strine | (n) สำเนียงอังกฤษออสเตรเลีย |
latrine | (n) ห้องส้วม, See also: สถานที่ใช้เป็นห้องส้วม, Syn. restroom, lavatory |
doctrine | (n) ทฤษฎี, See also: หลักการ, ปรัชญา, คำสอนทางศาสนา, Syn. philosophy, religious doctrine |
alpestrine | (adj) ซึ่งเกี่ยวกับบริเวณเชิงเทือกเขาแอลป์, Syn. alpine |
wintriness | (n) ความหนาวเย็น |
accipitrine | (แอคซิพ' พิทริน -ไทรน์) adj. ซึ่งเกี่ยวกับนกจำพวกเหยี่ยว, ซึ่งคล้ายเหยี่ยว., Syn. accipitral |
alpestrine | (แอลเพส' ทริน) adj. ซึ่งเกี่ยวกับบริเวณเชิงเทือกเขาแอลพ์ |
citrine | adj. สีเหลืองซีด, สีมะนาว |
doctrine | (ดอค'ทริน) n. หลัก, ทฤษฎี, คำสั่งสอนศาสนา, ลัทธิ (tenet, dogma, precept) |
latrine | (ละทรีน') n. ห้องส้วม, สถานที่ใช้เป็นห้องส้วม, Syn. toilet |
doctrine | (n) หลักคำสอน, วินัย, ลัทธิ, ศาสนา |
latrine | (n) ห้องน้ำ, ห้องส้วม |
per se doctrine | โดยหลักการนั้นเอง [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
piastrinaemia; piastrinemia; thrombocythaemia; thrombocythemia | ภาวะเกล็ดเลือดเกิน [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
piastrinemia; piastrinaemia; thrombocythaemia; thrombocythemia | ภาวะเกล็ดเลือดเกิน [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
plain view doctrine | หลักว่าด้วยหลักฐานที่ประจักษ์แจ้ง [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
lacustrine | อยู่ในหนองน้ำ [พฤกษศาสตร์ ๑๘ ก.พ. ๒๕๔๕] |
lacustrine deposit | สิ่งทับถมในทะเลสาบ [ธรณีวิทยา๑๔ ม.ค. ๒๕๔๖] |
abstention doctrine | หลักปฏิบัติที่ศาลสหรัฐงดพิจารณาคดี (เพื่อส่งคดีไปให้ศาลมลรัฐพิจารณาเอง) (ก. อเมริกัน) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
Monroe Doctrine | ลัทธิมอนโร (อเมริกัน) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
mean, doctrine of the | หลักมัชฌิม [ปรัชญา ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] |
citrine; citron-colour | สีเหลืองมะนาว [พฤกษศาสตร์ ๑๘ ก.พ. ๒๕๔๕] |
citron-colour; citrine | สีเหลืองมะนาว [พฤกษศาสตร์ ๑๘ ก.พ. ๒๕๔๕] |
chilling effect doctrine | ลัทธิที่ขัดขวางการใช้สิทธิของบุคคลตามรัฐธรรมนูญ (ก. อเมริกัน) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
collateral estoppel doctrine | หลักกฎหมายปิดปาก (ป. วิ. แพ่ง) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
doctrine | ลัทธิ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
