160 Results for *publication*
/พะ บลิ เค้ เฉิ่น/     /P AH2 B L IH0 K EY1 SH AH0 N/     /pˌʌblɪkˈeɪʃən/
ฝึกออกเสียง
หรือค้นหา: publication, -publication-

NECTEC Lexitron Dictionary EN-TH
publication(n) สิ่งตีพิมพ์
publication(n) ธุรกิจการพิมพ์

Hope Dictionary
publication(พับละเค'เชิน) n. การประกาศ, การแถลง, การโฆษณา, การพิมพ์โฆษณา, หนังสือพิมพ์, สิ่งตีพิมพ์, Syn. printing, publicity

Nontri Dictionary
publication(n) การโฆษณา, การประกาศ, การพิมพ์หนังสือจำหน่าย, สิ่งพิมพ์
republication(n) การพิมพ์ใหม่, การตีพิมพ์อีก

ศัพท์บัญญัติราชบัณฑิตยสถาน
publication๑. การประกาศโฆษณา๒. สิ่งพิมพ์เผยแพร่ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
publication of bannsการประกาศชื่อผู้จะสมรส [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕]
service by publicationการส่งหมายหรือคำคู่ความโดยวิธีประกาศในหนังสือพิมพ์ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
obscene publicationสิ่งพิมพ์ลามก [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]

