โรค | (n) disease, Syn. โรคภัย, ความเจ็บไข้, โรคภัยไข้เจ็บ, ความเจ็บป่วย |
โรค | (n) disease, See also: ailment, malady, affliction, disorder, sickness, illness, infirmity, Example: คนไข้นั่งรอหมอวินิจฉัยโรค, Count Unit: โรค, Thai Definition: ความเจ็บป่วย การบาดเจ็บ ความผิดปกติของร่างกายหรือจิตใจ และหมายความรวมถึงอาการที่เกิดจากภาวะดังกล่าวด้วย |
โรคหู | (n) ear problem, See also: ear infection, ear disease, Example: การแคะหูด้วยเครื่องมือสกปรก หรือแคะหูแรงเกินไป อาจทำให้เกิดโรคหูได้ |
กามโรค | (n) venereal disease, Syn. โรคผู้หญิง, โรคบุรุษ, Example: เพราะความเจ้าชู้สมปองจึงต้องทนทุกข์ทรมานด้วยกามโรค, Count Unit: โรค, Thai Definition: โรคซึ่งติดต่อกันได้โดยการสำส่อนทางประเวณี |
กาฬโรค | (n) bubonic plague, See also: oriental plague, Example: ปีที่แล้วชาวบ้านแถบนี้ตายเพราะกาฬโรคเป็นจำนวนมาก, Thai Definition: ชื่อโรคระบาดอย่างร้ายแรงชนิดหนึ่ง มักมีอาการบวมนูนที่รักแร้เป็นต้น |
ขี้โรค | (adj) sickly, See also: frail, weak, ailing, Example: ฉันมีเพื่อนขี้โรคหลายคน มักเจ็บออดๆ แอดๆ อยู่เสมอ, Thai Definition: ที่เจ็บป่วยเป็นโรคต่างๆ อยู่บ่อยๆ |
ติดโรค | (v) contact a disease, See also: contact a contagious disease, infect with a disease, communicate illness, Syn. ติดเชื้อ, Example: จากสถิติพบว่า เด็กหญิงติดโรคเอดส์มากกว่าชายถึง 3 เท่าเนื่องจากปัญหาค่านิยมโสเภณีเด็กหญิงเพิ่มมากขึ้น, Thai Definition: ได้รับเชื้อจากโรคหนึ่ง แล้วมีอาการอย่างโรคนั้น |
ถูกโรค | (v) get along well with, See also: be on friendly terms, have the same tastes, Syn. ถูกอัธยาศัย, ถูกคอ, ต้องกัน, Example: เขาไม่ถูกโรคกัน |
ถูกโรค | (v) be treated with a right remedy, Example: ยาตัวใหม่ถูกโรคของคนไข้อาจจะช่วยให้คนไข้อาการดีขึ้น, Thai Definition: กินยาแล้วสามารถบำบัดโรคได้ |
วัณโรค | (n) tuberculosis, See also: T.B., Syn. ฝีในท้อง, Example: เขาป่วยเป็นวัณโรค แต่เขาตายด้วยโรคแทรกซ้อน, Thai Definition: โรคชนิดหนึ่งเกิดที่ปอดเป็นต้น ทำให้ร่างกายทรุดโทรมเสื่อมไปตามลำดับ |
โรคจิต | (n) psychosis, Syn. โรคทางจิต |
โรคจิต | (n) mental disorder, See also: psychosis, Syn. วิกลจริต, Example: คนบางคนมีอาการไม่สบายใจมากจนคนแวดล้อมคิดว่าเป็นโรคจิต, Thai Definition: โรคทางจิตใจที่มีความผิดปกติของความรู้สึก ความคิด อารมณ์ หรือพฤติกรรมอย่างแรงถึงขนาดคุมสติไม่อยู่ |
โรคตับ | (n) liver disease, See also: cirrhosis, hepatitis |
ตรวจโรค | (v) diagnose, See also: examine, have a medical examination, Example: บริษัทสั่งให้พนักงานใหม่ไปตรวจโรคทุกคนก่อนเข้าทำงาน |
โรคสมอง | (n) cerebropathy, Thai Definition: โรคที่ก่อให้เกิดความผิดปกติใดๆ แก่สมอง, Notes: (อังกฤษ) |
โรคหวัด | (n) common cold, See also: cold, Syn. โรคไข้หวัด, หวัด, Example: ฤดูหนาวอากาศเย็นลง เวลานอนเราต้องใส่เสื้อผ้าหนาๆ เพื่อป้องกันโรคหวัด และโรคปอดบวม, Thai Definition: อาการที่เยื่อของอวัยวะที่เป็นเครื่องหายใจอักเสบ มักทำให้เสียงแห้งและน้ำมูกไหล |
โรคแทรก | (n) complication, See also: incurrent disease, Syn. โรคแทรกซ้อน, Example: ผู้ป่วยโรคเบาหวานอาจมีโรคแทรกทางตาเกิดขึ้นได้ ดังนั้นแม้ยังไม่มีอาการของสายตา ก็ควรให้จักษุแพทย์ตรวจอย่างน้อยปีละครั้ง |
รักษาโรค | (v) cure, See also: heal, remedy, Example: คอมพิวเตอร์เป็นเพียงผู้ช่วยของแพทย์ที่จะวินิจฉัยโรคและรักษาโรคเท่านั้น, Thai Definition: ทำให้หายจากโรคภัยไข้เจ็บ |
โรคตาแดง | (n) conjunctivitis, See also: eye inflection, Example: โรคต้อหินชนิดเฉียบพลันเป็นโรคร้ายแรงที่ทำให้ตาบอดมากกว่าโรคตาแดง, Thai Definition: โรคเยื่อหุ้มลูกตาอักเสบ |
โรคระบาด | (n) epidemic, Example: ภัยจากธรรมชาติและโรคระบาดมีผลอย่างมากแก่บุคคลที่ทำงานด้านเกษตรกรรม, Thai Definition: โรคติดต่อที่แพร่กระจายโดยรวดเร็ว |
โรคศิลปะ | (n) therapeutic, Example: รัชกาลที่ 6 สั่งให้ยกเลิกวิชาการแพทย์แผนไทย แล้วประกาศให้ใช้กฎหมายการแพทย์ เพื่อเป็นการควบคุมการประกอบโรคศิลปะ, Thai Definition: การปฏิบัติเพื่อรักษาโรค |
โรคหัวใจ | (n) heart disease, Example: ผู้ป่วยที่ถูกกระแสไฟฟ้าดูด ถูกรัดคอ โรคหัวใจกำเริบ อาจทำให้หัวใจหยุดเต้นได้ |
โรคเลือด | (n) blood disease, See also: blood disorder |
โกโรโกโรค | (adj) sickly, See also: diseased, emaciated, weedy, thin and feeble, lean and weak, Syn. ขี้โรค, ผอมแห้ง |
โรคจิตเภท | (n) schizophrenia, Example: โรคจิตเภทเกิดขึ้นได้กับบุคคลทุกเพศ ทุกระดับการศึกษา อาชีพ และฐานะเศรษฐกิจ, Thai Definition: กลุ่มอาการของโรคทางจิตที่ทำให้ความคิด การรับรู้ อารมณ์และบุคลิกภาพผิดปกติ, Notes: (อังกฤษ) |
โรคติดต่อ | (n) contagious disease, See also: infective disease, communicable disease, Example: ไอกรนเป็นโรคติดต่อที่สำคัญอันหนึ่งของระบบทางเดินหายใจ โดยเกิดจากเชื้อบัคเตรี |
โรคทางกาย | (n) physical ailment, Example: ปัจจุบันมีผู้ป่วยเป็นโรคประสาท โรคระบบประสาท และโรคทางกายที่มีสาเหตุมาจากโรคจิตเพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆ |
โรคทางจิต | (n) psychopathy, See also: mental disorder, Example: ปัจจุบันได้มีการค้นคว้าวิจัยโรคทางจิตตามวิธีทางวิทยาศาสตร์ โดยมีการค้นหาสาเหตุอาการ การรักษา และการป้องกัน |
โรคประสาท | (n) neurosis, Example: เขากลัวแม่ของเขาจะเป็นโรคประสาท เพราะคิดมากเรื่องพ่อ, Thai Definition: โรคที่มีความผิดปกติของจิตใจ โดยที่ไม่พบมีความผิดปกติของเนื้อสมองหรือเส้นประสาท คนไข้อาจมีอาการแสดงออกเป็นความกังวล เช่น กลุ้มใจ หงุดหงิด |
โรคประสาท | (n) nervous |
โรคมะเร็ง | (n) cancer, See also: carcinoma, Example: คนอเมริกันจำนวนมากเสียชีวิตลงด้วยโรคมะเร็งและโรคหัวใจ |
โรคาพยาธิ | (n) illness, See also: malady, Syn. ความเจ็บไข้, ความเจ็บป่วย, Example: หลวงพ่อมีอายุมากแล้ว และมีโรคาพยาธิมาเบียดเบียนสังขาร กิจนิมนต์นอกวัดจึงได้งดไปโดยปริยาย |
โรคเรื้อน | (n) leprosy, Syn. Hansen's disease, Ant. เรื้อน, Notes: โรคผิวหนังซึ่งติดต่อได้ ทำให้ผิวหนังเป็นผื่น |
อหิวาตกโรค | (n) cholera, Syn. อหิวาต์, Example: อหิวาตกโรคกำลังระบาดไปทั่วประเทศ, Thai Definition: ชื่อโรคระบาดชนิดหนึ่ง มีอาการลงราก, Notes: (บาลี) |
โรคกระเพาะ | (n) gastritis, Example: โรคกระเพาะมีสาเหตุหนึ่งมาจากความเครียด ความวิตกกังวลทางจิตใจ |
โรคกลัวน้ำ | (n) rabies, See also: hydrophobia, Syn. โรคพิษสุนัขบ้า, Example: เขาจับสุนัขที่บ้านฉีดยากันโรคกลัวน้ำทุกตัว, Count Unit: โรค |
โรคผิวหนัง | (n) skin disease, See also: dermatitis, Example: ธาตุสังกะสีใช้รักษาโรคผิวหนังบางอย่าง และอาจใช้รักษาสิวได้ |
โรคผู้หญิง | (n) venereal disease, Example: พวกหนุ่มๆ ที่เป็นโรคผู้หญิงชอบไปรักษากับหมอในเมืองมากกว่า, Thai Definition: โรคซึ่งติดต่อกันได้โดยการร่วมประเวณี |
โรคเบาหวาน | (n) diabetes, Syn. เบาหวาน, Example: คนที่มีความเสี่ยงต่อโรคเบาหวาน คือ มีประวัติในครอบครัวมีความดันโลหิตสูง และขาดการออกกำลังกาย, Thai Definition: ชื่อโรคชนิดหนึ่งมีระดับน้ำตาลในเลือดสูงกว่าปกติ |
โรคเหน็บชา | (n) beriberi, Example: สาเหตุหนึ่งที่ทำให้เกิดโรคเหน็บชา คือ การขาดวิตามินบี เนื่องจากการรับประทานข้าวที่ขัดจนหมดรำ |
โรคไข้หวัด | (n) common cold, See also: cold, Example: นักเขียนนวนิยาย เอมิลี่ บรองเต้ ถึงแก่กรรมด้วยโรคไข้หวัดลงปอด |
วินิจฉัยโรค | (v) diagnose, Example: การแพทย์ในปัจจุบันนี้ใช้คอมพิวเตอร์วินิจฉัยโรค, Thai Definition: พิจารณารักษาโรค, วิเคราะห์โรค |
เชื้อกามโรค | (n) venereal disease, See also: sexually transmitted disease, Example: การมีเพศสัมพันธ์ไม่เลือกที่อาจนำมาซึ่งการติดเชื้อกามโรค |
โรคขาดอาหาร | (n) undernourishment, Example: ในสังคมไทยยังคงมีเด็กก่อนวัยเรียนเป็นโรคขาดอาหารระดับร้ายแรงอยู่ถึงราว 230, 000 คน |
โรคติดเชื้อ | (n) inflections disease, Example: คนชราภูมิต้านทานเสื่อมถอยลงทำให้เป็นโรคติดเชื้อได้ง่าย |
โรคท้องร่วง | (n) diarrhea, Example: สถิติของผู้ป่วยด้วยโรคไข้จับสั่น วัณโรคปอด และโรคท้องร่วงลดลงทุกปี |
โรคประจำตัว | (n) congenital disease, Thai Definition: โรคที่มีติดตัวอยู่เป็นประจำ รักษาไม่หายขาด |
โรคปริทันต์ | (n) periodontitis |
โรคเรื้อรัง | (n) chronic disease, Example: โรคภัยไข้เจ็บมีส่วนผลักดันให้คนฆ่าตัวตาย โดยเฉพาะคนที่เป็นโรคเรื้อรังจะไม่อยากอยู่เป็นภาระแก่ใคร, Thai Definition: โรคที่เป็นนาน |
โรคแทรกซ้อน | (n) incurrent disease, See also: complication, Syn. โรคแทรก, Example: สมุนไพรหลายอย่างสามารถเยียวยาโรคแทรกซ้อนจากโรคเอดส์ได้ |
กามโรค | น. โรคซึ่งติดต่อกันได้โดยการประกอบกามกิจหรือติดต่อกันโดยใช้สิ่งของร่วมกับคนเป็นกามโรคเป็นต้น, เรียกเป็นสามัญว่า โรคบุรุษ หรือ โรคผู้หญิง. |
การประกอบโรคศิลปะ | น. การประกอบวิชาชีพที่กระทำหรือมุ่งหมายจะกระทำต่อมนุษย์เกี่ยวกับการตรวจโรค การวินิจฉัยโรค การบำบัดโรค การป้องกันโรค การส่งเสริมและการฟื้นฟูสุขภาพ การผดุงครรภ์ แต่ไม่รวมถึงการประกอบวิชาชีพทางการแพทย์และสาธารณสุขอื่นตามกฎหมายว่าด้วยการนั้น ๆ. |
กาฬโรค | (กานละ-, กาละ-) น. ชื่อโรคระบาดอย่างร้ายแรงชนิดหนึ่ง มักมีอาการบวมนูนที่รักแร้เป็นต้น. |
เขตติดโรค | น. ท้องที่หนึ่งท้องที่ใด ในหรือนอกราชอาณาจักรที่มีโรคติดต่อเกิดขึ้น ตามที่รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุขหรือผู้ว่าราชการจังหวัดประกาศกำหนด. |
โคโรค | น. ปรวดเป็นก้อนอยู่ในหนังโค ใช้เป็นเครื่องยา. |
เชื้อโรค | น. สิ่งที่มีชีวิต เมื่อเข้าสู่ร่างกายมนุษย์หรือสัตว์แล้ว ทำให้เกิดโรคได้. |
นิรโรค | ว. ไม่มีโรค. |
บัณฑุโรค | น. โรคผอมเหลือง. |
บานทะโรค | น. โรคริดสีดวงทวารชนิดหนึ่ง ที่ปลายลำไส้ใหญ่บานออกมาข้างนอก. |
ไม่ถูกโรคกัน | ก. เข้ากันไม่ได้, ไม่ถูกนิสัยกัน. |
โรค, โรค- | (โรก, โรคะ-) น. ภาวะที่ร่างกายทำงานได้ไม่เป็นปรกติเนื่องจากเชื้อโรคเป็นต้น. |