doctrine of the mean | หลักมัชฌิม [ปรัชญา ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] |
doctrine, higher-law | ลัทธิที่ถือว่ามีกฎที่เหนือกว่ากฎหมาย [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
Doctrine, Monroe | ลัทธิมอนโร (อเมริกัน) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
vagueness doctrine | หลักว่าด้วยกฎหมายที่เคลือบคลุม [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
vitrinertite | วิทริเนอร์ไทต์ [ธรณีวิทยา๑๔ ม.ค. ๒๕๔๖] |
trinerved; triplinerved | มีสามเส้นใบ [พฤกษศาสตร์ ๑๘ ก.พ. ๒๕๔๕] |
trineural | -ประสาทสามเส้น [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
trineuric | -สามเซลล์ประสาท [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
thrombocythaemia; piastrinaemia; piastrinemia; thrombocythemia | ภาวะเกล็ดเลือดเกิน [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
thrombocythemia; piastrinaemia; piastrinemia; thrombocythaemia | ภาวะเกล็ดเลือดเกิน [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
triplinerved; trinerved | มีสามเส้นใบ [พฤกษศาสตร์ ๑๘ ก.พ. ๒๕๔๕] |
higher-law doctrine | ลัทธิที่ถือว่ามีกฎที่เหนือกว่ากฎหมาย [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
Economic doctrine | ลัทธิเศรษฐกิจ [เศรษฐศาสตร์] |
Political doctrine | ลัทธิการเมือง [เศรษฐศาสตร์] |
Doctrines | หลักคำสอน [TU Subject Heading] |
History of doctrines | ประวัติของลัทธิ [TU Subject Heading] |
Cesspool Latrine | ส้วมซึม, Example: ส้วมที่นิยมแพร่หลายในประเทศไทย โดยสร้างขึ้นในครัวเรือน ส้วมซึม มีระบบคอห่าน (privy bowl) เป็นตัวป้องกันไม่ให้แมลงเข้าถึงสิ่งปฏิกูลได้ โดยหลักการแล้วส้วมซึมนอกจากจะทำหน้าที่เก็บสิ่งปฏิกูลไว้ให้เกิดการย่อย สลาย ในหลุมส้วมแล้ว ส่วนที่เป็นน้ำก็จะซึมออกจาก [สิ่งแวดล้อม] |
Eisenhower Doctrine | ลัทธิไอเซนฮาวร์ เมื่อวันที่ 5 มกราคม ค.ศ. 1957 ประธานาธิบดีไอเซนฮาวร์ของสหรัฐอเมริกา ซึ่งมีความวิตกห่วงใยในสถานการณ์ที่ล่อแหลมต่ออันตรายในภูมิภาคตะวันออกกลาง ได้อ่านสารพิเศษต่อที่ประชุมร่วมระหว่างสภาผู้แทนกับวุฒิสภาขอร้องให้รัฐสภา สหรัฐฯ ลงมติรับรองโครงการช่วยเหลือทางเศรษฐกิจและทางทหาร เพื่อธำรงรักษาไว้ซึ่งเอกราชแห่งชาติของบรรดาประเทศในภูมิภาคตะวันออกกลาง ให้มีความมั่นคงยิ่งขึ้น ดังนั้น ในการสนองตอบสารพิเศษดังกล่าว รัฐสภาสหรัฐฯ ได้ผ่านข้อมติร่วมกันเมื่อวันที่ 7 มีนาคม ค.