คลังศัพท์ไทย (สวทช.)
Cataloging in Publicationการจัดทำข้อมูลรายการในสิ่งพิมพ์ , การจัดทำข้อมูลรายการในสิ่งพิมพ์, Example: Cataloging in Publication หรือ CIP คือ การจัดทำรายการข้อมูลในสิ่งพิมพ์ เป็นโครงการหนึ่งของหอสมุดรัฐสภาอเมริกับหน่วยงานอื่นๆ ในการจัดการรายการบรรณานุกรม โครงการนี้ เริ่มเมื่อปี ค.ศ. 1971 เพื่อกระจายข้อมูลทางบรรณานุกรมของหอสมุดรัฐสภาอเมริกันและหน่วยงานที่ร่วมโครงการ ข้อมูลที่นำมาสร้างข้อมูลรายการสิ่งพิมพ์นี้ ได้มาจากสำนักพิมพ์ผู้ร่วมโครงการ มีข้อมูลมากพอที่ให้บรรณารักษ์ใช้ในการทำบัตรรายการหรือรายการหลักได้ หรือใช้เป็นตัวช่วยในการลงรายการ โดยมีการดัดแปลงหรือแก้ไขให้ตรงกับนโยบายในการลงรายการ หรือให้มีความเหมาะสมกับการให้บริการของห้องสมุดมากขึ้น ทำให้ลดเวลาในการวิเคราะห์หนังสือได้มาก สามารถส่งหนังสือออกให้บริการได้เร็วขึ้น <p> <p> การจัดทำ Cataloging ของหอสมุดแห่งชาติรัฐสภาอเมริกัน มีความสมบูรณ์ในกระบวนการจัดทำรายการบรรณานุกรมของหนังสือ กล่าวคือ สำนักพิมพ์จะต้องส่งแบบฟอร์มการลงรายการบรรณานุกรม (CIP Data Application form) พร้อมเอกสารฉบับเต็มมายังหอสมุดแห่งชาติรัฐสภาอเมริกัน ซี่งเจ้าหน้าที่ของงานวิเคราะห์ทรัพยากรสารสนเทศกำหนดการลงรายการบรรณานุกรม พร้อมส่งกลับไปยังสำนักพิมพ์ เพื่อจัดพิมพ์ข้อมูลบรรณานุกรมดังกล่าวลงในหน้าหลังหน้าปกใน (Verso) ซึ่งรูปแบบรายการบรรณานุกรมที่เครื่องคอมพิวเตอร์อ่านได้ ก็จะถูกส่งออกไปยังห้องสมุด และร้านค้าหนังสือทั่วโลก แต่กระบวนการกำหนดข้อมูลบรรณานุกรมยังไม่เสร็จสิ้นสมบูรณ์จนกว่าสำนักพิมพ์จะส่งหนังสือกลับมายังงานวิเคราะห์ทรัพยากรสารสนเทศอีกครั้งเพื่อเติมข้อมูลให้ครบถ้วนสมบูรณ์ เช่น จำนวนหน้า ขนาดและตรวจสอบความถูกต้องจากการพิมพ์ของสำนักพิมพ์อีกครั้ง หลังจากการตรวจสอบ รูปแบบรายการบรรณานุกรมที่เครื่องคอมพิวเตอร์อ่านได้จะถูกเผยแพร่อีกครั้ง จากกระบวนการดังกล่าวนี้เอง ทำให้หอสมุดแห่งชาติรัฐสภาอเมริกัน สามารถจัดเก็บหนังสือทุกเล่มที่ผลิตในประเทศ และเป็นการควบคุมบรรณานุกรมของสิ่งพิมพ์ที่ผลิตในประเทศสหรัฐอเมริกาได้อย่างครบถ้วน <p> <p> หอสมุดแห่งชาติออสเตรเลีย เป็นอีกแห่งหนึ่งที่ประสบผลสำเร็จในการจัดทำฐานข้อมูลบรรณานุกรมแห่งชาติด้วยกรอบของวิธีการ ๒ แนวทาง กล่าวคือ กฎหมายการพิมพ์ที่ให้ความสำคัญกับหอสมุดแห่งชาติในการจัดเก็บสิ่งพิมพ์ของประเทศ และการแบ่งปันรายการบรรณานุกรมระหว่างห้องสมุดทั้งภายในและต่างประเทศ โดยหน้าที่สำคัญประการหนึ่งของหอสมุดแห่งชาติออสเตรเลีย ก็คือ การกำหนดข้อมูลบรรณานุกรมของสิ่งพิมพ์ซึ่งมีกระบวนการที่ไม่ต่างจากหอสมุดแห่งชาติรัฐสภาอเมริกันเท่าใดนัก นับตั้งแต่สำนักพิมพ์ส่งงานที่จะพิมพ์พร้อมเลข ISBN ที่ได้รับมาจากตัวแทนออกเลข ISBN จนถึงส่งมาให้หอสมุดแห่งชาติออสเตรเลียจัดทำข้อมูลบรรณานุกรมแห่งชาติ จนถึงขั้นตอนสุดท้ายของการจัดทำ CIP คือ การส่งสิ่งพิมพ์ดังกล่าวเข้าหอสมุดแห่งชาติออสเตรเลีย <p> <p> ส่วนหอสมุดแห่งชาติอังกฤษ สำนักพิมพ์ และร้านหนังสือที่จัดพิมพ์หนังสือใหม่ ซึ่งต้องการข้อมูลทางบรรณานุกรมของหนังสือ (Cataloguing-in-Publication - CIP) รวมถึงห้องสมุดที่ต้องการข้อมูลหนังสือใหม่เพื่อแจ้งไปยังผู้ใช้บริการในรูปแบบของ Alert services จะต้องติดต่อขอรับบริการข้อมูล CIP ที่ Bibliographic Data Services Limited - BDSL ซึ่งเป็นบริษัทเอกชนที่มีความเชี่ยวชาญในการจัดทำ CIP ซึ่งมีมาตรฐานตามที่หอสมุดแห่งชาติอังกฤษกำหนด ด้วยการติดต่อตรงไปยัง BDSL หรือติดต่อผ่านไปที่หอสมุดแห่งชาติอังกฤษ ทั้งนี้ข้อมูล CIP ที่ได้อาจใช้เป็นเพียงข้อมูลเบื้องต้นในการลงรายการข้อมูลทางบรรณานุกรม จนกว่าหอสมุดแห่งชาติอังกฤษจะได้รับตัวเล่มจากสำนักพิมพ์ จึงจะมีการวิเคราะห์ทรัพยากรสารสนเทศอีกครั้งเพื่อเพิ่มเติมข้อมูลให้ครบถ้วน เพื่อเป็นแหล่งอ้างอิงที่ถาวรต่อไป <p> <p> ในประเทศไทย หอสมุดแห่งชาติ รับบริการจัดทำข้อมูลทางบรรณานุกรมให้กับสำนักพิมพ์หรือหน่วยงานที่ขอใช้บริการเช่นเดียวกับการให้บริการหมายเลข ISBN <p> <p><img src="http://thaiglossary.org/sites/default/files/20110314-CIP.jpg" width="640" height="200" alt="CIP"> ภาพตัวอย่าง CIP หนังสือภาษาต่างประเทศ <p><img src="http://thaiglossary.org/sites/default/files/20110315-cip.jpg" width="640" height="200" alt="CIP2"> ภาพตัวอย่าง CIP หนังสือภาษาไทย <p>รายการบรรณานุกรม <p>United States Copyright Office. [ ออนไลน์ ] http://en.wikipedia.org/wiki/United_States_Copyright_Office. Accessed: 20100628 : 00.07. <p> <p>Haddad, Peter. 1999. National bibliography in Australia: moving into the next millennium. [ ออนไลน์ ] http://archive.ifla.org/IV/ifla65/papers/016-123e.htm. Accessed: 20100629 : 09.50. <p> <p>National Library of Australia. Cataloguing-in-publication user guide. [ ออนไลน์ ] http://www.nla.gov.au/services/user-guide.html. Accessed: 20100629 : 09.55. <p> <p>Bibliographic Data Services Limited. [ ออนไลน์ ]. http://www.bibliographicdata.co.uk. Accessed: 20100629 : 17.30. <p> <p>Nielsen UK ISBN Agency. [ ออนไลน์ ] http://www.isbn.nielsenbook.co.uk/controller.php?page=121. Accessed: 20100629 : 14.25. <p> <p>The British National Bibliography. [ ออนไลน์ ] http://www.bl.uk/bibliographic/natbib.html. Accessed: 20100629 : 13:00. [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Government publicationสิ่งพิมพ์รัฐบาล [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Date of publicationปีที่พิมพ์ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
No place of publicationไม่ปรากฏสถานที่พิมพ์ (มปท.) [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Place of publicationสถานที่พิมพ์ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Publicationสิ่งพิมพ์ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Year of publicationปีที่พิมพ์, Example: <p>ปีที่พิมพ์ (Year of publication) หมายถึง ปีที่ตีพิมพ์หนังสือ เป็นส่วนที่บอกว่าหนังสือนั้นตีพิมพ์เมื่อใด ระบุเป็นปีที่พิมพ์ ทั้งไทยและสากล ขึ้นอยู่กับภาษาที่ใช้ในการเขียนหนังสือ เช่น 2555 หรือ 2012 <p>ปีที่พิมพ์ แตกต่างจากคำว่า ปีพิมพ์ (Volume : Vol. ) ที่ใช้สำหรับสิ่งพิมพ์ประเภทวารสาร ซึ่งหมายถึง จำนวนปีที่ได้ตีพิมพ์วารสารนั้นออกมา เช่น ปีพิมพ์ที่ 2 (Vol. 2) หมายถึง วารสารรายชื่อนั้นตีพิมพ์เป็นปีที่ 2 <p>ปีที่พิมพ์ เป็นส่วนหนึ่งที่สำคัญในการเขียนบรรณานุกรม ซึ่งให้รายละเอียดของหนังสือ คือ ชื่อผู้แต่ง ชื่อเรื่อง ครั้งที่พิมพ์ สถานที่พิมพ์ ปีที่พิมพ์ จำนวนหน้าหรือจำนวนเล่ม ภาพประกอบ อาจมีบรรณนิทัศน์ (คำอธิบายสาระสำคัญของหนังสือโดยย่อ) ประกอบด้วย <p>หนังสือบางเล่มอาจไม่ระบุปีที่พิมพ์ หากไม่มี ให้ใช้ว่า (ม.ป.ป.) ถ้าหนังสือไม่ปรากฏทั้งสถานที่พิมพ์และปีที่พิมพ์ ให้ใช้ว่า (ม.ป.ท., หรือ ม.ป.ป.) [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Acquisition of serial publicationการจัดหาวารสาร, Example: <p>วารสาร (Journals, Serials, Periodicals) คือ ทรัพยากรสารสนเทศ ความรู้ ประเภทหนึ่งในห้องสมุดที่มีความสำคัญและเป็นประโยชน์ในการติดตามความเคลื่อนไหวและความก้าวหน้าในเทคโนโลยีใหม่และงานวิจัย วิชาการในสาขาหนึ่ง ๆ วารสารโดยเฉพาะวารสารวิชาการนับว่ามีความสำคัญ และเป็นที่ยอมรับกันอย่างแพร่หลายในการเผยแพร่บทความ ความรู้ และเพื่อประโยชน์ในการต่อยอดผลงานวิจัย วิชาการ และการเป็นเอกสารอ้างอิง วารสารวิชาการบางชื่อได้รับการเชื่อถือและยอมรับว่าเป็นทฤษฎีที่ค้นพบใหม่จริง เป็นประโยชน์ในการพัฒนาคุณภาพชีวิต สิ่งแวดล้อม และสังคม <p>ความสำคัญและคุณค่าของวารสารวิชาการเป็นเงื่อนไขหนึ่งที่ผลักดันให้ห้องสมุดต้องจัดหามาให้บริการ นอกเหนือจากเอกสาร หนังสือ และตำรา ต่าง ๆ และด้วยศักยภาพเทคโนโลยีที่มีความก้าวหน้าอย่างรวดเร็วในปัจจุบัน ส่งผลให้กระบวนการตีพิมพ์บทความวารสารวิชาการมีการเปลี่ยนแปลงและพัฒนาไปอย่างรวดเร็ว โดยจากเดิมที่ตีพิมพ์บทความในรูปแบบวารสารฉบับพิมพ์หรือรูปเล่ม ปรับเปลี่ยนเป็นรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Journals) หรือออนไลน์ที่ผู้อ่านสามารถเข้าถึงบทความได้อย่างง่ายดาย สะดวกและรวดเร็ว ทุกที่และทุกเวลาในโลก พร้อมทั้งช่วยให้การรวบรวมและจัดการข้อมูลสามารถทำได้อย่างรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ นับเป็นแนวโน้มสำคัญของห้องสมุดในปัจจุบัน ในการเรียนรู้วิธีและการบริหารจัดการในการบอกรับรูปแบบใหม่ดังกล่าว <p>อย่างไรก็ตามห้องสมุดหลายแห่งโดยเฉพาะห้องสมุดในประเทศกำลังพัฒนามักประสบปัญหาเรื่องงบประมาณที่มีจำกัดในการจัดหาวารสารวิชาการที่มีราคาสูง รวมทั้งนโยบายการจัดสรรงบประมาณของหน่วยงานที่ไม่แน่นอนในแต่ละปี สวนทางกับความต้องการของผู้ใช้บริการที่ยังคงมีอย่างต่อเนื่อง ห้องสมุดจึงได้ดำเนินการทุกวิถีทางในการหาหนทางแก้ไขปัญหาดังกล่าว เช่น การสำรวจการใช้วารสารวิชาการ เพื่อพิจารณายกเลิกชื่อที่มีการใช้น้อย จัดเรียงลำดับความต้องการจากมากที่สุดไปสู่ระดับรองลงไป เพื่อให้เหมาะสมกับการใช้งานได้อย่างคุ้มค่ากับการลงทุน รวมทั้งวิธีการติดต่อขอยืม ถ่ายสำเนา จากห้องสมุดแหล่งอื่น ๆ กล่าวคือไม่มีห้องสมุดแห่งใดในโลกที่จัดหาวารสาร ได้ครบทุกรายชื่อที่ผลิตหรือเผยแพร่ และอีกหนึ่งบริการที่สำคัญ และกล่าวถึงกันมากในขณะนี้ คือบริการจัดหาเฉพาะบทความที่ต้องการอ่าน (Pay per view / Pay per article) นับเป็นอีกวิธีหนึ่งที่ประหยัดค่าใช้จ่าย โดยบริการรูปแบบนี้มีมานานแล้ว ให้บริการผ่านบริษัทนายหน้า ผู้แทนจำหน่าย นอกเหนือจากธรรมเนียม วัฒนธรรมเดิมของการจัดหา คือ จัดหาล่วงหน้าทั้งปีเพื่อรอให้ผู้ใช้บริการได้ใช้หรืออ่าน <p>หลายทศวรรษที่ผ่านมา แนวโน้มราคาวารสารวิชาการเพิ่มสูงขึ้นอย่างรวดเร็วและต่อเนื่องอย่างไม่สมเหตุสมผล สูงกว่าภาวะอัตราเงินเฟ้อในสัดส่วนที่ไม่สมดุล โดยเฉพาะวารสารวิชาการในสาขาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และการแพทย์ (STM) ห้องสมุดในฐานะที่อยู่ต้นทางในการให้บริการแก่ผู้ใช้ ควรกำหนดนโยบาย และมาตรการ วิธีการรองรับต่อสถานการณ์ดังกล่าว สถานภาพห้องสมุดปัจจุบันเสมือนตกอยู่ในสถานะจำยอม และยอมรับทุกเงื่อนไขที่สำนักพิมพ์เป็นผู้กำหนดทิศทางในเรื่องราคาแต่เพียงฝ่ายเดียวมาตลอด เป็นหัวข้อที่ท้าทายความสามารถของบรรณารักษ์ นักสารสนเทศในฐานะผู้จัดการความรู้ ในการที่จะหาแนวทาง วิธีการดำเนินการเพื่อให้สถานการณ์ดีขึ้น โดยยึดผลประโยชน์ของผู้ใช้บริการเป็นสำคัญที่จะต้องเข้าถึงข้อมูล ความรู้ ได้อย่างเท่าทัน และประหยัดงบประมาณของประเทศชาติ ซึ่งขณะนี้กระแสวารสารที่เข้าถึงได้ฟรี (Open Access) กำลังได้รับความสนใจและมีบทบาทสำคัญมาก จากผู้ที่ต้องการเข้าถึงข้อมูลได้ฟรีโดยไม่เสียค่าใช้จ่าย ซึ่งเป็นผลสืบเนื่องมาจากภาวะวิกฤติของ วารสารวิชาการนั่นเอง <p>อย่างไรก็ตาม การจัดหาวารสารเป็นงานที่มีความต่อเนื่องยาวนาน เพราะวารสารเป็นสื่อสิ่งพิมพ์ที่มีกำหนดออกเป็นลำดับตามช่วงเวลาที่แน่นอน สม่ำเสมอโดยไม่มีกำหนดเวลาสิ้นสุด ดังนั้นเมื่อเริ่มกระบวนการจัดหา ผู้ปฏิบัติงานต้องรับผิดชอบงานจัดหาวารสารใน 1 ปี และ ปีต่อ ๆไปด้วย กระบวนการจัดหาวารสารเป็นงานที่มีขั้นตอนการดำเนินงานอย่างเป็นลำดับ และต่อเนื่องเชื่อมโยง ตั้งแต่การบอกรับ การจ่ายเงินค่าบอกรับเป็นสมาชิก ตลอดจนการทวงถามวารสาร เพื่อให้ได้วารสารครบตามจำนวนตามเงื่อนไขในการเป็นสมาชิก หลังจากนั้นวารสารจะถูกนำไปสู่กระบวนการทางเทคนิค และงานบริการต่อไป การจัดหาวารสาร มี 4 วิธีการ คือ การจัดซื้อ (จากผู้ผลิตวารสารโดยตรง การจัดซื้อโดยสมัครเป็นสมาชิกหน่วยงานหรือสมาคม หรือ การจัดซื้อผ่านตัวแทนบอกรับวารสาร) การขอรับบริจาคหรือการได้รับอภินันทนาการ การแลกเปลี่ยนวารสาร และการผลิตขึ้นเอง <p>ปัญหาที่พบในการจัดหาวารสารที่ห้องสมุดมักประสบ คือ <p>1. ได้รับวารสารล่าช้า ไม่ตรงตามกำหนด <p>2. ได้รับวารสารไม่ครบถ้วนตามจำนวน <p>3. อัตราค่าสมาชิกสูงมาก โดยเฉพาะวารสารต่างประเทศในสาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี <p>4. กรณีวารสารอิเล็กทรอนิกส์ อาจมีปัญหาในการเข้าถึง (Access) ว่าไม่สามารถสืบค้นข้อมูลฉบับเต็มได้ <p>โดยทั่ว ๆ ไป ขั้นตอนการจัดหาวารสาร มีดังนี้ <p>1. สำรวจความต้องการใช้วารสาร ที่ผู้ใช้ส่วนใหญ่มีความต้องการใช้ <p>2. ตัดสินใจว่าวารสารรายชื่อใด ควรบอกรับโดยตรงจากสำนักพิมพ์ หรือบอกรับผ่านตัวแทน <p>3. ตรวจสอบรายละเอียดของวารสารที่ต้องการจัดหาอย่างละเอียด ให้มีความถูกต้องมากที่สุด ข้อมูลพื้นฐานที่ควรมีคือ ชื่อวารสาร เลขมาตรฐานสากลประจำวารสาร (ISSN) สำนักพิมพ์ ราคา เป็นต้น ทั้งนี้เพื่อลดความผิดพลาดที่อาจเกิดขึ้นได้ในการจัดหาวารสาร <p>4. ติดต่อสำนักพิมพ์ หรือบริษัทตัวแทนบอกรับวารสาร เพื่อให้นำเสนอราคาบอกรับวารสาร ซึ่งควรติดต่อล่วงหน้าเพื่อจัดเตรียมงบประมาณที่เหมาะสมและเพียงพอ และให้ได้รับวารสารครบถ้วนในปีนั้น <p>5. ส่งใบสั่งซื้อ (Purchase Order : PO) และดำเนินการชำระเงินแก่สำนักพิมพ์หรือบริษัทตัวแทนบอกรับวารสาร ซึ่งขั้นตอนนี้ห้องสมุดควรเก็บสำเนาเอกสารต่าง ๆ และทำการบันทึกการจ่ายเงิน เพื่อตรวจสอบการดำเนินงานย้อนหลังได้ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Serial publicationสิ่งพิมพ์ต่อเนื่อง, Example: <p><img src="http://thaiglossary.org/sites/default/files/20110602-serial-publications.jpg" Title="Serial publication" alt="Serial publication"> <br>ภาพที่ 1 ตัวอย่างหน้าปกสิ่งพิมพ์ต่อเนื่อง <p>คือ สิ่งพิมพ์ที่มีกำหนดการออกอย่างต่อเนื่อง ภายในชื่อเรื่องเดียวกัน ทั้งนี้ส่วนใหญ่มักมีหมายเลขแสดงลำดับที่การออกในแต่ละช่วงปีที่ดำเนินการจัดพิมพ์และเผยแพร่ เช่น วารสาร Nature Medicine ซึ่งมีกำหนดออกรายเดือน ฉบับประจำเดือน พ.ค. 2554 คือ May 2011, Volume 17 No 5 pp515-632 <p>ตัวอย่างกำหนการออก <p>รายสัปดาห์ (Weekly) คือ 7 วัน : ครั้ง <p>รายปักษ์ (Bi-weekly) คือ 15 วัน : ครั้ง หรือ ครึ่งเดือน : ครั้ง <p>รายเดือน (Monthly) คือ 1 เดือน : ครั้ง <p>รายสองเดือน (Bi-monthly) คือ 2 เดือน : ครั้ง <p>รายสามเดือน (Quarterly) คือ 3 เดือน : ครั้ง หรือ ปีละ 4 ฉบับ <p>รายสี่เดือน (Quarterly) คือ 4 เดือน : ครั้ง หรือ ปีละ 3 ฉบับ <p>รายหกเดือน (Two times a year) คือ 6 เดือน : ครั้ง หรือ ปีละ 2 ฉบับ <p>รายปี (Annually) คือ 1 ปี : ครั้ง เช่น รายงานประจำปี <p>สิ่งพิมพ์ต่อเนื่องนี้รวมถึง วารสาร นิตยสาร หนังสือพิมพ์ วารสารอิเล็กทรอนิกส์ สิ่งพิมพ์รายปี เช่น รายงานประชุมปี รายงานการสำรวจ สถิติ เป็นต้น [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Cataloging of serial publicationsการทำบัตรรายการสิ่งพิมพ์ต่อเนื่อง [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Cataloging of government publicationsการทำรายการสิ่งพิมพ์รัฐบาล [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Publication Numberหมายเลขที่ตีพิมพ์โฆษณาคำขอรับสิทธิบัตร [ทรัพย์สินทางปัญญา]
Publication Dateวันที่ตีพิมพ์โฆษณาคำขอรับสิทธิบัตร [ทรัพย์สินทางปัญญา]
Publicationsเอกสารต่าง ๆ รวมถึงเอกสารสิทธิบัตรที่ประเทศต่าง ๆ ส่วนใหญ่จัดพิมพ์เตรียมไว้ให้แก่สาธารณะเข้าไปดู [ทรัพย์สินทางปัญญา]
Acquisition of serial publicationsการจัดหาสิ่งพิมพ์ต่อเนื่อง [TU Subject Heading]
Cataloging of government publicationsการทำรายการสิ่งพิมพ์รัฐบาล [TU Subject Heading]
Cataloging of serial publicationsการทำรายการสิ่งพิมพ์ต่อเนื่อง [TU Subject Heading]
College publicationsสิ่งพิมพ์มหาวิทยาลัยและวิทยาลัย [TU Subject Heading]
Government publicationsสิ่งพิมพ์รัฐบาล [TU Subject Heading]
Publication and distributionการจัดพิมพ์และการเผยแพร่ [TU Subject Heading]
Publication of proceedingรายงานการประชุม [TU Subject Heading]
Serial publicationsสิ่งพิมพ์ต่อเนื่อง [TU Subject Heading]
Government Publicationsสิ่งพิมพ์รัฐบาล [การแพทย์]
Publication dateปีที่พิมพ์, Example: ในหนังสือที่พิมพ์แล้ว โดยทั่วไปปีที่พิมพ์จะอยู่ที่ด้านหลังหน้าปกใน เมื่อปีพิมพ์ของหนังสือที่ตีพิมพ์ครั้งแรกแตกต่างจากปีที่พิมพ์ของฉบับปัจจุบัน ให้แสดงปีที่พิมพ์ปีแรกและปีพิมพ์ต่อมา ๆ ไว้ตามลำดับ ในหนังสือเก่า ๆ ปีที่พิมพ์อาจแสดงไว้ในวงเล็บ ในวารสาร จะระบุวันที่และเดือนหรือมีเพียงเดือนหรือระยะเวลาของฉบับที่ตีพิมพ์ออกมา (เช่น Spring, Summer, Fall, Winter) โดยทั่วไปจะพิมพ์ไว้บนหน้าปก สำหรับภาพยนตร์ ใช้วันที่วางจำหน่าย ส่วนเว็บเพจโดยทั่วไปจะเป็นวันที่ปรับปรุงครั้งล่าสุด ในการทำบัตรรายการหรือการทำบรรณานุกรม ต้องระบุปีที่พิมพ์ไว้ในส่วนพิมพลักษณ์ (Imprint) ซึ่งเป็นรายละเอียดเกี่ยวกับการพิมพ์ ได้แก่ ชื่อสำนักพิมพ์ เมืองที่ตั้งสำนักพิมพ์ และปีที่พิมพ์ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]

