ก็ว่า.

ศัพท์บัญญัติราชบัณฑิตยสถาน
seismologyวิทยาแผ่นดินไหว [ธรณีวิทยา๑๔ ม.ค. ๒๕๔๖]
seimic surge; earthquake sea wave; seismic sea waveคลื่นจากแผ่นดินไหว [ธรณีวิทยา๑๔ ม.ค. ๒๕๔๖]
seismic focus; focusศูนย์เกิดแผ่นดินไหว [ธรณีวิทยา๑๔ ม.ค. ๒๕๔๖]
seismic sea wave; earthquake sea wave; seimic surgeคลื่นจากแผ่นดินไหว [ธรณีวิทยา๑๔ ม.ค. ๒๕๔๖]
aftershockแผ่นดินไหวตาม [ธรณีวิทยา๑๔ ม.ค. ๒๕๔๖]
main shockแผ่นดินไหวหลัก [ธรณีวิทยา๑๔ ม.ค. ๒๕๔๖]
deep-focus earthquake; deep earthquakeแผ่นดินไหวระดับลึก [ธรณีวิทยา๑๔ ม.ค. ๒๕๔๖]
deep earthquake; deep-focus earthquakeแผ่นดินไหวระดับลึก [ธรณีวิทยา๑๔ ม.ค. ๒๕๔๖]
focus; seismic focusศูนย์เกิดแผ่นดินไหว [ธรณีวิทยา๑๔ ม.ค. ๒๕๔๖]
foreshockแผ่นดินไหวนำ [ธรณีวิทยา๑๔ ม.ค. ๒๕๔๖]
epicentum; epicenterจุดเหนือศูนย์เกิดแผ่นดินไหว [ธรณีวิทยา๑๔ ม.ค. ๒๕๔๖]
earthquakeแผ่นดินไหว [ธรณีวิทยา๑๔ ม.ค. ๒๕๔๖]
earthquake fire damageความเสียหายจากไฟเพราะแผ่นดินไหว [ประกันภัย ๒ มี.ค. ๒๕๔๕]
earthquake insuranceการประกันภัยแผ่นดินไหว [ประกันภัย ๒ มี.ค. ๒๕๔๕]
earthquake sea wave; seismic sea wave; seismic surgeคลื่นจากแผ่นดินไหว [ธรณีวิทยา๑๔ ม.ค. ๒๕๔๖]
earthquake shock damageความเสียหายจากการสั่นสะเทือนเพราะแผ่นดินไหว [ประกันภัย ๒ มี.ค. ๒๕๔๕]
earthquake zoneเขตแผ่นดินไหว [ประกันภัย ๒ มี.ค. ๒๕๔๕]
epicenter; epicentumจุดเหนือศูนย์เกิดแผ่นดินไหว [ธรณีวิทยา๑๔ ม.ค. ๒๕๔๖]