ศ. 1957 มอบให้ประธานาธิบดีมีอำนาจให้ความร่วมมือและอำนวยความช่วยเหลือแก่ชาติหรือ กลุ่มชาติต่างๆ ในภูมิภาคตะวันออกกลาง ซึ่งต้องการความช่วยเหลือเช่นนั้น ในการที่จะพัฒนาพลังทางเศรษฐกิจเพื่อรักษาไว้ซึ่งเอกราชแห่งชาติตน และให้จัดโครงการช่วยเหลือทางทหารแก่ชาติต่างๆ ในภาคนั้นซึ่งต้องการความช่วยเหลือดังกล่าว ทั้งได้มอบอำนาจให้ประธานาธิบดีสามารถใช้กองทัพสหรัฐฯ เข้าช่วยเหลือชาติเหล่านั้นที่แสดงเจตนาขอความช่วยเหลือ เพื่อต่อต้านการรุกรานจากประเทศใด ๆ ที่อยู่ใต้อำนาจควบคุมของคอมมิวนิสต์ระหว่างประเทศ [การทูต] |
Gorbachev doctrine | นโยบายหลักของกอร์บาชอฟ เป็นศัพท์ที่สื่อมวลชนของประเทศฝ่ายตะวันตกบัญญัติขึ้น ในตอนที่กำลังมีการริเริ่มใหม่ๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง เกี่ยวกับนโยบายต่างประเทศของโซเวียตในด้านความร่วมมือระหว่างประเทศอภิมหา อำนาจตั้งแต่ ค.ศ. 1985 เป็นต้นมา ภายใต้การนำของ นายมิคาอิล กอร์บาชอฟ ในระยะนั้น โซเวียตเริ่มเปลี่ยนทิศทางของสังคมภายในประเทศใหม่ โดยยึดหลักกลาสนอสต์ (Glasnost) ซึ่งหมายความว่า การเปิดกว้าง รวมทั้งหลักเปเรสตรอยก้า (Perestroika) อันหมายถึงการปรับเปลี่ยนโครงสร้างใหม่ในช่วงปี ค.ศ. 1985 ถึง 1986 บุคคลสำคัญชั้นนำของโซเวียตผู้มีอำนาจในการตัดสินใจนี้ ได้เล็งเห็นและสรุปว่าการที่ประเทศพยายามจะรักษาสถานภาพประเทศอภิมหาอำนาจ และครองความเป็นใหญ่ในแง่อุดมคติทางการเมืองของตนนั้นจำต้องแบกภาระทาง เศรษฐกิจอย่างหนักหน่วง แต่ประโยชน์ที่จะได้จริง ๆ นั้นกลับมีเพียงเล็กน้อย เขาเห็นว่า แม้ในสมัยเบรสเนฟ ซึ่งได้เห็นความพยายามอันล้มเหลงโดยสิ้นเชิงของสหรัฐฯ ในสงครามเวียดนาม การปฏิวัติทางสังคมนิยมที่เกิดขึ้นในแองโกล่า โมซัมบิค และในประเทศเอธิโอเปีย รวมทั้งกระแสการปฏิวัติทวีความรุนแรงยิ่งขึ้นในแถบประเทศละตินอเมริกา ก็มิได้ทำให้สหภาพโซเวียตได้รับประโยชน์ หรือได้เปรียบอย่างเห็นทันตาแต่ประการใด แต่กลับกลายเป็นภาระหนักอย่างยิ่งเสียอีก แองโกล่ากับโมแซมบิคกลายสภาพเป็นลูกหนี้อย่างรวดเร็ว เอธิโอเปียต้องประสบกับภาวะขาดแคลนอาหารอย่างสาหัส และการที่โซเวียตใช้กำลังทหารเข้ารุกรานประเทศอัฟกานิสถานเมื่อปี ค.ศ. 1979 ทำให้ระบบการทหารและเศรษฐกิจของโซเวียตต้องเครียดหนักยิ่งขึ้น และการเกิดวิกฤตด้านพลังงาน (Energy) ในยุโรปภาคตะวันออกระหว่างปี ค.ศ. 1984-1985 กลับเป็นการสะสมปัญหาที่ยุ่งยากมากขึ้นไปอีก ขณะเดียวกันโซเวียตตกอยู่ในฐานะต้องพึ่งพาอาศัยประเทศภาคตะวันตกมากขึ้นทุก ขณะ ทั้งในด้านวิชาการทางเทคโนโลยี และในทางโภคภัณฑ์ธัญญาหารที่จำเป็นแก่การดำรงชีวิตของพลเมืองของตน ยิ่งไปกว่านั้น การที่เกิดการแข่งขันกันใหม่ด้านอาวุธยุทโธปกรณ์กับสหรัฐอเมริกา โดยเฉพาะแผนยุทธการของสหรัฐฯ ที่เรียกว่า SDI (U.S. Strategic Defense Initiative) ทำให้ต้องแบกภาระอันหนักอึ้งทางการเงินด้วยเหตุนี้โซเวียตจึงต้องทำการ ประเมินเป้าหมายและทิศทางการป้องกันประเทศใหม่ นโยบายหลักของกอร์บาซอฟนี่เองทำให้โซเวียตต้องหันมาญาติดี รวมถึงทำความตกลงกับสหรัฐฯ ในรูปสนธิสัญญาว่าด้วยกำลังนิวเคลียร์ในรัศมีปานกลาง (Intermediate Range Force หรือ INF) ซึ่งได้ลงนามกันในกรุงวอชิงตันเมื่อปี ค.