ตัวอย่างประโยคจาก Tanaka JP-EN Corpus
publicationHe was in charge of preparing a magazine for publication.
publicationI put an advertisement for the new publications in the newspaper.
publicationPublication of his month's issue will be delayed one week.
publicationPublication of the article was timed to coincide with the professor's birthday.
publicationPublication of the book was timed to coincide with the author's birthday.
publicationThe publication of the exam results over without incident, for the time being attention is naturally going to focus on the summer break, right?

NECTEC Lexitron-2 Dictionary (TH-EN)
สิ่งพิมพ์เผยแพร่(n) publication, Example: ห้องสมุดประชาชนอำเภอจะเป็นแหล่งบริการข่าวสารข้อมูลในหมู่บ้าน โดยการผลิตเอกสารสิ่งพิมพ์เผยแพร่ที่เหมาะสมให้กับชาวชนบท, Thai Definition: สมุด แผ่นกระดาษ หรือวัตถุใดๆ ที่พิมพ์ขึ้น โดยมีเนื้อหาที่ต้องการเผยแพร่ข้อมูลข้อมูลต่อสาธารณะชน
การแถลงข่าว(n) publication, See also: giving information, news publishing, announcement, Syn. การแจ้งข่าว, การแพร่ข่าว, การลงข่าว, การรายงานข่าว, การออกข่าว, Example: คู่รักดาราเปิดการแถลงข่าวอย่างเป็นทางการที่โรงแรมดุสิต, Thai Definition: การให้ข่าวเป็นทางการ
กองบรรณาธิการ(n) publication department, See also: editorial department, Example: เมื่อเร็วๆ นี้ทางสำนักพิมพ์ได้มีการจัดประชุมกรรมการกองบรรณาธิการ, Count Unit: กอง