คลังศัพท์ไทย (สวทช.)
Earthquakeแผ่นดินไหว, Example: <p>แผ่นดินไหวเป็นปรากฏการณ์ทางธรรมชาติที่แผ่นดินเกิดการสั่นสะเทือน โดยเกิดขึ้นจากการเคลื่อนที่ของเปลือกโลกชั้นนอกซึ่งเคลื่อนที่ได้ตามกระแสความร้อนของหินละลายหลอมเหลวที่เป็นส่วนประกอบชั้นในของโลก เนื่องจากเปลือกโลกประกอบขึ้นด้วยแผ่นเปลือกโลกหลายแผ่น ดังนั้นเมื่อความร้อนจากภายในโลกดันตัวออกมาจะทำให้แผ่นเปลือกโลกบางแผ่นเกิดการเคลื่อนที่ จึงทำให้การเกิดแผ่นดินไหวบนพื้นผิวโลกเกิดเฉพาะบางแห่งไม่เกิดขึ้นโดยทั่วไป นอกจากแผ่นดินไหวจะเกิดขึ้นได้เองตามธรรมชาติดังที่ได้กล่าวมาแล้ว ยังสามารถเกิดขึ้นจากการกระทำของมนุษย์ เช่น การทดลองระเบิดนิวเคลียร์ การระเบิดเหมืองแร่ <p> <p>การวัดขนาดของแผ่นดินไหวนิยมวัดโดยใช้มาตราริกเตอร์ซึ่งมีค่าตั้งแต่ 0-9<br/> แผ่นดินไหวขนาดน้อยกว่า 3 ริกเตอร์ จัดเป็นแผ่นดินไหวขนาดเล็ก<br/> แผ่นดินไหวขนาด 3.5-5 ริกเตอร์ จัดเป็นแผ่นดินไหวขนาดกลาง ซึ่งสร้างความเสียหายไม่มาก<br/> แผ่นดินไหวขนาด 6-8 ริกเตอร์ จัดเป็นแผ่นดินไหวขั้นรุนแรงสร้างความเสียหายมากแก่ชีวิตผู้คน สิ่งปลูกสร้าง และทรัพย์สิน<br/> แผ่นดินไหวขนาด 9 ริกเตอร์ จัดเป็นแผ่นดินไหวที่รุนแรงมากที่สุดสร้างความเสียหายมากและเป็นบริเวณกว้าง หากเกิดขึ้นใต้พื้นท้องทะเล มักจะทำให้เกิดคลื่นขนาดใหญ่ที่เรียกว่า สึนามิ <p> <p>การตรวจวัดแผ่นดินไหวในประเทศไทย<br/> ประเทศไทยได้มีการติดตั้งเครื่องตรวจวัดแผ่นดินไหวครั้งแรกเมื่อ พ.ศ. 2506 ณ สถานีตรวจวัดจังหวัดเชียงใหม่ ปัจจุบันได้มีการกระจายการติดตั้งไปยังจังหวัดต่างๆ ทั่วประเทศ รวมทั้งมีการติดตั้งเพิ่มเติมในบางจุด เช่น การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทยนำไปติดตั้งบริเวณเขื่อนขนาดใหญ่ <p> <p>การป้องกันและการบรรเทาภัยจากแผ่นดินไหวโดยรัฐ<br/> 1. ออกกฎหมายควบคุมอาคารและสิ่งก่อสร้างให้มีความแข็งแรงพอที่จะต้านแรงแผ่นดินไหว<br/> 2. จัดให้หน่วยกู้ภัยมีอุปกรณ์และเครื่องมือที่พอเพียงกับการปฏิบัติงานและฝึกซ้อมบุคลากรให้พร้อมกับการกู้ภัย<br/> 3. จัดให้มีหน่วยงานรับผิดชอบที่สามารถควบคุมและประสานงานตามแผนปฏิบัติการได้อย่างมีประสิทธิภาพ<br/> 4. ทำการศึกษาวิจัยในเรื่องต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับแผ่นดินไหว<br/> 5. แบ่งเขตพื้นที่ของประเทศตามความเสี่ยงภัยต่อการเกิดแผ่นดินไหว<br/> 6. ให้ความสำคัญกับเหตุการณ์แทรกซ้อนที่จะเกิดขึ้นตามมา เช่น ไฟไหม้ น้ำท่วม ไฟฟ้าดับ โรคระบาด<br/> <br> <br>แหล่งข้อมูล<br> สุภาพ ภู่ประเสริฐ. (2550). แผ่นดินไหว. ในสารานุกรมไทยสำหรับเยาวชน โดยพระราชประสงค์ในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ฉบับเสริมการเรียนรู้. (เล่มที่ 9, หน้า 6-57). กรุงเทพฯ : โครงการสารานุกรมไทยสำหรับเยาวชน โดยพระราชประสงค์ในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว. [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]
Earthquake resistant designการออกแบบต้านทานแผ่นดินไหว [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]
Earthquake effectsผลกระทบของแผ่นดินไหว [TU Subject Heading]
Earthquake engineeringวิศวกรรมแผ่นดินไหว [TU Subject Heading]
Earthquake predictionพยากรณ์แผ่นดินไหว [TU Subject Heading]
Earthquake resistant designการออกแบบการต้านแรงแผ่นดินไหว [TU Subject Heading]
Earthquakesแผ่นดินไหว [TU Subject Heading]
Nicobar Islands Earthquake, 2004แผ่นดินไหวที่หมู่เกาะนิโคบาร์, ค.ศ. 2004 [TU Subject Heading]
Sumatra Earthquake, 2004แผ่นดินไหวที่เกาะสุมาตรา, ค.ศ. 2004 [TU Subject Heading]
earthquake periodearthquake period, ช่วงแผ่นดินไหว [เทคนิคด้านการชลประทานและการระบายน้ำ]
earthquake factorearthquake factor, ตัวคูณค่าแผ่นดินไหว [เทคนิคด้านการชลประทานและการระบายน้ำ]
earthquakeearthquake, แผ่นดินไหว [เทคนิคด้านการชลประทานและการระบายน้ำ]
epicenter; epicentrumepicenter; epicentrum, ศูนย์กลางแผ่นดินไหว [เทคนิคด้านการชลประทานและการระบายน้ำ]
earthquakeแผ่นดินไหว, การสั่นสะเทือนของแผ่นดิน ณ บริเวณใดบริเวณหนึ่งบนผิวโลก ส่วนใหญ่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงของเปลือกโลกที่เกิดขึ้นอย่างทันทีทันใด [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.]