โรคจิต | น. โรคทางจิตใจที่มีความผิดปรกติของความรู้สึก ความคิด อารมณ์ หรือพฤติกรรมอย่างแรงถึงขนาดคุมสติไม่อยู่ เช่น มีอาการหลงผิด ประสาทหลอน, วิกลจริต ก็เรียก. |
โรคจิตเภท | น. กลุ่มอาการของโรคทางจิตที่ทำให้ความคิด การรับรู้ อารมณ์ และบุคลิกภาพผิดปรกติ. |
โรคนิทาน | (โรคะ–) น. คัมภีร์แพทย์โบราณว่าด้วยสมุฏฐานแห่งโรค. |
โรคประจำตัว | น. โรคที่มีติดตัวอยู่เป็นประจำ รักษาไม่หายขาด. |
โรคประสาท | น. โรคทางจิตใจที่มีความกังวลเป็นอาการสำคัญ คนไข้อาจมีอาการแสดงออกเป็นความกังวล เช่น กลุ้มใจ หงุดหงิด หรืออาจแสดงออกเป็นอาการทางกาย เช่น ใจสั่น เหงื่อออก เป็นลม กลัวที่สูง. |
โรคระบบประสาท | น. โรคของสมองและไขสันหลัง มิได้เกี่ยวข้องกับจิตใจ เช่น เนื้องอกในสมอง เส้นเลือดในสมองตีบตันหรือแตก โรคเหล่านี้ก่อให้เกิดภาวะวิกลจริตได้ในบางครั้งบางคราว. |
โรคศิลปะ | (โรกสินละปะ) น. การปฏิบัติเพื่อรักษาโรค. |
โรคสมอง | น. โรคที่ก่อให้เกิดความผิดปรกติใด ๆ แก่สมอง. |
โรคสะเก็ดเงิน | ดู เรื้อนกวาง. |
โรคันดรกัป | น. ระยะเวลาที่เกิดโรคร้ายครั้งใหญ่ เกิดขึ้นเมื่อมนุษย์มีโมหะหนา (ดู อันตรกัป ประกอบ). |
โรคา | น. โรค. |
โรคาพยาธิ | (โรคาพะยาทิ) น. ความเจ็บไข้. |
โรคาพาธ | น. ความเจ็บไข้. |
โรคันดรกัป | ดู โรค, โรค-. |
โรคา | ดู โรค, โรค-. |
โรคาพยาธิ | ดู โรค, โรค-. |
โรคาพาธ | ดู โรค, โรค-. |
วัณโรค | น. โรคชนิดหนึ่งเกิดที่ปอดเป็นต้น ทำให้ร่างกายทรุดโทรมเสื่อมไปตามลำดับ, โบราณเรียกวัณโรคปอด ว่า ฝีในท้อง. |
วิโรค | ว. ไม่เจ็บไข้, ปราศจากโรค. |
สัญจรโรค | น. กามโรค. |
สัญจรโรค | ว. เรียกหญิงโสเภณี ว่า หญิงสัญจรโรค. |
อมโรค | ว. ขี้โรค. |
อหิวาต์, อหิวาตกโรค | (อะหิวาตะกะ-) น. ชื่อโรคระบาดชนิดหนึ่ง มีอาการลงราก. |
กดจุด | ก. ใช้นิ้วกดตามตำแหน่งหรือจุดต่าง ๆ บนร่างกายเพื่อบำบัดโรคหรือเพื่อผ่อนคลายเป็นต้น. |
ก้นปล่อง | น. ชื่อยุงในสกุล Anopheles วงศ์ Culicidae ที่พบทั่วไป เช่น ชนิด A. dirus Peyton & Harrison, A. minimusTheobald, A. maculatus Theobald ยุงเหล่านี้เวลาเกาะหรือดูดเลือดคนหรือสัตว์ หัวจะปักลง ก้นชี้ขึ้น ผนังด้านล่างของส่วนท้องไม่มีเกล็ด ทั้งเพศผู้และเพศเมียมีรยางค์ปากยื่นยาวออกมา ๑ คู่ ทำให้เหมือนกับมีปากเป็นสามแฉก เพศเมียดูดเลือดและบางชนิดเป็นพาหะในการนำโรคมาสู่คนและสัตว์ เช่น ไข้มาลาเรีย เพศผู้กินนํ้าหรือนํ้าหวานจากเกสรดอกไม้. |
กรรมพันธุ์ | (กำมะพัน) น. ลักษณะ นิสัย ตลอดจนโรคหรือความวิกลวิการบางอย่างที่ลูกหลานสืบมาจากบรรพบุรุษ ปู่ย่าตายาย หรือพ่อแม่, พันธุกรรม ก็ว่า |
กระจก ๑ | โรคต้อชนิดหนึ่ง เรียกว่า ต้อกระจก. |
กระบองราหู | น. ชื่อโรคซางชนิดหนึ่ง เกิดแก่ทารกแรกเกิดจนถึงอายุ ๑๒ เดือน, ตะบองราหู ละบองราหู หรือ ลำบองราหู ก็เรียก. |
กระเบา ๑ | น. ชื่อไม้ต้นขนาดย่อมถึงขนาดใหญ่หลายชนิดในสกุล Hydnocarpus วงศ์ Flacourtiaceae เช่น กระเบาใหญ่หรือกระเบานํ้า ( H. anthelminthicaPierre ex Laness.) เป็นไม้ต้นขนาดใหญ่ ผลกลม เปลือกแข็ง มีขนสีนํ้าตาล ขนาดเท่าผลส้มโอขนาดย่อม เนื้อในเป็นแป้งสีเหลืองอ่อน ๆ กินได้ เมล็ดมีนํ้ามัน เคยใช้เป็นยาแก้โรคเรื้อน ต้นที่มีแต่ดอกเพศผู้ เรียกว่า แก้วกาหลง, กระเบากลักหรือกระเบียน ( H. ilicifolia King) เป็นไม้ต้นขนาดกลาง ผลกลม เปลือกแข็ง มีขนสีดำ ขนาดเท่าผลส้มเกลี้ยง. |
กระแพ้ง | น. ไม้ไผ่ที่ปล้องข้างในเป็นโรค มีสีดำ ๆ กลิ่นเหม็น, กำแพ้ง ก็ว่า. |
กระษัย | (-ไส) น. ชื่อโรคตามตำราแพทย์แผนโบราณว่า ทำให้ร่างกายทรุดโทรม มีอาการผอมแห้งตัวเหลืองเท้าเย็น, เขียนเป็น กษัย ก็มี. |
กระษัยกล่อน | (-ไสกฺล่อน) น. ชื่อโรคตามตำราแพทย์แผนโบราณว่า ทำให้ร่างกายผอมแห้ง ซึ่งเกิดจากโรคกร่อน, เขียนเป็น กษัยกล่อน ก็มี. |
กระสบ | น. ชื่อโรคลมชนิดหนึ่ง ในตำราแพทย์แผนโบราณว่า มักขึ้นในไส้ ให้เวียนหัว ให้ราก จุก สมุฏฐานเกิดจากธาตุไฟหย่อน. |
กระอ้า | น. โรคพืชชนิดหนึ่งเกิดแก่ใบยาสูบ ทำให้ใบเฉา เหี่ยวแห้งหรือตายนึ่ง. |
กรามช้าง ๑ | น. ชื่อโรคมะเร็งชนิดหนึ่ง ตามตำราแพทย์แผนโบราณว่าขึ้นที่แถวกราม มีอาการเป็นเนื้อร้ายงอกขึ้นที่ต่อมแถวก้านคาง ทำให้ขากรรไกรพองโตใหญ่ออกมา เรียกว่า มะเร็งกรามช้าง. |
กราย ๒ | (กฺราย) น. โรคซางจรชนิดหนึ่ง มีอาการตัวร้อน ลงราก กระหายนํ้า. |
กรูด ๓ | (กฺรูด) น. โรคหูด. |
กล่อน | (กฺล่อน) น. ชื่อโรคชนิดหนึ่ง ตามตำราแพทย์แผนโบราณว่าเกิดจากของเหลวเข้าไปขังอยู่ในถุงอัณฑะ, ถ้าของเหลวนั้นเป็นนํ้า เรียกว่า กล่อนนํ้า, ถ้าเป็นเลือด เรียกว่า กล่อนเลือด, ถ้าเป็นหนอง เรียกว่า กล่อนหนอง. |
กลัวน้ำ | น. โรคพิษสุนัขบ้า เรียกว่า โรคกลัวนํ้า. (ดู พิษสุนัขบ้า ที่ พิษ, พิษ-) |
pseudomembranous candidiasis | โรคราแคนดิดาชนิดเยื่อเทียม [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
parasite, pathogenic | ปรสิตก่อโรค [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
prodrome; prodromata | อาการบอกเหตุ, อาการบอกเหตุโรค, อาการบอกล่วงหน้าโรค [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
prodromic; premonitory; prodromal; prodromous | -บอกเหตุ, -บอกเหตุโรค, -บอกล่วงหน้าโรค [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
prodromous; premonitory; prodromal; prodromic | -บอกเหตุ, -บอกเหตุโรค, -บอกล่วงหน้าโรค [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
paradentitis; periodontitis | โรคปริทันต์อักเสบ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
pseudogonorrhea; pseudogonorrhoea; urethritis, nongonococcal; urethritis, nonspecific | โรคหนองในเทียม [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
pseudogonorrhoea; pseudogonorrhea; urethritis, nongonococcal; urethritis, nonspecific | โรคหนองในเทียม [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
panacea; panchrest | ยาแก้สรรพโรค [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
pyromania | โรคชอบจุดไฟ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
pediatric; paediatric | -โรคเด็ก [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
phagophobia | โรคกลัวการกิน, อาการกลัวการกิน [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
peritoneopathy | โรคเยื่อบุช่องท้อง [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
pathomimesis; malingering; pathomimia; pathomimicry | การแสร้งป่วย, การเลียน(อาการ)โรค [ มีความหมายเหมือนกับ simulation ๑ ] [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
pathomimia; malingering; pathomimesis; pathomimicry | การแสร้งป่วย, การเลียน(อาการ)โรค [ มีความหมายเหมือนกับ simulation ๑ ] [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
pathomimicry; malingering; pathomimesis; pathomimia | การแสร้งป่วย, การเลียน(อาการ)โรค [ มีความหมายเหมือนกับ simulation ๑ ] [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
pulmonary tuberculosis; pneumonophthisis | วัณโรคปอด [ มีความหมายเหมือนกับ phthisis ๒ ] [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
procatarctic; predisposing | -โน้มเอียงเกิดโรค [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
polyp, nasal | ๑. ติ่งเนื้อเมือกจมูก๒. โรคริดสีดวงจมูก [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
polypathia | การเป็นโรคระคน [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
pneumonokoniosis; pneumoconiosis; pneumokoniosis; pneumonoconiosis | ๑. ภาวะฝุ่นจับปอด๒. โรคฝุ่นจับปอด [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
pneumonopathy; pneumonosis | โรคปอด [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
pneumonophthisis; tuberculosis, pulmonary | วัณโรคปอด [ มีความหมายเหมือนกับ phthisis ๒ ] [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
pneumonosis; pneumonopathy | โรคปอด [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
pharyngopathy | โรคคอหอย [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
ptilosis | ๑. ภาวะขนตาร่วง๒. โรคฝุ่นขนนกกระจอกเทศจับปอด [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
perfrigeration; frostbite; pagoplexia | โรคความเย็นกัด [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
pediculosis | โรคแมลงปรสิต (เหา, เล็น, ไร, โลน) [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
pediculosis capillitii; pediculosis capitis | โรคเหา [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
pediculosis capitis; pediculosis capillitii | โรคเหา [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
pediculosis corporis; pediculosis vestimenti; pediculosis vestimentorum | โรคไร [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
pediculosis inguinalis; pediculosis pubis | โรคโลน [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
pediculosis pubis; pediculosis inguinalis | โรคโลน [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
pediculosis vestimenti; pediculosis corporis; pediculosis vestimentorum | โรคไร [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
pediculosis vestimentorum; pediculosis corporis; pediculosis vestimenti | โรคไร [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
polioencephalitis | ๑. โรคเนื้อเทาสมองอักเสบ๒. โรคโปลิโอสมอง [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
periodontal disease | โรคปริทันต์ [ทันตแพทยศาสตร์๑๓ มี.ค. ๒๕๔๕] |
prophylaxis, drug | การป้องกันโรคด้วยยา [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
prophylaxis, individual | การป้องกันโรคเฉพาะบุคคล [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
prophylaxis, oral | การป้องกันโรคในปาก [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