Volubilis Dictionary (TH-EN-FR)
บรรณาธิการ[bannāthikān] (n) EN: editor  FR: éditeur [ m ] ; directeur de publication [ m ] ; rédacteur en chef [ m ]
บรรณาธิการิณี[bannāthikārinī] (n) EN: editress ; woman editor  FR: directrice de publication [ f ] ; rédactrice en chef [ f ] ; éditrice [ f ]
การจัดพิมพ์[kān jatphim] (n) FR: publication [ f ]
การออกหนังสือ[kān øk nangseū] (n, exp) FR: publication d'un livre [ f ]
การแถลง[kān thalaēng] (n) EN: stating ; announcement ; declaration ; proclamation ; annunciation ; noticing ; clarification ; publication  FR: déclaration [ f ]
การแถลงข่าว[kān thalaēngkhāo] (n) EN: publication ; giving information ; news publishing ; announcement ; press conference
กองบรรณาธิการ[køng bannāthikān] (n, exp) EN: publication department ; editorial department
นิตยสาร[nittayasān] (n) EN: magazine ; journal ; periodical  FR: magazine [ m ] ; revue [ f ] ; périodique [ m ] ; publication [ f ]
นิตยสารรายเดือน[nittayasān rāideūoen] (n, exp) EN: monthly journal  FR: mensuel [ m ] ; publication mensuelle [ f ]
สิ่งพิมพ์เผยแพร่[singphim phoēiphraē] (n, exp) EN: publication