Volubilis Dictionary (TH-EN-FR)
คลื่นแผ่นดินไหว[khleūn phaendinwai] (n, exp) EN: seismic wave  FR: onde sismique [ f ]
แผ่นดินไหว[phaendinwai] (n) EN: earthquake  FR: séisme [ m ] ; tremblement de terre [ m ]
แผ่นดินไหวรุนแรง[phaendinwai runraēng] (n, exp) FR: violent tremblement de terre [ m ] ; séisme de forte amplitude [ m ]
วิชาแผ่นดินไหว[wichā phaendinwai] (n, exp) EN: seismology  FR: séismologie [ f ]

Longdo Approved EN-TH
tsunami(n) คลื่นขนาดใหญ่และยาว (ระดับน้ำขึ้นสูง เป็นระยะทางยาวๆ ไม่ใช่ขึ้นแล้วลงเร็ว เหมือนคลื่นปกติ) ในทะเล ที่ไม่ได้เกิดขึ้นโดยปกติ แต่เกิดจากการแทนที่น้ำอย่างรุนแรง ทำให้มวลของน้ำเคลื่อนไหวด้วยความเร็วสูง ลักษณะคล้ายๆ กับการปาหินลงในน้ำ แล้วเกิดคลื่นแผ่กระจายออก, มีสาเหตุโดยมากจากแผ่นดินไหวนอกชายฝั่ง, มักเคลื่อนไปได้เป็นระยะทางไกลๆ (มากได้ถึงหลายพัน หรือเป็นหมื่นกิโลเมตร), เมื่อถึงฝั่ง อาจมีความสูงได้เป็นสิบเมตร และทำความเสียหายได้มาก, มาจากภาษาญี่ปุ่น 津波 [ つなみ, tsunami, สึนามิ ] <p> รายละเอียดเพิ่มเติม: <A href=https://dictx.longdo.com/http://www.navy.mi.th/dockyard/sara_tsinami.html>http://www.navy.mi.th/dockyard/sara_tsinami.html</A>, Syn. tidal wave
epicenter(n, name) จุดเหนือศูนย์แผ่นดินไหว
Richter scale(n, name) หน่วยวัดขนาดของแผ่นดินไหว จากพลังงานที่แผ่นดินไหวปล่อยออกมา เช่น แผ่นดินไหวขนาด (หรือแมกนิจูด) 6.1 ตามมาตราวัดริกเตอร์ หมายเหตุ: แผ่นดินไหวจะรุนแรงไม่รุนแรง ต้องดูขนาดควบคู่ไปกับความลึกของจุดศูนย์กลาง กล่าวคือ ถ้าขนาดใหญ่แต่ถ้าอยู่ลึกมากก็อาจจะไม่แรง แต่ถึงขนาดไม่ใหญ่มาก แต่จุดศูนย์กลางอยู่ตื้นก็อาจสร้างความเสียหายได้มาก, ส่วนสิ่งที่รับรู้ได้บนดินคือ ความสั่นสะเทือน (ความรุนแรง, intensity) ซึ่งแต่ละพื้นที่บนพื้นดินจะมีความสั่นสะเทือนแตกต่างกัน แล้วแต่ว่าอยู่ใกล้ไกล จุดเหนือศูนย์แผ่นดินไหว (epicenter) แค่ไหน <p> <b>เพิ่มเติม:</b>ความสั่นสะเทือน (intensity) ในภาษาญี่ปุ่นจะเรียก ชินโดะ (震度) และมีมาตรวัดของญี่ปุ่นเอง มีระดับตั้งแต่ 1 (เบา) ถึง 7 (รุนแรง) ถ้าพูดถึงขนาดจะใช้ว่า Magnitude