prophylaxis, oral | มาตรการป้องกันโรคในปาก [ทันตแพทยศาสตร์๑๓ มี.ค. ๒๕๔๕] |
prophylaxis, serum | การป้องกันโรคด้วยเซรุ่ม [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
pellagrosis | โรคผิวหนังเพลแลกรา [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
pertussis; cough, whooping | โรคไอกรน [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
parapneumonia | โรคเสมือนปอดอักเสบ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
paranoia | โรคจิตหวาดระแวง [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
paranoid disorder | โรคหวาดระแวง [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
phthisiophobia | อาการกลัววัณโรค [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
phthisis | ๑. วัณโรค [ มีความหมายเหมือนกับ consumption ๑ และ tuberculosis ]๒. วัณโรคปอด [ มีความหมายเหมือนกับ pneumonophthisis; tuberculosis, pulmonary ]๓. โรคผอมแห้ง [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
phylaxis | ภูมิต้านโรค [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
Bibliophobia | โรคกลัวหนังสือ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Tropical medicine | โรคเขตร้อน [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Communicable diseases | โรคติดเชื้อ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Severe acute respiratory syndrome | โรคทางเดินหายใจเฉียบพลันรุนแรง [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Acquired immunodeficiency syndrome | โรคเอดส์หรือกลุ่มอาการภูมิคุ้มกันเสื่อม, Example: <p>โรคเอดส์เป็นโรคที่เกิดจากการติดเชื้อไวรัสที่มีชื่อว่า human immunodeficiency virus หรือเรียกย่อๆ ว่า HIV (เอชไอวี) โดยเชื้อไวรัสจะเข้าไปทำลายเม็ดเลือดขาวซึ่งมีความสำคัญในการสร้างภูมิคุ้มกันโรคให้แก่ร่างกาย ทำให้ผู้ป่วยมีภูมิคุ้มกันต่ำลง จึงทำให้ร่างกายติดเชื้อโรคฉวยโอกาสได้ง่าย เช่น เป็นโรคที่เกิดจากการติดเชื้อแบคทีเรีย เชื้อรา และโรคต่างๆ เหล่านี้เป็นสาเหตุให้ผู้ป่วยเสียชีวิตในที่สุด <p> <p>เชื้อเอชไอวีติดต่อได้หลายวิธีดังนี้<br/> - การมีเพศสัมพันธ์กับผู้ติดเชื้อ ทั้งในรักร่วมเพศและรักต่างเพศ<br/> - การใช้เข็มฉีดยาร่วมกับผู้ติดเชื้อ โดยเฉพาะในผู้ติดยาเสพติดชนิดฉีดเข้าเส้นที่มักใช้เข็มฉีดยาร่วมกัน<br/> - การรับเลือดและองค์ประกอบของเลือด การปลูกถ่ายอวัยวะ การผสมเทียม<br/> - ทารกติดเชื้อจากมารดา โดยทารกอาจได้รับเชื้อแพร่มาตามเลือดสายสะดือ หรือติดเชื้อขณะคลอดจากเลือดและเมือกในช่องคลอด หรือติดเชื้อในระยะเลี้ยงดูโดยได้รับเชื้อจากน้ำนม <p> <p>อาการของโรค<br/> ภายหลังได้รับเชื้อในระยะแรกผู้ติดเชื้อบางรายมีอาการไข้และมีต่อมน้ำเหลืองโตตามซอกคอและซอกรักแร้ อาการเหล่านี้จะเป็นอยู่ไม่นานและหายไปได้เอง เมื่อการติดเชื้อดำเนินต่อไปอีกหลายปี ผู้ป่วยจะมีภูมิคุ้มกันเสื่อมลง ต่อมน้ำเหลืองโตทั่วร่างกาย ต่อมาเริ่มมีอาการ เช่น ไข้เรื้อรัง ท้องร่วงเรื้อรัง มีฝ้าขาวในปาก เมื่อถึงระยะเป็นโรคเอดส์เต็มขั้น ผู้ป่วยจะมีการติดเชื้อฉวยโอกาสและจะเป็นมะเร็งชนิดที่ไม่ค่อยพบในคนทั่วไป นอกจากนี้ผู้ป่วยยังมีอาการทางระบบประสาท เช่น เฉื่อยชา ความจำเสื่อม ผู้ป่วยจะมีน้ำหนักลดลงอย่างรวดเร็ว <p> <p>ระยะตั้งแต่เชื้อเอชไอวีเข้าสู่ร่างกายจนถึงระยะแสดงอาการโรคเอดส์เต็มขั้นจะกินเวลานานหลายปี ในระหว่างนี้ถ้าต้องการจะทราบว่าติดเชื้อเอชไอวีหรือไม่สามารถทำได้โดยการตรวจเลือด <p> <p>การรักษา<br/> 1. การดูแลผู้ป่วยโดยทั่วไป เช่น การให้อาหารที่เพียงพอ<br/> 2. การรักษาตามอาการ<br/> 3. การรักษาโรคติดเชื้อฉวยโอกาส<br/> 4. การให้ยาต้านเชื้อเอชไอวีเพื่อยับยั้งการเพิ่มจำนวนของไวรัส<br/> 5. การให้ยากระตุ้นการทำงานของระบบภูมิคุ้มกัน <br> <br>แหล่งข้อมูล<br> ประเสริฐ ทองเจริญ จันทพงษ์ วะสี และรวงผึ้ง สุทเธนทร์. (2539). กลุ่มอาการภูมิคุ้มกันเสื่อมหรือโรคเอดส์. ในสารานุกรมไทยสำหรับเยาวชน โดยพระราชประสงค์ในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว. (เล่มที่ 20, หน้า 242-269). กรุงเทพฯ : โครงการสารานุกรมไทยสำหรับเยาวชน โดยพระราชประสงค์ในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว. [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Diagnosis | การวินิจฉัยโรค [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Osteoporosis | โรคกระดูกพรุน [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Dengue fever | โรคไข้เลือดออก [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Medical screening | การตรวจคัดโรค [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Rheumatoid arthritis | โรคข้ออักเสบรูมาทอยด์, Example: <p>โรคข้ออักเสบรูมาทอยด์ (rheumatoid arthritis) เป็นโรคที่ทำให้เกิดการอักเสบทั่วร่างกาย เกิดจากความผิดปกติของระบบภูมิคุ้มกัน ทำให้ข้อ เยื่อบุข้อ และเส้นเอ็นรอบๆ ข้อของผู้ป่วยเกิดอาการอักเสบ เจ็บปวด จนเคลื่อนไหวลำบาก และอาจถึงขั้นพิการได้ และยังพบความผิดปกตินอกข้อที่เป็นได้กับอวัยวะต่างๆ ทั่วร่างกาย เช่น การอักเสบของเยื่อหุ้มปอด เยื่อหุ้มหัวใจ <p> <p>สาเหตุ<br/> ถึงแม้สาเหตุที่แท้จริงที่ทำให้เกิดโรคยังไม่ทราบแต่เชื่อว่าเกิดจากหลายสาเหตุประกอบกัน ได้แก่ พันธุกรรม ฮอร์โมน สิ่งแวดล้อม และเชื้อโรค<br/> - พันธุกรรม เช่น เด็กที่เกิดจากพ่อแม่ที่ป่วยเป็นโรคจะมีโอกาสป่วยเป็นโรคได้สูงกว่าคนทั่วไปประมาณ 16 เท่า<br/> - ฮอร์โมน เช่น เพศหญิงมีโอกาสป่วยเป็นโรคได้มากกว่าเพศชายหลายเท่า<br/> - สิ่งแวดล้อม เช่น อากาศและความเป็นอยู่ในเมืองอาจส่งผลต่อการเกิดและความรุนแรงของโรค<br/> - เชื้อโรค เช่น เชื้อไวรัสที่ทำให้เกิดโรค เช่น ไวรัสเอ็ปสไตน์-บารร์ (Epstein-Barr virus : EBV) ไวรัสเริม (herpes virus) เชื้อแบคทีเรียที่ทำให้เกิดโรค เช่น เชื้อไมโคแบคทีเรีย (mycobacteria)<br/> <p> <p>อาการ<br/> ข้อต่างๆ ของผู้ป่วยจะมีอาการอักเสบ บวมแดง และฝืดแข็ง ซึ่งอาจรุนแรงจนทำให้เกิดข้อพิการในเวลาต่อมา เช่น ข้อนิ้วมืองอพับผิดรูป ข้อเท้าบวมมีนิ้วเท้ากระดกขึ้น นอกจากเกิดอาการอักเสบกับข้อต่างๆ รวมถึงมีอาการตัวร้อน น้ำหนักตัวลด และกล้ามเนื้อลีบ ยังอาจมีอาการอักเสบเกิดขึ้นนอกข้อกับอวัยวะต่างๆ เช่น มีปุ่มรูมาทอยด์ซึ่งเป็นปุ่มก้อนตามผิวหนังตรงตำแหน่งกดทับต่างๆ หลอดเลือดอักเสบ เยื่อหุ้มปอดอักเสบ เยื่อหุ้มหัวใจอักเสบ ภาวะโลหิตจาง <p> <p>การวินิจฉัย<br/> อาศัยการตรวจร่างกายหาอาการอักเสบของข้อต่างๆ รวมถึงปุ่มรูมาทอยด์ สารรูมาทอยด์แฟกเตอร์ในเลือด การเอกซเรย์เพื่อติดตามการเปลี่ยนแปลงของกระดูก ประวัติของญาติ <p> <p>การรักษา<br/> ขั้นตอนในการรักษา<br/> 1. การวินิจฉัยโรคเร็ว<br/> 2. การประเมินระดับความรุนแรงของโรค<br/> 3. การประเมินว่ามีองค์ประกอบของการพยากรณ์โรคดีหรือไม่ดี<br/> 4. การรักษาที่เหมาะสมกับผู้ป่วย สามารถจำแนกการรักษาได้เป็น 2 รูปแบบ คือ<br/> - การรักษาที่ไม่ใช้ยา การให้ความรู้แก่ผู้ป่วยเกี่ยวกับโรคและแผนการรักษา การออกกำลังกายควรเริ่มจากการออกกำลังกายแบบไอโซเมตริก (isometric exercise) ซึ่งเป็นการออกกำลังกายแบบเกร็งกล้ามเนื้อโดยไม่มีการเคลื่อนไหวส่วนใดๆ ของร่างกาย เพื่อให้อาการข้ออักเสบดีขึ้นแล้วจึงเปลี่ยนเป็นการออกกำลังกายแบบไอโซโทนิก (isotonic exercise) ซึ่งเป็นการออกแรงโดยต่อสู้กับแรงต้านทาน ทำให้กล้ามเนื้อมีการหดตัวและคลายตัวและข้อต่อมีการเคลื่อนไหว การนอนพัก 6-8 ชั่วโมงในเวลากลางคืนและ 1 ชั่วโมงในตอนบ่ายจะช่วยให้อาการอ่อนเพลียดีขึ้น กายภาพบำบัด การผ่าตัดจะทำในกรณีผู้ป่วยมีโครงสร้างข้อเสียหาย<br/> - การรักษาโดยใช้ยา อาจให้ยาต้านการอักเสบชนิดไม่ใช่สเตียรอยด์เพื่อลดอาการปวดข้อ ข้ออักเสบ หรือให้ยาต้านรูมาทิซึมที่ช่วยชะลอการดำเนินโรค ทำให้โรคดีขึ้น หรือในกรณีที่เป็นโรคข้ออักเสบในระดับรุนแรงอาจให้ยากลุ่มคอร์ติโคสเตียรอยด์ถึงแม้อาจมีผลข้างเคียงในระยะยาว <br> <br>แหล่งข้อมูล<br> สุรศักดิ์ นิลกานุวงศ์. (2553). โรคข้ออักเสบรูมาทอยด์. ในสารานุกรมไทยสำหรับเยาวชน โดยพระราชประสงค์ในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว. (เล่มที่ 35, หน้า 216-241). กรุงเทพฯ : โครงการสารานุกรมไทยสำหรับเยาวชน โดยพระราชประสงค์ในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว. [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Pathogenic microorganisms | จุลชีพก่อโรค [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Diagnostic reagents and test kits | ชุดตรวจวินิจฉัยโรคสำเร็จรูป [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Entomopathogenic fungi | เชื้อราที่ก่อโรคต่อแมลง [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Pathogenic bacteria | แบคทีเรียก่อโรค [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Phytopathogenic bacteria | แบคทีเรียโรคพืช [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Vitiligo | โรคด่างขาว [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Dystonia | โรคดิสโทเนีย [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Zoonoses | โรคติดเชื้อจากสัตว์ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Streptococcal infection | โรคติดเชื้อสเตรปโคคอคคัส [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Enterovirus disease | โรคติดเชื้อเอนเตอโรไวรัส [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Periodonntitis | โรคปริทันต์อักเสบ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Byssinosis | โรคปอดฝุ่นฝ้าย [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Silicosis | โรคปอดฝุ่นหิน [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Hookworm disease | โรคพยาธิปากขอ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Parkinson's disease | โรคพาร์กินสัน [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Obsessive-compulsive disorder | โรคย้ำคิดย้ำทำ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Systemic scleroderma | โรคหนังแข็ง [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Chickenpox | โรคอีสุกอีใส [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