CMU Pronouncing Dictionary
publication
 /P AH2 B L IH0 K EY1 SH AH0 N/
/พะ บลิ เค้ เฉิ่น/
/pˌʌblɪkˈeɪʃən/
publications
 /P AH2 B L IH0 K EY1 SH AH0 N Z/
/พะ บลิ เค้ เฉิ่น สึ/
/pˌʌblɪkˈeɪʃənz/
publication's
 /P AH2 B L IH0 K EY1 SH AH0 N Z/
/พะ บลิ เค้ เฉิ่น สึ/
/pˌʌblɪkˈeɪʃənz/
publications'
 /P AH2 B L IH0 K EY1 SH AH0 N Z/
/พะ บลิ เค้ เฉิ่น สึ/
/pˌʌblɪkˈeɪʃənz/

Oxford Advanced Learners Dictionary
publication
 (n) /p uh2 b l i k ei1 sh @ n/ /พะ บลิ เค้ เฉิ่น/ /pˌʌblɪkˈeɪʃən/
publications
 (n) /p uh2 b l i k ei1 sh @ n z/ /พะ บลิ เค้ เฉิ่น สึ/ /pˌʌblɪkˈeɪʃənz/

WordNet (3.0)
publication(n) a copy of a printed work offered for distribution
publication(n) the communication of something to the public; making information generally known
publication(n) the business of issuing printed matter for sale or distribution, Syn. publishing
republication(n) something that has been published again; a fresh publication (as of a literary work)
republication(n) the act of publishing again, Syn. republishing
copyright(n) a document granting exclusive right to publish and sell literary or musical or artistic work, Syn. right of first publication
issue(n) the act of issuing printed materials, Syn. publication
series(n) a periodical that appears at scheduled times, Syn. serial, serial publication

Collaborative International Dictionary (GCIDE)
Publication

n. [ L. publicatio confiscation: cf. F. publication. See Publish. ] 1. The act of publishing or making known; notification to the people at large, either by words, writing, or printing; proclamation; divulgation; promulgation; as, the publication of the law at Mount Sinai; the publication of the gospel; the publication of statutes or edicts. [ 1913 Webster ]

2. The act of offering a book, pamphlet, engraving, etc., to the public by sale or by gratuitous distribution. [ 1913 Webster ]

The publication of these papers was not owing to our folly, but that of others. Swift. [ 1913 Webster ]

3. That which is published or made known; especially, any book, pamphlet, etc., offered for sale or to public notice; as, a daily or monthly publication. [ 1913 Webster ]

4. An act done in public. [ R. & Obs. ] [ 1913 Webster ]

His jealousy . . . attends the business, the recreations, the publications, and retirements of every man. Jer. Taylor. [ 1913 Webster ]


Publication of a libel (Law), such an exhibition of a libel as brings it to the notice of at least one person other than the person libeled. --
Publication of a will (Law), the delivery of a will, as his own, by a testator to witnesses who attest it.
[ 1913 Webster ]

Republication

n. A second publication, or a new publication of something before published, as of a former will, of a volume already published, or the like; specifically, the publication in one country of a work first issued in another; a reprint. [ 1913 Webster ]

If there be many testaments, the last overthrows all the former; but the republication of a former will revokes one of a later date, and establishes the first. Blackstone. [ 1913 Webster ]