NECTEC Lexitron Dictionary EN-TH
aftershock(n) แผ่นดินไหวเล็กน้อยที่เกิดหลังจากแผ่นดินไหวรุนแรง
earthquake(n) แผ่นดินไหว, Syn. quake, seism, temblor
epicenter(n) พื้นดินเหนือศูนย์กลางการสั่นสะเทือนของแผ่นดินไหว, See also: พื้นดินเหนือจุดศูนย์กลางของแผ่นดินไหว, Syn. center
quake(n) แผ่นดินไหว, Syn. earthquake
Richter scale(n) หน่วยวัดความรุนแรงของแผ่นดินไหว
seism(n) แผ่นดินไหว, Syn. earthquake
seism-(prf) เกี่ยวกับแผ่นดินไหว
seismic(adj) เกี่ยวกับแผ่นดินไหว, See also: ซึ่งเกิดจากแผ่นดินไหว, ซึ่งเกิดจากการเคลื่อนตัวของเปลือกโลก, Syn. cataclysmic, volcanic
seismogram(n) การบันทึกของเครื่อง seismograph, See also: การบันทึกการเกิดแผ่นดินไหว, บันทึกจากเครื่องวัดแรงสั่นสะเทือนของแผ่นดินไหว
seismograph(n) เครื่องมือตรวจจับ วัด และบันทึกวัดแรงสั่นสะเทือนแผ่นดินไหว
seismographer(n) เครื่องมือตรวจจับ วัด และบันทึกวัดแรงสั่นสะเทือนแผ่นดินไหว
seismographic(adj) เกี่ยวกับแผ่นดินไหวและปรากฏการณ์ที่เกี่ยวข้อง
seismographical(adj) เกี่ยวกับแผ่นดินไหวและปรากฏการณ์ที่เกี่ยวข้อง
seismography(n) การวัดและบันทึกความสั่นสะเทือนที่เกิดแผ่นดินไหว
seismological(adj) เกี่ยวกับแผ่นดินไหวและปรากฏการณ์ที่เกี่ยวข้อง
seismology(n) การศึกษาเกี่ยวกับแผ่นดินไหวและปรากฏการณ์ที่เกี่ยวข้อง

Hope Dictionary
earthquake(เอิร์ธ'เควค) n. แผ่นดินไหว
quake(เควค) vi., n. (การ) สั่นเทา, สั่น, สั่นสะเทือน, ไหว, ยวบ, แผ่นดินไหว, See also: quakingly adv., Syn. shake
seism(ไซ'ซึม, -ซัม) n. แผ่นดินไหว
seismic(ไซซ'มิค) adj. เกี่ยวกับหรือเกิดจากแผ่นดินไหว, See also: seismically adv., Syn. seismal, seismical
seismograph(ไซซ'มะกราฟ) n. เครื่องมือวัดและบันทึกความสั่นสะเทือนที่เกิด จากแผ่นดินไหว., See also: seismographic adj. seismographical adj.
seismography(ไซซมอก'กระฟี) n. การวัดและบันทึกความสั่นสะเทือนที่เกิดจากแผ่นดินไหว, =seismology (ดู), See also: seismographer n.
seismology(ไซซมอล'โลจี) n. แผ่นดินไหววิทยา, See also: seismological adj. seismologist n.
tidal(ไท'เดิล) adj. เกี่ยวกับกระแสน้ำขึ้นหรือลง, ขึ้นอยู่กับกระแสน้ำขึ้นหรือลง, See also: tidally adv. -Phr. tidal wave คลื่นขนาดยักษ์ที่ท่วมริมฝั่ง เนื่องจากแผ่นดินไหวหรือพายุ, คลื่นกระแสน้ำ, คลื่นทะเล, คลื่นมหาสมุทร

Nontri Dictionary
cataclysm(n) น้ำท่วม, แผ่นดินไหว, มหาภัยพิบัติ, ความหายนะ, กลียุค
earthquake(n) แผ่นดินไหว

Longdo Unapproved EN-TH
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
seiesmology(n) วิทยาแผ่นดินไหว

Longdo Approved JP-TH
余震[よしん, yoshin] (n) แผ่นดินไหวขนาดเล็กกว่า ที่เกิดขึ้นตามมาหลังจากที่แผ่นดินไหวใหญ่, See also: S. aftershock
地震[じしん, jishin] (n) แผ่นดินไหว
避難訓練[ひなんくんれん, hinankunren] (n) การฝึกหลบภัย หรือหนีภัย ในญี่ปุ่นจะมีการฝึกทั้งหนีภัยแผ่นดินไหว ไฟไหม้ในโรงเรียน ในปัจจุบันมีภัยจากคนร้ายที่เข้าไปฆ่าเด็กนักเรียนชั้นประถม จึงทำให้มีการฝึกหนีภัยคนร้ายด้วย
震央[しんおう, shin'ou] (n) จุดศูนย์กลาง(ของแผ่นดินไหว), See also: 震央
震源[しんげん, shingen] (n) จุดกำเนิดของแผ่นดินไหว จุดที่เกิดการแตกหักของแผ่นดิน

Longdo Unapproved JP-TH
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
地震予知[じしんよち, jishinyochi] (n) การพยากรณ์การเกิดแผ่นดินไหว

Time: 0.8635 secondsLongdo Dict -- https://dict.longdo.com/