AIDS vaccine | วัคซีนโรคเอดส์ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Plant virus | ไวรัสโรคพืช [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Dutch disease | โรคดัตช์ [เศรษฐศาสตร์] |
Therapeutics | การรักษาโรค [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Health line | การรักษาโรคทางโทรศัพท์ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Diagnosis, Laboratory | การวินิจฉัยโรคทางห้องปฏิบัติการ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Boron Neutron Capture Therapy | บีเอ็นซีที, รังสีรักษาโดยการจับยึดนิวตรอน, การรักษาผู้ป่วยโรคมะเร็งบางชนิด โดยการฉีดสารประกอบโบรอนเสถียรให้ไปสะสมในเซลล์มะเร็ง แล้วฉายรังสีนิวตรอนไปที่บริเวณนั้น อะตอมโบรอนจะจับยึดนิวตรอนไว้กลายเป็นโบรอนกัมมันตรังสี ซึ่งจะสลายพร้อมกับปล่อยอนุภาคแอลฟาออกมาทำลายเซลล์มะเร็งนั้น (ดู neutron capture ประกอบ) [นิวเคลียร์] |
Diagnostic exposure | การรับรังสีจากการวินิจฉัยโรค, การได้รับรังสีของผู้มารับบริการทางการแพทย์ อันเป็นขั้นตอนหนึ่งในการวินิจฉัยโรค หรือตรวจหาความบกพร่องของอวัยวะ [นิวเคลียร์] |
Chlorofluorocarbon | คลอโรฟลูออโรคาร์บอน [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Therapeutic exposure | การรับรังสีจากการบำบัดโรค, การได้รับรังสีของผู้มารับบริการทางการแพทย์ อันเป็นขั้นตอนการบำบัดโรคของผู้นั้น [นิวเคลียร์] |
Radiotherapy | รังสีรักษา, การบำบัดด้วยรังสี, การใช้รังสีชนิดก่อไอออนบำบัดรักษาโรค มี 4 วิธี คือ <br> 1. การฉายรังสีไปยังอวัยวะเป้าหมาย (Teletherapy) เช่น ต่อมน้ำเหลือง กล่องเสียง ปอด โดยใช้รังสีเอกซ์จากเครื่องเร่งอิเล็กตรอนเชิงเส้น หรือใช้รังสีแกมมาจากต้นกำเนิดรังสีโคบอลต์-60</br> <br> 2. การฝังสารกัมมันตรังสี ในเนื้อเยื่อหรือโพรงอวัยวะ (Brachy therapy) เช่น ปากมดลูก และช่องปาก โดยใช้ซีเซียม-137, อิริเดียม-192 หรือ ทอง-198</br> <br> 3. การให้สารกัมมันตรังสีทางปาก เช่น การรับประทานสารประกอบไอโอดีน-131 (Na<sup>131I</sup>) เพื่อรักษามะเร็งต่อมไทรอยด์</br> <br> 4. การฉีดสารกัมมันตรังสีทางเส้นเลือด เช่น สารประกอบไอโอดีน-131 (Lipiodol-<sup>131</sup>I) ใช้รักษามะเร็งตับ</br> [นิวเคลียร์] |
Radiopharmaceutics | สารเภสัชรังสี, เภสัชภัณฑ์รังสี, ผลิตภัณฑ์ยาที่อยู่ในรูปของสารประกอบหรือสารประกอบเชิงซ้อนที่มีสารกัมมันตรังสีเกาะอยู่ในโมเลกุล ซึ่งผลิตขึ้นตามมาตรฐานสากลเภสัชรังสี ใช้ตรวจวินิจฉัยหรือบำบัดรักษา การให้สารเภสัชรังสีแก่ผู้ป่วยกระทำโดยการฉีดหรือกิน เมื่อเข้าสู่ร่างกายแล้วสารเภสัชรังสีดังกล่าวจะไปกระจายตัวอยู่ในอวัยวะที่ต้องการตรวจหรือรักษา (target organ) โดยแสดงพยาธิสภาพตามความผิดปกติที่เกิดขึ้นในอวัยวะนั้นๆ สารเภสัชรังสีที่ใช้ในปัจจุบัน เช่น <br><sup>99m</sup>Tc-MDP ใช้ตรวจกระดูก</br> <br><sup>99m</sup>Tc-MAA ใช้ตรวจปอด</br> <br><sup>99m</sup>Tc-MIBI ใช้ตรวจกล้ามเนื้อหัวใจ, tumor ทรวงอก</br> <br><sup>99m</sup>Tc-DISIDA ใช้ตรวจตับและระบบท่อน้ำดี</br> <br><sup>99m</sup>Tc-BROMIDA ใช้ตรวจตับและระบบท่อน้ำดี</br> <br><sup>99m</sup>Tc-HMPAO ใช้ตรวจสมอง</br> <br><sup>99m</sup>Tc-DTPA ใช้ตรวจสมองและไต</br> <br><sup>99m</sup>Tc-MAG3 ใช้ตรวจไต</br> <br><sup>131</sup>I-Hippuran ใช้ตรวจไต</br> <br><sup>131</sup>I-MIBG ใช้ตรวจต่อมหมวกไต</br> <br>Na13<sup>1</sup>I ใช้ตรวจและรักษาโรคไทรอยด์</br> <br><sup>153</sup>Sm-EDTMP ใช้บรรเทาความเจ็บปวดของผู้ป่วยด้วยโรคมะเร็งกระดูก [นิวเคลียร์] |
Radiopharmaceuticals | สารเภสัชรังสี, เภสัชภัณฑ์รังสี, ผลิตภัณฑ์ยาที่อยู่ในรูปของสารประกอบหรือสารประกอบเชิงซ้อนที่มีสารกัมมันตรังสีเกาะอยู่ในโมเลกุล ซึ่งผลิตขึ้นตามมาตรฐานสากลเภสัชรังสี ใช้ตรวจวินิจฉัยหรือบำบัดรักษา การให้สารเภสัชรังสีแก่ผู้ป่วยกระทำโดยการฉีดหรือกิน เมื่อเข้าสู่ร่างกายแล้วสารเภสัชรังสีดังกล่าวจะไปกระจายตัวอยู่ในอวัยวะที่ต้องการตรวจหรือรักษา (target organ) โดยแสดงพยาธิสภาพตามความผิดปกติที่เกิดขึ้นในอวัยวะนั้นๆ สารเภสัชรังสีที่ใช้ในปัจจุบัน เช่น <br><sup>99m</sup>Tc-MDP ใช้ตรวจกระดูก</br> <br><sup>99m</sup>Tc-MAA ใช้ตรวจปอด</br> <br><sup>99m</sup>Tc-MIBI ใช้ตรวจกล้ามเนื้อหัวใจ, tumor ทรวงอก</br> <br><sup>99m</sup>Tc-DISIDA ใช้ตรวจตับและระบบท่อน้ำดี</br> <br><sup>99m</sup>Tc-BROMIDA ใช้ตรวจตับและระบบท่อน้ำดี</br> <br><sup>99m</sup>Tc-HMPAO ใช้ตรวจสมอง</br> <br><sup>99m</sup>Tc-DTPA ใช้ตรวจสมองและไต</br> <br><sup>99m</sup>Tc-MAG3 ใช้ตรวจไต</br> <br><sup>131</sup>I-Hippuran ใช้ตรวจไต</br> <br><sup>131</sup>I-MIBG ใช้ตรวจต่อมหมวกไต</br> <br>Na13<sup>1</sup>I ใช้ตรวจและรักษาโรคไทรอยด์</br> <br><sup>153</sup>Sm-EDTMP ใช้บรรเทาความเจ็บปวดของผู้ป่วยด้วยโรคมะเร็งกระดูก [นิวเคลียร์] |
Radicidation | การฆ่าเชื้อโรคด้วยรังสี, การฉายรังสีอาหารหรือผลิตภัณฑ์อาหารด้วยปริมาณรังสีต่ำกว่า 10 กิโลเกรย์ เพื่อฆ่าเชื้อโรคชนิดที่ไม่สร้างสปอร์ เช่น ซาลโมเนลลา ชิเกลลา อี.โคไล เชื้อโรคเหล่านี้เป็นต้นเหตุทำให้ท้องเสียอย่างรุนแรง ปวดท้อง ขาดน้ำ อาเจียน และเป็นไข้ อาหารที่ผ่านการฉายรังสีเพื่อฆ่าเชื้อโรค เช่น แหนม กุ้งแช่แข็ง ขากบแช่แข็ง เนื้อไก่แช่แข็ง การฆ่าเชื้อโรคด้วยวิธีนี้เทียบได้กับการพาสเจอไรซ์ <br>(ดู food irradiation ประกอบ)</br> [นิวเคลียร์] |
Radiation therapy | รังสีรักษา, การบำบัดด้วยรังสี, การใช้รังสีชนิดก่อไอออนบำบัดรักษาโรค มี 4 วิธี คือ <br> 1. การฉายรังสีไปยังอวัยวะเป้าหมาย (Teletherapy) เช่น ต่อมน้ำเหลือง กล่องเสียง ปอด โดยใช้รังสีเอกซ์จากเครื่องเร่งอิเล็กตรอนเชิงเส้น หรือใช้รังสีแกมมาจากต้นกำเนิดรังสีโคบอลต์-60</br> <br> 2. การฝังสารกัมมันตรังสี ในเนื้อเยื่อหรือโพรงอวัยวะ (Brachy therapy) เช่น ปากมดลูก และช่องปาก โดยใช้ซีเซียม-137, อิริเดียม-192 หรือ ทอง-198</br> <br> 3. การให้สารกัมมันตรังสีทางปาก เช่น การรับประทานสารประกอบไอโอดีน-131 (Na<sup>131I</sup>) เพื่อรักษามะเร็งต่อมไทรอยด์</br> <br> 4. การฉีดสารกัมมันตรังสีทางเส้นเลือด เช่น สารประกอบไอโอดีน-131 (Lipiodol-<sup>131</sup>I) ใช้รักษามะเร็งตับ</br> [นิวเคลียร์] |
Radappertization | การทำปลอดจุลินทรีย์ด้วยรังสี, การฉายรังสีอาหารประเภทเนื้อสัตว์หรือผลิตภัณฑ์จากเนื้อสัตว์ซึ่งบรรจุในภาชนะที่ปิดสนิทด้วยปริมาณรังสีสูงกว่า 10 กิโลเกรย์ เพื่อฆ่าจุลินทรีย์ทั้งหมดที่มีอยู่ ไม่ว่าจะเป็นจุลินทรีย์ที่ก่อให้เกิดโรค หรือ จุลินทรีย์ที่ทำให้อาหารเน่าเสีย เพื่อให้อาหารนั้นเก็บรักษาได้นานหลายเดือนหรือเป็นปีที่อุณหภูมิห้อง อาหารที่ผ่านการฉายรังสีเพื่อทำให้ปลอดจุลินทรีย์ เช่น เนื้อวัว เนื้อไก่งวงรมควัน อาหารสำหรับผู้ป่วย และอาหารสำหรับมนุษย์อวกาศ (ดู food irradiation ประกอบ), Example: [นิวเคลียร์] |
Positron Emission Tomography | เพ็ต, เทคนิคการถ่ายภาพการทำงานของอวัยวะด้วยวิธีกราดวิเคราะห์โพซิตรอนที่ปล่อยออกมาหลังจากฉีดเภสัชภัณฑ์รังสีที่มีครึ่งชีวิตสั้นมากซึ่งผลิตจากไซโคลทรอนเข้าไปในกระแสเลือด เช่น การตรวจการทำงานของสมอง จะใช้กลูโคสซึ่งฝังตรึงด้วยสารกัมมันตรังสี ฟลูออร์-18 เพื่อแสดงการทำงานของสมองส่วนต่างๆ เป็นภาพสามมิติที่มีสีสันแตกต่างกัน ข้อดีของเทคนิคนี้ คือ สามารถแสดงผลได้รวดเร็วในเวลาน้อยกว่า 1 นาที นอกจากนี้ยังสามารถใช้วินิจฉัยด้านอื่นๆ ได้ด้วย เช่น โรคหัวใจร่วมหลอดเลือด เนื้องอก และด้านลิ่มเลือดหรือโรคลมต่างๆ [นิวเคลียร์] |
Hepatitis | โรคตับอักเสบ, Example: <p>โรคตับอักเสบ (hepatitis) เป็นโรคที่เซลล์ของตับมีการอักเสบเกิดขึ้น เกิดจากหลายสาเหตุ เช่น เชื้อไวรัส เชื้อแบคทีเรีย การดื่มสุราเป็นประจำ พิษของยาบางชนิด แต่การติดเชื้อไวรัสเป็นสาเหตุของโรคตับอักเสบที่พบบ่อยที่สุด ผู้ป่วยโรคตับอักเสบจะมีอาการเจ็บแน่นบริเวณตับ อ่อนเพลีย เบื่ออาหาร เหนื่อยง่าย ผู้ป่วยบางรายมีอาการไข้ต่ำ คลื่นไส้ อาเจียน ต่อมาผู้ป่วยบางรายจะมีอาการตัวเหลือง ตาเหลือง หลังจากนั้นอาการต่างๆ จะลดน้อยลง ผู้ป่วยเข้าสู่ระยะพักฟื้น โดยอาจกินเวลานานหลายสัปดาห์หรือเป็นเดือนกว่าจะหายเป็นปกติ โรคตับอักเสบชนิดเฉียบพลันเป็นโรคตับอักเสบที่มีระยะเวลาการดำเนินโรคไม่นาน ผู้ป่วยมีอาการน้อยลงและหายขาดภายในเวลาไม่เกิน 6 เดือน ส่วนโรคตับอักเสบชนิดเรื้อรังเป็นโรคตับอักเสบที่มีการดำเนินโรคนานกว่า 6 เดือน <p> <p>โรคตับอักเสบ เอ<br/> มีไวรัสตับอักเสบ เอ เป็นต้นเหตุ ติดต่อโดยการกินอาหารหรือน้ำที่ปนเปื้อนเชื้อ ผู้ติดเชื้อส่วนใหญ่ไม่แสดงอาการ เมื่อหายจากการติดเชื้อแล้วโดยไม่ว่าจะเกิดอาการของโรคหรือไม่ก็ตามก็จะหายขาด ไม่มีภาวะการเป็นพาหะของโรคตามมา จะไม่เป็นโรคตับอักเสบ เอ อีก เนื่องจากเกิดภูมิคุ้มกันตลอดชีวิต <p> <p>โรคตับอักเสบ บี<br/> มีไวรัสตับอักเสบ บี เป็นต้นเหตุ ติดต่อโดยทางเข็มฉีดยา การถ่ายเลือด การได้รับผลิตภัณฑ์จากเลือด ติดต่อจากมารดาสู่ทารก ทางเพศสัมพันธ์ ผู้ติดเชื้อบางรายไม่แสดงอาการ บางรายแสดงอาการของโรคตับอักเสบอย่างเฉียบพลัน ถ้าไม่มีภาวะแทรกซ้อน ผู้ป่วยส่วนใหญ่จะมีอาการน้อยลงและหายภายใน 4-6 สัปดาห์ ผู้ป่วยส่วนน้อยเป็นโรครุนแรงจนถึงขั้นเสียชีวิต และผู้ป่วยบางรายกลายเป็นโรคตับอักเสบ บี เรื้อรัง ผู้เป็นพาหะมีโอกาสเสี่ยงต่อการเป็นตับแข็งและมะเร็งตับตามมา <p> <p>โรคตับอักเสบ ซี<br/> มีไวรัสตับอักเสบ ซี เป็นต้นเหตุ ติดต่อโดยการถ่ายเลือด ผู้ติดเชื้อส่วนใหญ่ไม่แสดงอาการหรืออาการที่เกิดขึ้นไม่รุนแรงจนต้องรักษาตัวในโรงพยาบาล บางรายกลายเป็นพาหะเรื้อรังเกิดตับแข็งและมะเร็งตับตามมา <p> <p>โรคตับอักเสบ ดี<br/> ไวรัสตับอักเสบ ดี เป็นไวรัสที่ไม่สมบูรณ์ คือ ไม่สามารถติดเชื้อเพิ่มจำนวนในเซลล์ตับได้โดยลำพัง จะต้องติดเชื้อร่วมกับไวรัสตับอักเสบ บี ดังนั้นโรคตับอักเสบ ดี จึงมีวิธีการติดต่อเหมือนกับโรคตับอักเสบ บี ไวรัสตับอักเสบ ดี ทำให้เกิดโรคตับอักเสบรุนแรงกว่าเชื้ออื่นๆ และอาจมีการติดเชื้อเรื้อรัง แล้วมีโอกาสกลายเป็นตับแข็งในอัตราค่อนข้างสูง <p> <p>โรคตับอักเสบ อี<br/> มีไวรัสตับอักเสบ อี เป็นต้นเหตุ ติดต่อโดยการกินอาหารหรือน้ำที่ปนเปื้อนเชื้อ ผู้ป่วยส่วนใหญ่อยู่ในวัยหนุ่มสาวถึงกลางคน หากหญิงมีครรภ์ป่วยเป็นโรคนี้จะมีอัตราการตายสูง ยังไม่พบว่าไวรัสตับอักเสบ อี ทำให้เกิดการติดเชื้อเรื้อรัง <br> <br>แหล่งข้อมูล<br> ประเสริฐ ทองเจริญ และ จันทพงษ์ วะสี. (2536). โรคตับอักเสบจากไวรัส. ในสารานุกรมไทยสำหรับเยาวชน โดยพระราชประสงค์ในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว. (เล่มที่ 17, หน้า 82-105). กรุงเทพฯ : โครงการสารานุกรมไทยสำหรับเยาวชน โดยพระราชประสงค์ในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว. [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Medical exposure | การได้รับรังสีจากการแพทย์, การได้รับรังสีของผู้มารับบริการทางการแพทย์ ซึ่งเป็นขั้นตอนหนึ่งของการวินิจฉัยโรคหรือการบำบัดโรคของผู้นั้น [นิวเคลียร์] |