CC-CEDICT CN-EN Dictionary
转发[zhuǎn fā, ㄓㄨㄢˇ ㄈㄚ,   /  ] to transmit; forwarding (mail, SMS, packets of data); to pass on; to reprint (an article from another publication) #881 [Add to Longdo]
季度[jì dù, ㄐㄧˋ ㄉㄨˋ,  ] period of three month; quarter, used for financial matters, school, publications etc #2,430 [Add to Longdo]
探索[tàn suǒ, ㄊㄢˋ ㄙㄨㄛˇ,  ] to explore; to probe; commonly used in names of publications or documentaries #2,687 [Add to Longdo]
周刊[zhōu kān, ㄓㄡ ㄎㄢ,   /  ] weekly publication; weekly #7,604 [Add to Longdo]
刊物[kān wù, ㄎㄢ ㄨˋ,  ] publication #11,033 [Add to Longdo]
撰文[zhuàn wén, ㄓㄨㄢˋ ㄨㄣˊ,  ] article (in publication) #12,717 [Add to Longdo]
出版物[chū bǎn wù, ㄔㄨ ㄅㄢˇ ㄨˋ,   ] publications #17,261 [Add to Longdo]
书刊[shū kān, ㄕㄨ ㄎㄢ,   /  ] books and publications #22,900 [Add to Longdo]
处女作[chǔ nǚ zuò, ㄔㄨˇ ㄋㄩˇ ㄗㄨㄛˋ,    /   ] first publication; maiden work #30,949 [Add to Longdo]
出笼[chū lóng, ㄔㄨ ㄌㄨㄥˊ,   /  ] just out of the steamer basket 蒸籠|蒸笼; to appear (of products, publications, sometimes derog., "lots of shoddy material is appearing nowadays") #33,955 [Add to Longdo]
成书[chéng shū, ㄔㄥˊ ㄕㄨ,   /  ] publication; a book's first appearance #35,394 [Add to Longdo]
删节[shān jié, ㄕㄢ ㄐㄧㄝˊ,   /  ] to abridge; to cut a text down to size for publication #45,267 [Add to Longdo]
征稿[zhēng gǎo, ㄓㄥ ㄍㄠˇ,  稿 /  稿] to solicit subscription (to a publication) #46,935 [Add to Longdo]
内参[nèi cān, ㄋㄟˋ ㄘㄢ,   /  ] internal reference (within the same publication) #55,501 [Add to Longdo]
订正[dìng zhèng, ㄉㄧㄥˋ ㄓㄥˋ,   /  ] make corrections; errata (to a publication) #61,454 [Add to Longdo]
季刊[jì kān, ㄐㄧˋ ㄎㄢ,  ] quarterly publication #61,663 [Add to Longdo]
续编[xù biān, ㄒㄩˋ ㄅㄧㄢ,   /  ] sequel; continuation (of a serial publication) #72,636 [Add to Longdo]
日刊[rì kān, ㄖˋ ㄎㄢ,  ] daily (publication) #74,996 [Add to Longdo]
双月刊[shuāng yuè kān, ㄕㄨㄤ ㄩㄝˋ ㄎㄢ,    /   ] bimonthly publication #81,306 [Add to Longdo]
新闻出版总署[xīn wén chū bǎn zǒng shǔ, ㄒㄧㄣ ㄨㄣˊ ㄔㄨ ㄅㄢˇ ㄗㄨㄥˇ ㄕㄨˇ,       /      ] Press and publication administration; PRC state censorship organization [Add to Longdo]
发稿时[fā gǎo shí, ㄈㄚ ㄍㄠˇ ㄕˊ,  稿  /  稿 ] time of publication; at the time of going to press [Add to Longdo]
科学编辑[kē xué biān jí, ㄎㄜ ㄒㄩㄝˊ ㄅㄧㄢ ㄐㄧˊ,     /    ] science editor (of a publication) [Add to Longdo]

Saikam JP-TH-EN Dictionary
出版[しゅっぱん, shuppan] TH: การตีพิมพ์  EN: publication (vs)

DING DE-EN Dictionary
Akademieschrift { f }academic publication [Add to Longdo]
Bekanntgabe { f }; Veröffentlichung { f }publication [Add to Longdo]
Buchhandelserscheinungen { pl }publications from publishing houses [Add to Longdo]
Erscheinungsjahr { n }date of publication [Add to Longdo]
Erscheinungsjahr { n }year of publication [Add to Longdo]
Erscheinungsweise { f } | Erscheinungsweise: monatlichpublication dates; publication frequency; frequency | appearing monthly [Add to Longdo]
Fachpresse { f }specialist publications [Add to Longdo]
Liste der Neuerscheinungenlist of new publications [Add to Longdo]
Neuerscheinung { f }new publication; new release [Add to Longdo]
Neuveröffentlichung { f }recent publication [Add to Longdo]
Nichtveröffentlichung { f }non-publication [Add to Longdo]
Publikation { f } | Publikationen { pl }publication | publications [Add to Longdo]
Veröffentlichung { f } | Veröffentlichungen { pl } | amtliche Veröffentlichung { f } | wissenschaftliche Veröffentlichung { f }publication | publications | official publication | (scientific) paper [Add to Longdo]
Veröffentlichungsgebühr { f }publication fee [Add to Longdo]
Vorabdruck { m }advance publication [Add to Longdo]
Vorveröffentlichung { f }pre-release; prior publication [Add to Longdo]