treatment | การบำบัด (โรค), การรักษา (โรค), การบำบัด (โรค), การรักษา (โรค) <p>เขียนทับศัพท์เป็น ทรีตเมนต์ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
กรรมพันธุ์ | ลักษณะนิสัย โรคบางชนิดที่สืบทอดทางสายเลือด, Example: คำที่มักเขียนผิด คือ กรรมพันธ์ [คำที่มักเขียนผิด] |
Food irradiation | การฉายรังสีอาหาร, การนำอาหารหรือผลิตภัณฑ์อาหารซึ่งผลิตอย่างถูกสุขลักษณะและบรรจุในภาชนะหรือหีบห่อที่เหมาะสม ไปผ่านการฉายรังสีแกมมา หรือรังสีเอกซ์ หรือลำอิเล็กตรอนจากเครื่องเร่งอนุภาค ด้วยปริมาณรังสีที่เหมาะสม เพื่อฆ่าเชื้อโรคหรือพยาธิ ยับยั้งการทำลายหรือแพร่พันธุ์ของแมลง ยืดอายุการเก็บรักษา ยับยั้งการงอก และชะลอการสุก [นิวเคลียร์] |
อหิวาตกโรค | [ahiwātakarōk] (n) EN: cholera FR: choléra [ m ] |
อาวุธเชื้อโรค | [āwut cheūarōk] (n, exp) EN: bacteriological weapon FR: arme bactériologique [ f ] |
ใบตรวจโรค | [bai trūat rōk] (n, exp) EN: certificate of health |
บำบัดโรค | [bambat rōk] (v, exp) EN: treat |
บานทะโรค | [bāntharōk] (n) EN: acute hemorrhoids |
เชื้อโรค | [cheūarōk] (n) EN: bacteria ; germ FR: bactérie [ f ] ; germe [ m ] |
ด่านตรวจโรค | [dān trūat rōk] (n, exp) EN: quarantine station |
ห้องตรวจโรค | [hǿng trūat rōk] (n, exp) EN: medical examination room : medical treatment room FR: salle d'examen médical [ f ] ; cabinet médical [ m ] |
กาฬโรค | [kālarōk] (n, exp) EN: plague ; black death ; bubonic plague ; oriental plague FR: peste noire [ f ] ; peste bubonique [ f ] |
กามโรค | [kāmmarōk] (n) EN: venereal disease FR: maladie vénérienne [ f ] ; syphilis [ f ] |
การฉีดวักซีนป้องกันโรค | [kān chīt waksīn pøng kan rōk] (n, exp) EN: vaccination FR: vaccination [ f ] |
การฆ่าเชื้อโรค | [kān khā cheūarōk] (n, exp) FR: pasteurisation [ f ] |
การป้องกันโรค | [kān pǿngkan rōk] (n, exp) EN: prevention of disease ; prophylaxis FR: prophylaxie [ f ] |
การระบาดของโรค | [kān rabāt khøng rōk] (n, exp) EN: disease outbreak FR: contagion (d'une maladie) [ f ] ; transmission d'une maladie infectieuse [ f ] |
การวินิจฉัยโรค | [kān winitchai rōk] (n, exp) EN: diagnosis |
ฆ่าเชื้อโรค | [khā cheūarōk] (v) EN: disinfect ; kill germs FR: désinfecter ; pasteuriser |
ขี้โรค | [khīrōk] (adj) EN: sickly ; ailing FR: maladif ; souffrant |
คนเป็นโรคเรื้อน | [khon pen rōk reūoen] (n, exp) FR: lépreux [ m ] ; lépreuse [ f ] |
ไม่ถูกโรคกัน | [mai thuk rōk kan] (v, exp) EN: conflict ; clash ; collide ; contend |
หมอเฉพาะโรค | [mø chaphǿ rōk] (n, exp) FR: médecin spécialiste [ m ] ; spécialiste [ m ] |
เป็นโรคเอดส์ | [pen rōk ēt] (v, exp) EN: have Aids FR: être atteint du sida ; être porteur du virus du sida |
เป็นโรคภูมิแพ้ | [pen rōk phūmphaē] (adj) EN: allergic FR: allergique |
แผนกโรคผิวหนัง | [phanaēk rōk phiū nang] (n) EN: dermatology FR: dermatologie [ f ] |
แผนกโรคทางเคินปัสสาวะ | [phanaēk rōk thāng doēn patsāwa] (n) EN: urology FR: urologie [ f ] |
ผู้ป่วยโรคมะเร็ง | [phūpūay rōk mareng] (n, exp) FR: cancéreux [ m ] ; malade atteint d'un cancer [ m ] |
รักษาโรค | [raksā rōk] (v, exp) EN: cure ; heal ; remedy FR: guérir une maladie |
โรค | [rōk] (n) EN: disease ; sickness ; illness ; disorder ; ailment ; malady ; affliction ; disorder ; infirmity FR: maladie [ f ] ; mal [ m ] ; affection [ f ] ; syndrome [ m ] ; infirmité [ f ] |
โรค ... | [rōk ...] (n) EN: illness of ... FR: maladie de ... [ f ] |
โรคแอดดิสัน | [rōk Aētdisan] (n, exp) EN: Addison's disease FR: maladie d'Addison |
โรคอักเสบ | [rōk aksēp] (n) EN: inflammation FR: inflammation [ f ] |
โรคบ้าชอป | [rōk bā chøp] (n, exp) EN: shopoholism FR: fièvre acheteuse [ f ] |
โรคเบาหวาน | [rōk bao wān] (n) EN: diabetes FR: diabète [ m ] |
โรคบิด | [rōk bit] (n) EN: dysentery FR: dysenterie [ f ] |
โรคชิคุนกุนยา | [rōk chikhunkunyā] (n) EN: Chikungunya disease |
โรคชอบเด็ก | [rōk chøp dek] (n) EN: pedophilia FR: pédophilie [ f ] |
โรคดีซ่าน | [rōk dīsān] (n) EN: jaundice FR: jaunisse [ f ] |
โรคเอดส์ | [rōk ēt] (n) EN: Aids ; AIDS FR: sida [ m ] |
โรคห่า | [rōk hā] (n) EN: plague FR: peste [ f ] |
โรคหืด | [rōk heūt] (n) EN: asthma FR: asthme [ m ] |
โรคหัวใจ | [rōk hūajai] (n) EN: heart disease FR: maladie du coeur [ f ] |
โรคจิต | [rōk jit] (n) EN: mental disorder ; neurosis FR: névrose [ f ] ; maladie mentale [ f ] |
โรคจิตเภท | [rōk jit phēt] (n, exp) EN: schizophrenia FR: schizophrénie [ f ] |
โรคกาลี | [rōk kālī] (n) FR: anthrax [ m ] |
โรคกรรมพันธุ์ | [rōk kammaphan] (n) EN: hereditary disease ; congenital disorder FR: maladie héréditaire [ f ] |
โรคไข้รากสาดใหญ่ | [rōk khai rāksāt yai] (n, exp) EN: typhus FR: typhus [ m ] |
โรคข้อต่ออักเสบ | [rōk khøtø aksēp] (n, exp) EN: gout FR: goutte [ f ] ; tophus [ m ] |
โรคกลัวน้ำ | [rōk klūa nām] (n) EN: rabies ; hydrophobia FR: rage [ f ] |
โรคกระดูกอ่อน | [rōk kradūk øn] (n) EN: rickets FR: rachitisme |
โรคกระเพาะ | [rōk kraphǿ] (n, exp) EN: gastric disease ; stomach trouble |
โรคเลือดออก | [rōk leūat øk] (n, exp) FR: hémorragie [ f ] |
SARS | (n) โรคทางเดินหายใจเฉียบพลันรุนแรง หรือ ซาร์ส มาจากภาษาอังกฤษ เต็มๆ คือ Severe Acute Respiratory Syndrome เริ่มระบาดในช่วงต้นปี 2546 ในหลายประเทศ |
Hansen's disease | (n) โรคเรื้อน |
narcolepsy | (n) ชื่อโรคชนิดหนึ่ง อาการของโรคคือผู้ป่วยไม่สามารถควบคุมการหลับได้ ในแต่ละวันผู้ป่วยอาจจะรู้สึกง่วงมากจนต้องหลับไปอย่างกระทันหันได้หลายๆครั้ง ข้อมูลเพิ่มเติม http://www.ninds.nih.gov/disorders/narcolepsy/narcolepsy.htm http://med.stanford.edu/school/Psychiatry/narcolepsy/ |
dental caries | (n) โรคฟันผุ, Syn. tooth decay |
dental cavities | (n) ท่อกลวงในฟันที่เกิดจากโรคฟันผุ, See also: dental caries |
coronary artery disease | (n, phrase) โรคหลอดเลือดแดงเลี้ยงหัวใจอุดตัน, โรคหลอดเลือดหัวใจตีบ ย่อด้วย CAD, Syn. Coronary heart disease CHD |
hypengyophobia | (n) โรคกลัวความรับผิดชอบ, Syn. fear of responsibility |
keratoconus | (n) โรคกระจกตาโป่ง |
Athlete's foot | โรคน้ำกัดเท้า, ฮ่องกงฟุต, Syn. Tinea pedis |
God bless you! | พระเจ้าคุ้มครองคุณ (หรือพูดสั้นๆว่า Bless you!) เป็นคำอวยพรที่พูดเมื่อบุคคลอื่นมีอาการจาม เพราะสมัยก่อนเชื่อกันว่า ขณะที่คนเราจามนั้นวิญญาณสามารถออกจากร่างได้ ทำให้อาจมีโรคภัยได้ง่าย |
syncope | [ซินโคพี] (n) โรควูบ, โรคหมดสติชั่ววูบ เช่น The records of 121 patients hospitalized in Presbyterian-University Hospital, Pittsburgh, during 1976 to 1980 for syncope of unknown origin were reviewed. |
triskaidekaphobia | (n) โรคกลัวหมายเลย 13 เช่น There’s a horse named Triskaidekaphobia, fear of the number 13. I now officially suffer from this disease. |
placebo | (n) ยาที่บังเกิดผลทางจิตใจแต่ไม่มีฤทธิ์รักษาโรค |
nightmare death syndrome | (n) โรคไหลตาย |
homoeopathy | [โฮมีโอพาธี] (n) การบำบัดแบบโฮมีโอพาธีมีแนวคิดหรือปรัชญาพื้นฐานในการทำความเข้าใจร่างกายมนุษย์ที่แตกต่างจากระบบการแพทย์แผนปัจจุบันโดยสิ้นเชิง การมองร่างกายและจิตใจของ ผู้ป่วยจะไม่ได้มองเป็นอวัยวะที่แยกส่วนออกจากกัน แต่จะมองร่างกายและจิตใจของผู้ป่วยเป็นภาพรวมเดียวกัน ดังนั้นก่อนที่จะบำบัดผู้ป่วยจะต้องมีการสัมภาษณ์และคุยกับผู้ป่วยในเรื่องของลักษณะทั่วไป บุคลิกภาพ ประวัติทางการแพทย์ของครอบครัว อารมณ์ ความรู้สึกส่วนบุคคลต่อสิ่งแวดล้อม อาหาร อากาศ ฯลฯ รวมทั้งอาการของโรคด้วย นักบำบัด (practitioner) จะต้องนำคำตอบทั้งหมดมาประมวลและสรุปเป็นภาพรวมโดยเรียกว่า “ภาพของอาการ” (symtom picture)ดังนั้นการประเมินประสิทธิภาพของการบำบัดจึงไม่ควรใช้กรอบและแนวคิดของระบบการแพทย์แผนปัจจุบันประเมินแต่เพียงอย่างเดียว ควรมีการศึกษาและทำความเข้าใจแนวคิดพื้นฐานของการบำบัดแบบโฮมีโอพาธีด้วย โดยสรุปแล้วการบำบัดแบบโฮมีโอพาธีจัดเป็นศาสตร์การรักษาสุขภาพแบบองค์รวมที่เน้นเรื่องการปรับสมดุลสารชีวเคมีและพลังไหลเวียนภายในร่างกาย การให้ยาเป็นไปเพียงเพื่อกระตุ้นให้ร่างกายเกิดการปรับสมดุลด้วยกลไกตามธรรมชาติของร่างกายเอง ไม่ได้มุ่งหมายให้ยาไปขจัดหรือทำลายกลไกของร่างกายหรือสารที่ก่อให้เกิดอาการป่วย รวมทั้งไม่ได้มุ่งหมายที่จะขจัดสิ่งมีชีวิตใด ๆ ออกจากร่างกายด้วย |
attention deficit disorder | (n) โรคสมาธิสั้น เช่น According to the National Institute of Mental Health, attention deficit disorder (ADD) is a legitimate psychologic condition., See also: attention deficit hyperactivity disorder ADHD, Syn. ADD |
Swine influenza | (n, name) โรคไข้หวัดหมู บ้างเรียก โรคไข้หวัดเม็กซิโก, Syn. Swine flu |
dyslacxia | (n) โรคดิสเล็กเซีย คือ ความบกพร่องในการอ่าน มีปัญหาในการอ่าน อ่านได้บ้างไม่ได้บ้าง อ่านไม่คล่อง สะกดคำติดขัด ผสมคำไม่ได้ หรืออ่านไม่ได้เลย โดยมีสาเหตุมาจากความผิดปกติของเส้นประสาท |
geriatrician | (n) แพทย์ที่ดูแลคนชรา และรักษาโรคในคนชรา จำพวกdementia |
alogia | [ออโลเจีย] (n) ความผิดปกติด้านพฤติกรรมของผู้ป่วยโรคจิตเภท เป็นหนึ่งในกลุ่มอาการด้านลบ ลักษณะคือพูดน้อย, เนื้อหาที่พูดมีน้อย , ใช้เวลานานกว่าจะตอบ |
Amyotrophic Lateral Sclerosis (ALS) | (n, name) โรคกล้ามเนื้ออ่อนแรง เป็นโรคที่เกิดจากการเสื่อมสลายของเซลล์ประสาทที่ควบคุมการทำงานของกล้ามเนื้อ พยาธิสภาพของโรคเอแอลเอสอยู่ที่บริเวณแกนสมอง และไขสันหลัง ทำให้ผู้ป่วยมีกล้ามเนื้อแขนขา และลำตัวอ่อนแรง กลืนลำบาก และพูดไม่ชัด คำว่า “Amyotrophic” หมายถึง กล้ามเนื้ออ่อนแรง ฝ่อลีบและเต้นพลิ้ว (fasciculation) ส่วนคำว่า “Lateral sclerosis” หมายถึงรอยโรคในทางเดินของกระแสประสาทซึ่งควบคุมการทำงานของกล้ามเนื้อในไขสันหลัง โรคเอแอลเอสพบน้อยมาก โดยพบได้เพียง 4 ถึง 6 ต่อประชากร 100, 000 คน และโอกาสที่จะพบผู้ป่วยรายใหม่มีเพียง 1.5 ถึง 2.5 ต่อประชากร 100, 000 คนต่อปี โรคนี้เป็นกับผู้ใหญ่วัยใดก็ได้ แต่จะพบบ่อยขึ้นตามอายุ อายุเฉลี่ยของผู้ป่วยโรคนี้ประมาณ 65 ปี โดยมักเป็นในเพศชายมากกว่าเพศหญิง จนถึงปัจจุบัน ยังไม่ทราบแน่ชัดว่าโรคเอแอลเอสเกิดขึ้นได้อย่างไร ผู้ป่วยราวร้อยละ 5 (โดยเฉพาะผู้ป่วยอายุน้อย) อาจมีประวัติโรคนี้ในครอบครัว สิ่งแวดล้อมหรือสารพิษบางชนิด อาจมีผลกับการเกิดโรคนี้ เนื่องจากพบว่าในบางพื้นที่ของโลก เช่นที่เกาะกวม พบโรคนี้มากกว่าที่อื่น นอกจากนั้นการศึกษาทางระบาดวิทยายังพบว่า นักกีฬาบางประเภท โดยเฉพาะนักฟุตบอลอาชีพมีโอกาสเป็นโรคนี้สูงกว่าประชากรทั่วไป ปัจจุบันเชื่อว่าสาเหตุของโรคนี้อาจเกิดจาก กลไกภูมิคุ้มกันต่อตนเองผิดปกติ (Autoimmune attack) หรือเกิดจากกลไกอนุมูลอิสระ (Free radicals) ทำลายเซลล์ประสาทของตนเอง ส่วนอีกทฤษฎีหนึ่งเชื่อว่า การเสื่อมสลายของเซลล์ประสาทในสมองและไขสันหลังเกิดจากสารสื่อนำกระแสประสาท (neurotransmitter) ที่เรียกว่ากลูตาเมต (glutamate) กระตุ้นให้เกิดการทำลายเซลล์ (ข้อมูลจาก ผศ.นพ.รุ่งนิรันดร์ ประดิษฐสุวรรณ สาขาวิชาอายุรศาสตร์ปัจฉิมวัย : http://www.thonburihospital.com/th/tip_detail.asp?id=22 , http://www.inf.ku.ac.th/article/diag/520506/alsmnd.html) |
pandemic | (n) โรคระบาด ที่มีการระบาดกระจายไปในพื้นที่ขนาดใหญ่ เช่น ทั่วประเทศ หลายประเทศในภูมิภาค หรือ กระจายไปทั่วโลก ถือเป็นระดับสูงสุดของการระบาด ที่เริ่มจาก endemic (โรคระบาดประจำถิ่น), outbreak (โรคระบาดประจำถิ่นที่มีการเพิ่มของผู้ป่วยผิดปกติ หรือ โรคใหม่ที่เริ่มการระบาด, epidemic (เริ่มแพร่ระบาดไปในวงกว้าง) และ pandemic (โรคระบาดไปทั่วทั้งประเทศ หรือ หลายพื้นที่ในโลก) |
acrophobia | (n) โรคกลัวความสูง |
Addison's disease | (n) โรคที่เกิดจากการบกพร่องของต่อมอดรีนัล(Adrenal) |
aeromedicine | (n) วิชาแพทย์ทางอากาศ, See also: การแพทย์ที่เกี่ยวกับโรคหรือความผิดปกติซึ่งเกิดจากการเดินทางในชั้นบรรยากาศของโลก |
aetiology | (n) การศึกษาที่เกี่ยวกับสาเหตุ (โดยเฉพาะของโรค), Syn. etiology |
affect | (vt) ทำให้เป็นโรค |
affection | (n) โรค |
affliction | (n) โรคภัยไข้เจ็บ |
AIDS | (n) เอดส์ (คำย่อของ Acquired Immune Deficiency Syndrome), See also: โรคเอดส์, โรคภูมิคุ้มกันบกพร่อง |
ailment | (n) อาการป่วย, See also: โรคทางกาย, ความเจ็บไข้, ความเจ็บป่วย, Syn. illness, sickness |
alcoholism | (n) โรคพิษสุราเรื้อรัง |
allergen | (n) สารที่ทำให้เกิดโรคภูมิแพ้ได้ |
allergic | (adj) แพ้, See also: ที่เป็นโรคภูมิแพ้, ที่ทำให้เกิดอาการแพ้ |
allergist | (n) แพทย์ผู้เชี่ยวชาญด้านโรคภูมิแพ้ |
allergy | (n) อาการแพ้, See also: โรคภูมิแพ้, Syn. hypersensitivity, hay fever |
allopathy | (n) วิธีการรักษาโรคโดยใช้สารที่ออกฤทธิ์ตรงข้ามกันไม่ได้กับภาวะของโรคที่กำลังรักษา |
amoebic dysentery | (n) โรคบิดมีตัว |
angina | (n) โรคอักเสบที่ลำคอ |
anthrax | (n) โรคติดต่อร้ายแรงในสัตว์เลี้ยง (เช่น วัว ควาย), See also: โรคแอนแทร็คซ์ |
antibiotic | (adj) ที่หยุดยั้งการเติบโตของแบคทีเรียหรือเชื้อโรคอื่นๆ |
antibiotic | (n) ยาปฏิชีวนะ, See also: ยาที่มีฤทธิ์หยุดยั้งการเติบโตของเชื้อโรค, Syn. antimicrobial, antitoxin |
antibody | (n) โปรตีนต่อต้านเชื้อโรคในร่างกาย, Syn. immunoglobulin, immunizer |
antiseptic | (adj) ซึ่งฆ่าเชื้อโรค, See also: ซึ่งควบคุมการติดต่อของโรค |
antiseptic | (adj) ที่ปราศจากเชื้อโรค, Syn. sterile, germ-free, clean |
antiseptic | (n) ยาฆ่าเชื้อโรค, Syn. sterilizer, disinfectant, germicide |
antiserum | (n) ซีรัมที่มีแอนติบอดี้มีภูมิคุ้มกันโรค |
aseptic | (adj) ซึ่งปราศจากเชื้อโรคหรือจุลินทรีย์, Syn. clean, germ-free |
asthma | (n) โรคหืด, See also: หืด |
bacteria | (n) แบ็กทีเรีย, See also: เชื้อแบกทีเรีย, เชื้อโรค, Syn. microorganism |
battle fatigue | (n) โรคทางจิตอันเกิดจากสงคราม, See also: โรคกลัวสงคราม, Syn. combat fatigue |
bilharzia | (n) โรคพยาธิ |
botulism | (n) โรคที่เกิดจากอาหารเป็นพิษ |
bronchitis | (n) โรคหลอดลมอักเสบ |
bug | (n) เชื้อจุลินทรีย์, See also: เชื้อโรค, Syn. germ |
bulimia | (n) โรคผิดปกติทางอารมณ์ทำให้กินมากเกินไปแล้วอาเจียนออก, Syn. bulimia nervosa |
be down with | (phrv) ป่วยเป็นโรค, See also: ป่วยด้วย, ป่วย, Syn. come down with, go down with |
cancer | (n) โรคมะเร็ง |
carrier | (n) คนที่เป็นพาหะนำโรค |
catching | (adj) ที่ติดต่อได้ง่าย (โรค), Syn. infectious |
chicken pox | (n) โรคอีสุกอีใส, See also: ไข้อีสุกอีใส |
chiropodist | (n) แพทย์รักษาโรคที่เกี่ยวกับมือหรือเท้า |
chiropody | (n) การรักษาโรคที่เกี่ยวกับมือหรือเท้า |
cholera | (n) อหิวาตกโรค, See also: อหิวาต์ |
claustrophobia | (n) โรคกลัวที่ปิดทึบ |
coccus | (n) เชื้อแบคทีเรียซึ่งมีรูปทรงกลม เช่น แบคทีเรียที่ทำให้เกิดโรคหนองใน |
cold | (n) ไข้หวัด, See also: หวัด, โรคหวัด, Syn. flu, fever, influenza |
communicable | (adj) ที่สามารถติดต่อได้ (เช่น โรคติดต่อ), Syn. infectious, transmittable |
confirmed | (adj) เรื้อรัง (โรค) |
contagion | (n) การติดต่อของโรคโดยการสัมผัส, Syn. infection, transmission |
contagion | (n) โรคติดต่อที่แพร่กระจายด้วยการสัมผัส, Syn. contagious disease |
contagious disease | (n) โรคติดต่อที่แพร่กระจายด้วยการสัมผัส, Syn. contagion |
abort | (อะบอร์ท') vt. แท้ง, คลอดก่อนกำหนด, ล้มเหลว, เจริญไม่สมบูรณ์, ด้านการแพร่พันธ์ของโรค, Syn. miscarry, go wrong |
abulia | (อะบู' เลีย) n. โรคจิตเสื่อม, การหมดกำลังจิต -abulic, adj. |
acervuloma | โรคเนื้องอกในสมองที่ประกอบด้วย psammoma bodies |
achrondroplasia | โรคกระดูกของทารกในครรภ์ทำให้แคระ |
acropathy | โรคของส่วนปลายโครงกระดูก |
acrophobia | (แอคโรโฟ' เบีย) n. โรคกลัวความสูง (dread of high places) |
actinomycosis | (แอคทินโนไมโค' ซิส) โรคติดเชื้อและอักเสบในสัตว์และคน เนื่องจากปรสิตทำให้เกิดเป็นก้อนหนองโดยเฉพะารอบขากรรไกร., Syn. lumpy jaw -actinomycotic, adj. |
acupuncture | (n. แอค' คูพังเชอะ ; vt. อะคูพัง' เชอะ) ฝังเข็มบำบัด, การใช้เข็มแทงเนื้อเยื่อ, ฝังเข็มเพื่อการบำบัดโรค |
addison' s disease | โรคที่เนื่องจากการขาด adrenocortical hormones |
aedes egypti | (เออี' ดิซอีจีพ' ไท) ยุงที่เป็นพาหะนำโรคไข้เหลือง (yellow fever) |
aerocraft | (แอ' โรคราฟทฺ) n. เครื่องบิน (plane) |
aeroembolism | (แอโรเอม' โบลิสซึม) n. โรคฟองอากาศอุดตันในหลอดโลหิต, เนื่องจากความกดดันบรรยากาศลดลงอย่างรวดเร็วในขณะบินที่สูง |
aeroneurosis | (แอโรนิวโร'ซิส) n. โรคประสาทที่เป็นกับนักขับเครื่องบิน เนื่องจากจิตเคร่งเครียดเกินไป (a psychoneurotic condition) |
aerophobia | (แอโรโฟ' เบีย) n. โรคกลัวความสูง, โรคกลัวอากาศ (abnormal fear of air) |
affect | (vi., vt. อะเฟคทฺ'; -n. เอฟ' แฟคทฺ, อะเฟคท'ฺ) -vt., vi. มีผลต่อ, ส่งผลต่อ, กระทบกระเทือน, ทำให้เสียใจ, ทำให้สงสาร, เป็น (โรค) , เสแสร้ง, ชอบ, โน้มเอียงไปทาง-n. ความรู้สึก, อารมณ์ |
african sleeping sickness | n. = African trypanosomiasis, โรคติดเชื่อปรสิต Trypanosoma gambiense หรือ T. rhodesiense โดยมีแมลง tsetse fly เป็นพาหะนำโรค |
agoraphobia | (แอกโกราโฟ' เบีย) n. โรคกลัวอยู่ในที่โล่งหรือที่ชุมชน (fear of being in open space) |
aids | abbr. (เอดสฺ) Acquired Immune Deficiency Syndrome โรคเอดส์ (โรคภูมิคุ้มกันบกพร่อง, โรคภูมิคุ้มกันเสื่อม) |
albinism | (แอล' บะนิสซึม) n. ภาวะผิวเผือก, โรคผิวเผือก. -albinistic adj. |
alcoholism | (แอลคะฮอล' ลิสซึม) n. โรคพิษสุราเรื้อรัง |
algophobia | (แอลโกโฟ' เบีย) n. โรคกลัวความเจ็บปวด (abnormal dread of pain) |
alienism | (เอ' เลียนนิสซึม, แอล' ยันนิสซึม) n. alienage, การศึกษาหรือรักษาโรคจิต (โดยเฉพาะที่เกี่ยวกับปัญหากฎหมาย) นิติจิตเวชศาสตร์. ภาวะวิกลจริต (alienage) |
alienist | (เอ' เลียนนิสทฺ, แอล' เยินนิสทฺ) แพทย์ผู้รักษาโรคจิต (โดยเฉพาะผู้ที่รู้เรื่องกฎหมาย) นิติจิตแพทย์ physcian who treats mental disorders) |
allen's law | เป็นภาวะที่เกิดในผู้ป่วยโรคเบาหวานซึ่งมีทฤษฎีนี้กล่าวว่า มีการรับคาร์โบไฮเดรตมากแต่มีการใช้ยิ่งน้อยลง |
allergen | (แอล' เลอเจน) n. สารที่ทำให้เกิดโรคภูมิแพ้ได้ |
allergenic | (แอลเลอเจน' นิค) adj. ซึ่งทำให้เกิดโรคภูมิแพ้. -allergenicity n. |
allergic | (อะเลอ' จิค) adj. เป็นโรคภูมิแพ้ |
allergy | (แอล' เลอจี) n. โรคภูมิแพ้ (เช่น ไข้ละ-อองฟาง, หอบ, หืด, ภาวะผิวหนังเป็นผื่น) , ความไม่พอใจ -allergic adj. (hypersensitivity) |