EDICT JP-EN Dictionary
出版[しゅっぱん, shuppan] (n, vs) publication; (P) #386 [Add to Longdo]
発表[はっぴょう, happyou] (n, vs) announcement; publication; (P) #389 [Add to Longdo]
掲載[けいさい, keisai] (n) (1) publication (e.g. article in paper); appearance; insertion; (vs) (2) to insert (e.g. an article); to run (e.g. in a newspaper); to carry (e.g. an article); (P) #713 [Add to Longdo]
発行[はっこう, hakkou] (n, vs) (1) issue (publications); publishing; (2) raising an event (software); (P) #856 [Add to Longdo]
書籍[しょせき, shoseki] (n) book; publication; (P) #1,413 [Add to Longdo]
刊行[かんこう, kankou] (n, vs) publication; issue; (P) #1,767 [Add to Longdo]
月刊[げっかん, gekkan] (n, adj-no) monthly publication; monthly issue; (P) #2,155 [Add to Longdo]
叢書;双書;総書[そうしょ, sousho] (n) series (of publications); library (of literature) #2,912 [Add to Longdo]
[かん, kan] (suf) publication; edition (e.g. morning, evening, special); published in (year); publication frequency (e.g. daily, monthly) #4,372 [Add to Longdo]
所収[しょしゅう, shoshuu] (n) included or carried (in a publication) #7,287 [Add to Longdo]
休刊[きゅうかん, kyuukan] (n, vs) suspension of publication; (P) #11,146 [Add to Longdo]
廃刊[はいかん, haikan] (n, vs) ceasing to publish; discontinuance of publication #12,773 [Add to Longdo]
発刊[はっかん, hakkan] (n, vs) publish; start (new) publication; (P) #12,975 [Add to Longdo]
年刊[ねんかん, nenkan] (n, adj-no) annual publication; year of publication; (P) #15,984 [Add to Longdo]
バックナンバー[bakkunanba-] (n) back issue (of a publication); back-number [Add to Longdo]
ムック[mukku] (n) (from "magazine" and "book") thick illustrated publication on a single topic printed to look like a magazine (wasei [Add to Longdo]
奥書;奥書き(io)[おくがき, okugaki] (n) postscript (to a book); verification; publication (in a book) [Add to Longdo]
奥付;奥附;奥付け(io)[おくづけ, okuduke] (n) colophon; publication data; production notes; printer's mark; publisher's emblem [Add to Longdo]
仮名文[かなぶみ, kanabumi] (n) publication in kana alone [Add to Longdo]
刊行会[かんこうかい, kankoukai] (n) publication society [Add to Longdo]
刊行物[かんこうぶつ, kankoubutsu] (n) publication; periodical [Add to Longdo]
官庁出版物[かんちょうしゅっぱんぶつ, kanchoushuppanbutsu] (n) official publication; public documents [Add to Longdo]
官版[かんぱん, kanpan] (n) government publication [Add to Longdo]
記念誌[きねんし, kinenshi] (n) commemorative publication [Add to Longdo]
記念出版[きねんしゅっぱん, kinenshuppan] (n) commemorative publication [Add to Longdo]
旧作[きゅうさく, kyuusaku] (n) one's old publication [Add to Longdo]
近刊[きんかん, kinkan] (n, adj-no) recent publication [Add to Longdo]
結果発表[けっかはっぴょう, kekkahappyou] (n) publication of results; announcement of results [Add to Longdo]
研究発表[けんきゅうはっぴょう, kenkyuuhappyou] (n) research publication; scholarly publication [Add to Longdo]
限定出版[げんていしゅっぱん, genteishuppan] (n) limited publication [Add to Longdo]
公刊[こうかん, koukan] (n, vs) publication [Add to Longdo]
公式出版物[こうしきしゅっぱんぶつ, koushikishuppanbutsu] (n) official publication; official publications [Add to Longdo]
合刻[ごうこく, goukoku] (n, vs) (obsc) publication of two or more different books together as one [Add to Longdo]
合板[ごうはん(P);ごうばん(P), gouhan (P); gouban (P)] (n) veneer board; plywood; joint publication; (P) [Add to Longdo]
再刊[さいかん, saikan] (n, vs) reprint; republication [Add to Longdo]
再発表[さいはっぴょう, saihappyou] (n) re-release; republication [Add to Longdo]
事前検閲[じぜんけんえつ, jizenken'etsu] (n) prepublication censorship [Add to Longdo]
終刊[しゅうかん, shuukan] (n, vs) cessation of publication [Add to Longdo]
終刊号[しゅうかんごう, shuukangou] (n) final issue; last issue of a publication [Add to Longdo]
週刊誌[しゅうかんし, shuukanshi] (n) (See 週刊雑誌) weekly publication; weekly magazine; (P) [Add to Longdo]
出版地[しゅっぱんち, shuppanchi] (n) place of publication [Add to Longdo]
出版地不明[しゅっぱんちふめい, shuppanchifumei] (n) without a place of publication; sine loco; s.l. [Add to Longdo]
出版物[しゅっぱんぶつ, shuppanbutsu] (n) publication; (P) [Add to Longdo]
出版法[しゅっぱんほう, shuppanhou] (n) press law; publication law [Add to Longdo]
出版目録[しゅっぱんもくろく, shuppanmokuroku] (n) catalog of publications; catalogue of publications [Add to Longdo]
所載[しょさい, shosai] (n) printed; published; noted or mentioned (in a publication) [Add to Longdo]
上梓[じょうし, joushi] (n, vs) publication; wood-block printing [Add to Longdo]
新刊[しんかん, shinkan] (n) new book; new publication; (P) [Add to Longdo]
新刊書[しんかんしょ, shinkansho] (n) new book; new publication [Add to Longdo]
世界経済見通し[せかいけいざいみとおし, sekaikeizaimitooshi] (n) World Economic Outlook (IMF publication) [Add to Longdo]

COMPDICT JP-EN Dictionary
出版物[しゅっぱんぶつ, shuppanbutsu] publication [Add to Longdo]
単行出版物[たんこうしゅっぱんぶつ, tankoushuppanbutsu] monographic publication [Add to Longdo]
逐次刊行物[ちくじかんこうぶつ, chikujikankoubutsu] serial publication [Add to Longdo]

Time: 0.0428 seconds, cache age: 0.702 (clear)Longdo Dict -- https://dict.longdo.com/