allopathy | (อะลอพ' พะธี) n. วิธีการรักษาโรคโดยใช้สารที่ออกฤทธิ์ตรงข้ามหรือเข้ากันไม่ได้กับภาวะของโรคที่กำลังรักษา. -allopathic adj. |
alopecia | (แอลละพี' เซีย) n. โรคหัวล้าน, -alopecic adj. (loss of hair, baidness) |
altitude sickness | โรคความสูงซึ่งมีอาการคลื่นเหียน อาเจียน หายใจแรงเนื่องจากขาดอ็อกซิเจน |
aminoacidopathy | โรคที่เกิดจากความผิดปกติในการย่อยของเอนไซม์ใน metabolic pathway ชองกรดอมิโนแอซิด |
amoebic dysentery | n. โรคบิดมีตัว เนื่องจากมีเชื้อบิดจำพวก Endamoeba histolytica ซึ่งทำให้ลำไส้เป็นแผลเปื่อยได้ |
amygdalopathy | โรคของต่อมทอนซิล |
amyl nitrite | ยาชนิดหนึ่งที่ใช้รักษาโรค angina pectoris (isoamyl nitrite) |
anamnesis | (แอนแอมนี' ซิส) n., (pl. -ses) n. ขอรำลึก , การชวนให้รำลึกถึงความหลัง, ประวัติโรค. -anamnestic adj. (reminiscence) |
anglomania | (แอง' โกลเม' เนีย) n. โรคบ้าอังกฤษ. -Anglomaniac n., -Anglomaniacal adj. (Anglo+mania) |
anthrax | (แอน' แธรค') n., (pl. -thraces) โรคติดต่อร้ายแรงในสัตว์เลี้ยง (วัวควาย และอื่น ๆ) เนื่องจากเชื้อ Bacillus anthracis, โรคฝีฝักบัวร้ายแรงในคน, โรคกาลีในสัตว์ |
antidiabetic | (แอนทีไดอะเบท' ทิค) n. ยาป้องกันหรือบรรเทาอาการโรคเบาหวาน |
antidiuretic hormone | อาจเรียกว่า vasopressin กระตุ้นให้ไตดูดซึมน้ำกลับไว้ในร่างกาย เป็นผลให้ปัสสาวะมีน้อยลง ถ้าขาดฮอร์โมนนี้ทำให้เกิดโรคเบาจืด ทำให้ปัสสาวะมาก กระหายน้ำมาก |
antiepiliptic | (แอนทิเอพพิเลพ' ทิค) n. ยาต้านอาการชักโรคลมบ้าหมู |
antihistamine | (แอนทีอิส' ทะมีน) n. สารต้านฤทธิ์ของ histamine ในร่างกาย, ใช้แก้อาการแพ้หรือโรคภูมิแพ้ (เช่น หวัด) -antihistaminic adj. (anti-+histamine) |
antirabic | (แอนทีเร' บิค) adj., n. ป้องกันหรือรักษาโรคกลัวน้ำ, ยาป้องกันหรือรักษาโรคกลัวน้ำ |
antituberculotic | (แอนทีทิวเบอคิวลอท' ทิค) adj. ซึ่งต่านวัณโรค. -n. ยาต้านวัณโรค |
aphasia | (อะเฟ'เซีย) n. โรคพูดไม่ได้, -phasiac n. -aphasic adj. (speechlessness) |
aplastic anemia | โรคเลือดจางชนิด aplastic |
arabinose | (อะแร'บิโนส) n. คาร์โบไอเดรทที่ใช้เป็นอาหารเพาะเชื้อโรค. -arabinosic adj. |
arbovirus | (อาร์บะไว'รัส) n. ชื่อเชื้อไวรัสที่มีแมลง เป็นพาหะนำโรคสมองอักเสบ, ไข้เหลือง, dengue fever |
asbestosis | (แอสบิสโท'ซิส) n. โรคปอดเนื่องจากสูดเอาฝิ่น asbestos เข้าไปในปอด |
ascites | (อะไซ'ทีซ) n. โรคท้องมาน, ภาวะมีน้ำในโพรงเยื่อบุช่องท้อง. -ascetic (al) adj. |
affliction | (n) ความเดือดร้อน, ความลำบาก, ความเสียใจ, ความทุกข์, โรคภัย |
ailment | (n) ความเจ็บป่วย, ความไม่สบาย, โรค |
alcoholism | (n) โรคพิษสุราเรื้อรัง |
allergy | (n) ความไวต่อการรับ, โรคภูมิแพ้ |
anaemia | (n) โรคโลหิตจาง |
anemia | (n) โรคโลหิตจาง |
anthrax | (n) โรคระบาดสัตว์ |
antiseptic | (n) ยาฆ่าเชื้อโรค |
apoplexy | (n) โรคลมชัก |
aseptic | (adj) ปราศจากเชื้อโรค |
asthma | (n) โรคหืด, โรคหอบ |
asthmatic | (adj) เกี่ยวกับโรคหืด, ซึ่งเป็นหืด |
bacteria | (n) บัคเตรี, แบคทีเรีย, เชื้อโรค |
blight | (n) สิ่งที่ทำลาย, โรคพืช |
blotch | (n) รอยเปื้อน, โรคผิวหนังพุพอง |
bronchitis | (n) โรคหลอดลมอักเสบ |
BUBONIC bubonic plague | (n) กาฬโรค |
bugs | (adj) บ้า, วิกลจริต, เป็นโรคจิต, คลั่ง |
CANKER canker sore | (n) โรคปากนกกระจอก |
canker | (n) โรคปากเปื่อย, ผื่น |
cataract | (n) แก่ง, น้ำป่า, โรคต้อกระจก |
catarrh | (n) โรคหวัด |
chiropodist | (n) หมอรักษาโรคเท้า |
cholera | (n) อหิวาตกโรค |
cirrhosis | (n) โรคตับแข็ง |
clinic | (n) คลินิก, สถานพยาบาล, ห้องรักษาโรค |
conjunctivitis | (n) โรคตาแดง |
consumption | (n) การบริโภค, วัณโรคปอด |
consumptive | (adj) เกี่ยวกับการบริโภค, เป็นวัณโรคปอด |
consumptive | (n) คนเป็นวัณโรคปอด |
contagion | (n) การติดต่อ, การแพร่กระจาย, พาหะนำโรค, โรคติดต่อ |
contagious | (adj) แพร่หลายง่าย, เป็นโรคติดต่อ, ติดต่อกันได้ |
contract | (vi, vt) หด, เกร็ง, ขมวด, จำกัดให้แคบ, ย่น, ทำสัญญา, ติดโรค |
croup | (n) โรคหลอดลมอักเสบ |
diabetes | (n) โรคเบาหวาน |
diagnose | (vt) พิจารณา, วินิจฉัย, วิเคราะห์, ตรวจโรค |
diagnosis | (n) การพิจารณา, การวินิจฉัย, การวิเคราะห์, การตรวจโรค |
diagnostic | (adj) เกี่ยวกับการวิเคราะห์โรค, เกี่ยวกับการตรวจโรค |
diarrhea | (n) โรคท้องเสีย, โรคท้องร่วง |
diarrhoea | (n) โรคท้องเสีย, โรคท้องร่วง |
diphtheria | (n) โรคคอตีบ |
disease | (n) เชื้อโรค, โรค |
diseased | (adj) มีโรค, ป่วย, เป็นโรค, ไม่สบาย |
disinfect | (vt) ฆ่าเชื้อโรค, ชำระล้าง, ทำให้ปลอดเชื้อ, ทำให้สะอาด |
disinfectant | (n) ยาฆ่าเชื้อโรค |
disinfection | (n) การฆ่าเชื้อโรค |
dropsical | (adj) เป็นโรคบวมน้ำ |
dropsy | (n) โรคบวมน้ำ |
dysentery | (n) โรคท้องร่วง, โรคบิด |
dyspepsia | (n) โรคธาตุพิการ, อาการอาหารไม่ย่อย |
*optometrist* | (n, name) นักทัศนมาตร (ผู้ประกอบวิชาชีพโดยอาศัยความรู้ทางทัศนมาตรศาสตร์ โดยต้องจบการศึกษาระดับปริญญาตรี ในสาขาทัศนมาตรศาสตร์ และมีใบประกอบโรคศิลปะ จากทางกรมสนับสนุนสุขภาพ แห่งประเทศไทย) |
Aplastic Anemia | โรคโลหิตจางที่มีลักษณะบกพร่องของอวัยวะที่ก่อให้เกิดเลือด (เช่นไขกระดูก) และเกิดจากสารพิษ (เช่นสารเคมีหรือรังสีเอกซ์) หรือไม่ทราบสาเหตุในแหล่งกําเนิด |
Beltane | (uniq) เทศกาลเฉลิมฉลอง หนึ่งใน เทศกาลแห่งเปลวเพลิง ซึ่งรับทอดมาจากศาสตร์เซลติกโบราณ ซึ่งนิยมจะเฉลิมฉลองกันในยามค่ำคืน เพแกนจะขี่เหล่าปศุสัตว์ระหว่างกองไฟซึ่งก่อ ณ กลางแจ้ง ทั้งสองกอง เป็นความเชื่อว่าจะปกป้องพวกเขาจากโรคร้าย ส่วนคู่หนุ่มสาวที่ปราถณาจะมีชีวิตคู่ที่ชุ่มชื่นก็จะ "กระโดดเหนือกองไฟ" ในคืน Beltane |
biosecurity | ความปลอดภัยทางชีวะภาพ ความหมาย มาตรการที่มุ่งป้องกันการนำเข้าและ/หรือการแพร่กระจายของสิ่งมีชีวิตที่เป็นอันตรายไปยังสัตว์และพืช เพื่อลดความเสี่ยงของการแพร่กระจายของโรคติดเชื้อ ในการเกษตร มาตรการเหล่านี้มุ่งเป้าไปที่การปกป้องพืชผลอาหารและปศุสัตว์จากศัตรูพืช ชนิดพันธุ์ที่รุกราน และสิ่งมีชีวิตอื่นๆ |
biosecurity | ความปลอดภัยทางชีวะภาพ ความหมาย มาตรการที่มุ่งป้องกันการนำเข้าและ/หรือการแพร่กระจายของสิ่งมีชีวิตที่เป็นอันตรายไปยังสัตว์และพืช เพื่อลดความเสี่ยงของการแพร่กระจายของโรคติดเชื้อ ในการเกษตร มาตรการเหล่านี้มุ่งเป้าไปที่การปกป้องพืชผลอาหารและปศุสัตว์จากศัตรูพืช ชนิดพันธุ์ที่รุกราน และสิ่งมีชีวิตอื่นๆ |
biosecurity | ความปลอดภัยทางชีวะภาพ ความหมาย มาตรการที่มุ่งป้องกันการนำเข้าและ/หรือการแพร่กระจายของสิ่งมีชีวิตที่เป็นอันตรายไปยังสัตว์และพืช เพื่อลดความเสี่ยงของการแพร่กระจายของโรคติดเชื้อ ในการเกษตร มาตรการเหล่านี้มุ่งเป้าไปที่การปกป้องพืชผลอาหารและปศุสัตว์จากศัตรูพืช ชนิดพันธุ์ที่รุกราน และสิ่งมีชีวิตอื่นๆ |
Biotrophs | (n) เชื้อโรคที่ตามธรรมชาติ ได้รับอาหารจากเนื้อเยื่อ และดำรงชีวิตอยู่จนครบชีพจักรบนพืชอาศัยที่มีชีวิตอยู่ |
black death | (n) กาฬโรค, Syn. bubonic plague |
brittle bones | โรคกระดูกพรุน, Syn. osteogenesis imperfecta |
byssinosis | (n) โรคปอดฝุ่นฝ้าย |
Carbonic Anhydrase Inhibitors (CAIs) | เป็นชั้นของยาที่ระงับกิจกรรมของคาร์บอ ในทางการใช้ทางคลินิกได้รับการจัดตั้งขึ้นเป็นตัวแทนของโรคต้อหิน, ยาขับปัสสาวะ, ยากันชัก, ในการจัดการของเข่มาภูเขา, กระเพาะอาหารและลำไส้เล็กเป็นแผล, ความผิดปกติของระบบประสาท, หรือโรคกระดูกพรุน |
chikungunya | [ชิคุนกุนยา] (n) โรคติดเชื้อไวรัสชิคุนกุนยา มียุงลายเป็นพาหะนำโรค ทำให้ผู้ป่วยมีอาการไช้สูงฉับพลัน มีผื่นแดงขึ้นตามร่างกายและอาจมีอาการคัน ตาแดง ในผู้ใหญ่จะพบอาการปวดข้อร่วมด้วย |
chronic disease | (n) โรคประจำตัว |
Clostridium difficile | [คลอสตริเดียม ดิฟฟิไซล] แบคทีเรียหนึ่งในสาเหตุที่พบมากที่สุดของการติดเชื้อของลำไส้ใหญ่ ในสหรัฐอเมริกามีผลต่อผู้คนนับล้านต่อปี ผู้ป่วยที่ใช้ยาปฏิชีวนะอยู่ในความเสี่ยงของการกลายเป็นติดเชื้อกับการรักษาได้ยาก. ยาปฏิชีวนะจะรบกวนแบคทีเรียปกติของลำไส้, ช่วยให้ดื้อยาแบคทีเรียที่จะกลายเป็นตัวต้านที่อยู่ภายในลำไส้ใหญ่. หลายคนติดเชื้อแบคทีเรียรักษาลำบากเพราะไม่มีอาการ. คนเหล่านี้กลายเป็นผู้ให้บริการของเชื้อแบคทีเรียและสามารถติดเชื้อผู้อื่น ในคนอื่นๆ, สารพิษที่มีผลก่อให้เกิดโรคอุจจาระร่วง, อาการปวดท้อง, การอักเสบอย่างรุนแรงของลำไส้ใหญ่ (ไส้ใหญ่), ไข้, การตรวจนับเม็ดเลือดขาว, อาเจียนและการคายน้ำ. ในผู้ป่วยที่ได้รับผลกระทบอย่างรุนแรง, เยื่อบุภายในของลำไส้ใหญ่จะกลายเป็นที่รุนแรงอักเสบ (สภาพที่เรียกว่าเยื่อแผ่นบาง ๆ รอบเซลล์ผิดปกติ). ไม่ค่อยมีผนังและหลุมพัฒนา (ลำไส้ใหญ่จะไม่ค่อยมีผนังกั้นแต่จะเป็นรูพรุน) ซึ่งสามารถนำไปสู่การติดเชื้อที่คุกคามชีวิตของช่องท้อง |
coeliac disease | โรคแพ้กลูเต็น |
Compartment syndrome | เงื่อนไขที่เจ็บปวดและอันตรายที่เกิดจากการสะสมของความดันจากเลือดออกภายในหรือบวมของเนื้อเยื่อ ความดันลดการไหลเวียนของเลือด, กีดกันกล้ามเนื้อและเส้นประสาทของการบํารุงที่จําเป็น.อาการอาจรวมถึงอาการปวดอย่างรุนแรงความรู้สึกของหมุดและเข็มและความอ่อนแอของพื้นที่ที่ได้รับผลกระทบ สําหรับกรณีที่รุนแรงของโรคช่องจําเป็นต้องผ่าตัดฉุกเฉิน |
congenital disease | (n) โรคแต่กำเนิด |
COVID | เชื้อไวรัสโคโรนา (Corona virus) โดย CO ย่อมากจาก Corona (ชื่อของเชื้อไวรัส), VI ย่อมาจาก Virus, และ D ย่อมาจาก disease แปลว่า โรคหรือเชื้อโรค ในปี พ.ศ. 2562 (ค.ศ. 2019) มีการระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนาสายพันธ์ใหม่ เป็นที่เรียกกันในช่วงแรกว่า 2019 novel coronavirus (แปลว่า เชื้อไวรัสโคโรนาสายพันธ์ใหม่ 2019) หรือ 2019-nCoV ต่อมาเป็นที่นิยมเรียกในชื่อ COVID-19 โดยตัวเลข 19 มาจากปี ค.ศ. 2019 ที่ไวรัสเริ่มมีการระบาดนั่นเอง |
Cystic fibrosis | โรคทางพันธุกรรมที่มีผลต่อต่อมขับออก(ภายนอก) มันทําให้เกิดการผลิตของเมือกหนาผิดปกติ, นําไปสู่การอุดตันของท่อตับอ่อน, ลําไส้, และหลอดลมและมักจะส่งผลให้ติดเชื้อทางเดินหายใจ. |
Cystic kidney | โรคไตเรื้อรังเกิดขึ้นเมื่อไตของคนพัฒนาถุงที่เต็มไปด้วยของเหลวที่เรียกว่าซีสต์เมื่อเวลาผ่านไป โรคไตเรื้อรังที่ได้รับไม่เหมือนกับโรคไตกลายเป็นถุงน้ำ, โรคอื่นที่ทําให้เกิดไตในการพัฒนากลายเป็นซีสต์ |
degenerative disc disease | โรคหมอนรองกระดูกเสื่อม |
dermatophyte | (n) เชื้อราที่เป็นปรสิตบนผิวหนังทำให้เกิดโรคผิวหนังบางชนิดเช่น กลาก |
dermatophytosis | (n) โรคผิวหนังชนิดหนึ่งแสดงโดยอาการอักเสบของผิวหนังและกล้ามเนื้ออ่อนแรง |
Desorientierung { f }; Verwirrung { f } | (n) การไม่มีสภาพในการจำเวลาและสถานที่, การจำเวลาและสถานที่ไม่ได้ (เกิดจากความผิดปกติจากโรคทางกายหรือทางประสาท) |
diverticulosis | (n) โรคถุงผนังสำไส้อักเสบ, See also: A. -, diverticulum, Syn. - |
Doctrine of Signature | [doc-trin of sik-na-tur] (n) การบำบัดรักษาโรคด้วยส่วนของพืชที่มีลักษณะพ้องจองกับอวัยวะหรืออาการนั้นๆ, สัญลักษณาการบำบัด (สญฺญลกฺษณ+อาการฺ+ขจดฺ), Syn. สัญลักษณ์บำบัด |
epidermic area | (uniq) พื้นที่ระบาดของโรค, แหล่งระบาด |
fomite | (n) วัตถุที่เป็นพาหะนำเชื้อโรค เช่น จานชาม หนังสือ ลูกบิดประตู เสื้อผ้า เป็นต้น |
Haloperidol | แก้ซึมเศร้าของระบบประสาทส่วนกลาง ที่ใช้โดยเฉพาะอย่างยิ่งเป็นยารักษาโรคจิตเวช |
Hemibiotrophs | (n) เชื้อโรคที่เป็นปรสิตโดยได้รับอาหารจากเนื้อเยื่อพืชอาศัยซึ่งยังมีชีวิตอยู่ เมื่อเนื้อเยื่อส่วนนั้นตาย เชื้อจะสามารถเจริญต่อไปและเกิดสปอร์ในภายหลังได้ |
Hepatorenal Syndrome | กลุ่มอาการโรคไตเนื่องจากโรคตับ เป็นภาวะทางการแพทย์อย่างหนึ่งซึ่งอาจเป็นอันตรายถึงชีวิต ทำให้ผู้ป่วยโรคตับแข็งหรือตับวายเต็มขั้นมีการทำงานของไตเสื่อมลงอย่างเฉียบพลัน โรคนี้มักเป็นอันตรายถึงแก่ชีวิตหากไม่ได้รับการผ่าตัดเปลี่ยนตับ การรักษาอื่นๆ เช่นการฟอกเลือด อาจช่วยชะลอการดำเนินโรคได้ |
hippopotomonstrosesquipedaliophobia | [ฮิปโปโปโตมอนสโตรเซสควิปพีดาลิโอโฟเบีย] (n) โรคกลัวคำยาว ๆ |
home remedy | รักษาโรคด้วยตนเอง |
Host range | (n) ช่วงของพืชที่เชื้อโรคหรือปริสิตสามารถก่อให้เกิดโรคได้ |
Hyperaldosteronism | เป็นโรคต่อมไร้ท่อที่เกี่ยวข้องกับหนึ่งหรือทั้งสองของต่อมหมวกไตของคุณสร้างมากเกินไปของฮอร์โมนที่เรียกว่า (aldosterone ฮอร์โมนในกลุ่มมิเนราโลคอร์ติคอยด์ ซึ่งสร้างจากอะดรีนัลคอร์เทกซ์ของต่อมหมวกไต ทำหน้าที่ควบคุมสมดุลของโซเดียมในเลือด). ทําให้ร่างกายสูญเสียโพแทสเซียมมากเกินไปและรักษาโซเดียมมากเกินไปซึ่งเพิ่มการกักเก็บน้ําปริมาณเลือดและความดันโลหิต |
Hypersensitivity | แพ้ (หรือที่เรียกว่าปฏิกิริยาแพ้หรือแพ้) หมายถึงปฏิกิริยาที่ไม่พึงประสงค์ที่ผลิตโดยระบบภูมิคุ้มกันปกติรวมถึงโรคภูมิแพ้และภูมิคุ้มกันอัตโนมัติ ปฏิกิริยาแพ้ต้องมีสถานะก่อนไวต่อความรู้สึก (ภูมิคุ้มกัน) ของโฮสต์ (สัตว์หรือพืชที่เป็นที่อาศัยของปรสิต) |
ibs | (n) IBS หรือ irritable bowel syndrome โรคลำไส้แปรปรวน |
infarction | [อิน ฟาร์ค ชั่น] (n) เป็นการตายของเนื้อเยื่อ (necrosis)เนื่องจากบริเวรที่เกิดปัญหามีเลือดไปหล่อเลี้ยงไม่เพียงพอหรือไม่มีเลือดไปเลี้ยงเลยทำให้เกีดเป็นบริเวณเนื้อตาย อาจเกีดจากการอุดตัน การแตกของหลอดเลือดที่ไปเลี้ยง ซึ่งรอยโรคที่เกิดจากพภาวะดังกล่าวเรียกว่า an infarct (มาจากภาษาลาตินคำว่า infartus "อุดตัน.) ตัวอย่าง cerebral infarction "เนื้อสมองตายจากการขาดเลือดไปเลี้ยง" |
intra cranial hemorrhage | (n) โรคเส้นเลือดในสมองแตก, Syn. intra cerebral hemorrhage |
inulin | (n) สารอินูลิน (สารที่ช่วยให้แบคทีเรียที่มีประโยชน์ในลำไส้เพิ่มจำนวนมากขึ้น และยับยั้งการเพิ่มจำนวนของแบคทีเรียสาเหตุโรคท้องร่วง ใช้เป็นสารทดแทนไขมันในครีม เนยแข็ง และไอศกรีม เพิ่มใยอาหารในผลิตภัณฑ์นม เป็นสารที่ให้ความหวานแต่ไม่ให้พลังงาน) |
Kaposi's Sarcoma | (n) โรคมะเร็งคาโปซี, โรคมะเร็งคาโปซิซาร์โคมา, โรคเคเอส (KS) |
Lap chold | เกี่ยวข้องกับการกำจัดของถุงน้ำดีผ่านวิธีการผ่านกล้อง. ถุงน้ำดีมักจะเก็บน้ำดีที่ผลิตในตับจนกว่าจะจำเป็นสำหรับการย่อยอาหาร แต่น่าเสียดายที่ถุงน้ำดีมักจะเป็นโรคนิ่ว |
Leptospirosis | (n) โรคฉี่หนู |
Lichen planus | เป็นสภาพผิวอักเสบที่คันแต่ไม่ติดเชื้อผื่นผิวบนแขนและขา ประกอบด้วยขนาดเล็กหลายด้านแบน-ราด, สีชมพูหรือสีม่วงคล้ำ ผู้เชี่ยวชาญผิวหนังจํานวนมากเชื่อว่ามันอาจจะเป็นโรคภูมิต้านทาน |
Macrovascular | โรคของหลอดเลือดขนาดใหญ่เช่นที่พบในหัวใจ ไขมันและเลือดอุดตันสร้างขึ้นในหลอดเลือดขนาดใหญ่และอาจทำให้เกิดหลอดเลือด, โรคหัวใจ, หลอดเลือดสมอง, และโรคหลอดเลือดต่อมา |
Microischemia | โรคหลอดเลือดสมองขาดเลือดเป็นคําที่ใช้อธิบายการเปลี่ยนแปลงของหลอดเลือดขนาดเล็กในสมอง.การเปลี่ยนแปลงของหลอดเลือดเหล่านี้สามารถสร้างความเสียหายบริเวณสีขาวของสมองและไขสันหลังเป็นบริเวณที่มีใยประสาทอยู่เป็นจำนวนมาก - เนื้อเยื่อสมองที่มีเส้นใยประสาทและทําหน้าที่เป็นจุดเชื่อมต่อไปยังส่วนอื่น ๆ ของสมอง |
multiple sclerosis | (n) โรคปลอกหุ้มเส้นประสาทอักเสบ, Syn. M.S. |
neurodegenerative | เกี่ยวกับโรคทางระบบประสาท |
osteoporose | (n) โรคกระดูกพรุน |
paranoid schizophrenia | (n) โรคจิตเภทแบบหวาดระแวง |
医院 | [いいん, iin] (n) คลีนิก, ห้องตรวจโรค, ห้องรักษาโรค, See also: R. 病院、診療室 |
狂牛病 | [きょうぎゅうびょう, kyougyuubyou] (n) โรควัวบ้า |
罹病率 | [りびょうりつ, ribyouritsu] (n) อัตราการติดเชื้อ, อัตราการป่วยเป็นโรค |
発疹チフス | [はっしんちふす, hasshinchifusu] (n) โรคไข้รากสาด |
糖尿病 | [とうにょうびょう, tounyoubyou] (n) โรคเบาหวาน |
ノイローゼ | [のいろーぜ, noiroze] (n) โรคประสาท (Eng. Neurosis) |
心臓病 | [しんぞうびょう, shinzoubyou] (n, name) โรคหัวใจ |
精神病 | [せいしんびょう, seishinbyou] (n) โรคจิต |
胃腸病 | [いちょうびょう, ichoubyou] โรคกระเพาะอาหารและลำไส้ (Peptic Ulcer) |
おたふく風邪 | [おたふくかぜ, otafukukaze] (n) โรคคางทูม |
阿多福風邪 | [おたふくかぜ, otafukukaze] (n) โรคคางทูม |
気管支炎 | [きかんしえん, kikanshien] (n) โรคหลอดลมอักเสบ (Bronchitis) |
hentai | [きかんしえん, hentai] (n) มาจากภาษาญี่ปุ่น หมายถึง คนที่โรคจิตหรือ อาการจิตผิดปกติ มักใช้ไปในทางลามกและทางที่ไม่ดี, See also: S. pervert |
麻しん | [ましん, mashin] (n) โรคหัด |
百日咳 | [ひゃくにちぜき, hyakunichizeki] โรคไอกรน |
豚インフルエンザ | [ぶたいんふるえんざ, butainfuruenza] (n) โรคไข้หวัดหมู หรือ โรคไข้หวัดเม็กซิกัน |
胃炎 | [いえん, ien] (n) โรคกระเพาะ |
綿肺症 | [めんはいしょう, menhaishou] (n) โรคปอดฝุ่นฝ้าย |
綿肺症 | [めんはいしょう, menhaishou] (n) โรคปอดฝุ่นฝ้าย |
帯状疱疹 | [たいじょうほうしん, taijouhoushin] (n) โรคงูสวัด, งูสวัด Image: |
殺菌 | [さっきん, sakkin, sakkin , sakkin] การฆ่าเชื้อ (โรค) |
殺菌剤 | [さっきんざい, sakkinzai] ยาฆ่าเชื้อ, สารฆ่าเชื้อ (โรค) |
肺炎 | [はいえん, haien] โรคปอดบวม, See also: R. pneumonia |
狂犬病 | [きょうけんびょう, kyoukenbyou] โรคพิษสุนัขบ้า |
白血病 | [はっけつびょう, hakketsubyou] โรคมะเร็งในเม็ดเลือดขาว, See also: R. leukemia |
脚気 | [かっけ, kakke] (n) โรคเหน็บชา, See also: R. beriberi |
胃潰瘍 | [いかいよう, ikaiyou] (n) โรคแผลในกระเพาะอาหาร, See also: R. stomach ulcer |
症候群 | [しょうこうぐん, shoukougun] กลุ่มอาการของโรค, See also: R. syndrome |
厨房 ; 中坊 ; 中に病 | [จูโบ จูนิเบียว จูนิบโย chuubou chuububyou ちゅうにびょう ちゅうぼう] (n, slang) ความหมายโดยแท้จริง แปลว่า ครัว แต่เนื่องจากไปพ้องเสียงกับอีกคำแสลงอีกคำที่มีความหมายว่า เกรียน (ทำตัวเป็นเด็กไม่รู้จักโต ก่อกวน หรือสร้างความรำคาญให้ผู้อื่น) คือ 中坊 (เด็กมัธยมต้น หรือ เด็กที่ไม่รู้จักโต) และในขั้นตอนเวลาพิมพ์คำว่า 中坊 มักจะไม่ออกมาให้เลือก ชาวญี่ปุ่นส่วนใหญ่จึงใช้คำ 厨房 ในเชิงคำแสลงว่า "เกรียน" แทนคำเดิมไปโดยปริยาย นอกจากนี้ยังมีคำว่า 中に病 (ちゅうにびょう)ซึ่งแปลว่า "โรคเด็กม.ต้น" ก็มีใช้ในความหมายเชิงว่า เกรียน ได้ด้วยเ่ช่นกัน (ขอบคุณข้อมูลจากเพจ "เรียนภาษาญี่ปุ่นกับโอมเซนเซ" ด้วยค่ะ) |
日本感染症学会 | [にほんかんせんしょうがっかい, nihonkansenshougakkai] (n, name, uniq) สมาคมป้องกันโรคติดต่อประเทศญี่ปุ่่น the Japanese Association for Infectious Diseases |
風疹 | [ふうしん, fuushin] โรคหัดเยอรมัน |
風疹 | [ふうしん, fuushin] โรคหัดเยอรมัน |
後遺症 | [こういしょう, kouishou] (exp) ผลสืบเนื่อง, ผลที่ตามมา, อาการที่ตามมา(ของโรคภัยไข้เจ็บ) |
Epidemie | (n) |die, pl. Epidemien| โรคระบาด |
Maßnahmen ergreifen | (phrase) ลงมือทำ จัดการทำ เช่น Wir müssen Maßnahmen gegen SARS-Epidemie ergreifen. เราต้องลงมือหาทางแก้โรคระบาดไวรัสซาร์ |
Beschwerde | (n) |die, pl. Beschwerden| การไม่สบาย, ความมีโรคเจ็บป่วย, See also: die Krankheit |
leiden an (+D) | (vi) เจ็บป่วยด้วยโรค เช่น Seine Frau leidet an Krebs. ภรรยาของเขาป่วยด้วยโรคมะเร็ง |
impfen | (vt) |impfte, hat geimpft| ฉีดวัคซีน เช่น Ich muß mich gegen Pokken impfen lassen. = ผมต้องไปรับวัคซีนป้องกันโรคไข้ทรพิษ(โรคฝีดาษ) |
Impfung | (n) |die, pl. Impfungen| การรับวัคซีนป้องกันโรค |
Impfstoff | (n) |der, pl. Impfstoffe| เซรุ่มหรือวัคซีนป้องกันโรค |
Impfschein | (n) |der, pl. Impfscheine| หนังสือบันทึกการรับวัคซีนป้องกันโรค |
Impfzwang | (n) |der, nur Sg.| การบังคับเข้ารับวัคซีนป้องก้นโรค |
chronisch | (adj) เรื้อรัง เช่น chronisch kranke Menschen คนที่ป่วยเป็นโรคเรื้อรัง |
sterben | (vi) |stirbt, starb, ist gestorben| ตาย, เสียชีวิต เช่น Mein Großvater starb im Alter von 65 an Krebs. คุณตาของฉันเสียชีวิตตอนอายุ 65 ปี ด้วยโรคมะเร็ง |
an etw.(Dat.) sterben | (vi) เสียชีวิตด้วยสาเหตุหนึ่งใด เช่น Er ist an einem Herzinfarkt gestorben. เขาสิ้นใจด้วยโรคหัวใจล้มเหลว |
Erkrankung | (n) |die, pl. Erkrankungen| โรค, การเจ็บป่วย, โรคภัยไข้เจ็บ เช่น Viele Erkrankungen des Gehirns und des Herzens beruhen auf einem gestörten Signalaustausch zwischen den Zellen. โรคทางสมองและหัวใจมากมายมีสาเหตุมาจากระบบการแลกเปลี่ยนสัญญาณระหว่างเซลล์ที่ได้ถูกรบกวน |
Hals-Nasen-Ohren-Krankheit | (n) |die, pl. Hals-Nasen-Ohren-Krankheiten| โรคคอหูจมูก |