ศ. 1987เหตุการณ์นี้ถือกันว่าเป็นมาตรการที่มีความสำคัญที่สุดในด้านการควบคุม ยุทโธปกรณ์ตั้งแต่เริ่มสงครามเย็น (Cold War) ในปี ค.ศ. 1946 เป็นต้นมา และเริ่มมีผลกระทบต่อทิศทางในการที่โซเวียตเข้าไปพัวพันกับประเทศ อัฟกานิสถาน แอฟริกาภาคใต้ ภาคตะวันออกกลาง และอาณาเขตอ่าวเปอร์เซีย กอร์บาชอฟถึงกับประกาศยอมรับว่า การรุกรานประเทศอัฟกานิสถานเป็นการกระทำที่ผิดพลาด พร้อมทั้งถอนกองกำลังของตนออกไปจากอัฟกานิสถานเมื่อปี ค.ศ. 1989 อนึ่ง เชื่อกันว่าการที่ต้องถอนทหารคิวบาออกไปจากแองโกล่า ก็เป็นเพราะผลกระทบจากนโยบายหลักของกอร์บาชอฟ ซึ่งได้เปลี่ยนท่าทีและบทบาทใหม่ของโซเวียตในภูมิภาคตอนใต้ของแอฟริกานั้น เอง ส่วนในภูมิภาคตะวันออกกลาง นโยบายหลักของกอร์บาชอฟได้เป็นผลให้ นายเอ็ดวาร์ด ชวาดนาเซ่ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ซึ่งเป็นผู้ที่ได้รับการแต่งตั้งจากนายกอร์บาชอฟ เริ่มแสดงสันติภาพใหม่ๆ เช่น ทำให้โซเวียตกลับไปรื้อฟื้นสัมพันธภาพทางการทูตกับประเทศอิสราเอล ทำนองเดียวกันในเขตอ่าวเปอร์เซีย โซเวียตก็พยายามคืนดีด้านการทูตกับประเทศอิหร่าน เป็นต้นการเปลี่ยนทิศทางใหม่ทั้งหลายนี้ ถือกันว่ายังผลให้มีการเปลี่ยนแปลงนโยบายภายในประเทศทั้งด้านเศรษฐกิจและ ด้านสังคมของโซเวียต อันสืบเนื่องมาจากนโยบาย Glasnost and Perestroika ที่กล่าวมาข้างต้นนั่นเองในที่สุด เหตุการณ์ทั้งหลายเหล่านี้ก็ได้นำไปสู่การล่มสลายอย่างกะทันหันของสหภาพ โซเวียตเมื่อปี ค.ศ. 1991 พร้อมกันนี้ โซเวียตเริ่มพยายามปรับปรุงเปลี่ยนแปลง รวมทั้งปรับโครงสร้างทางเศรษฐกิจการเมืองของประเทศให้ทันสมัยอย่างขนานใหญ่ นำเอาทรัพยากรที่ใช้ในด้านการทหารกลับไปใช้ในด้านพลเรือน พฤติกรรมเหล่านี้ทำให้เกิดจิตใจ (Spirit) ของการเป็นมิตรไมตรีต่อกัน (Détente) ขึ้นใหม่ในวงการการเมืองโลก เห็นได้จากสงครามอ่าวเปอร์เซีย ซึ่งโซเวียตไม่เล่นด้วยกับอิรัก และหันมาสนับสนุนอย่างไม่ออกหน้ากับนโยบายของประเทศฝ่ายสัมพันธมิตรนัก วิเคราะห์เหตุการณ์ต่างประเทศหลายคนเห็นพ้องต้องกันว่า การที่เกิดการผ่อนคลาย และแสวงความเป็นอิสระในยุโรปภาคตะวันออกอย่างกะทันหันนั้น เป็นผลจากนโยบายหลักของกอร์บาชอฟโดยตรง คือเลิกใช้นโยบายของเบรสเนฟที่ต้องการให้สหภาพโซเวียตเข้าแทรกแซงอย่างจริง จังในกิจการภายในของกลุ่มประเทศยุโรปตะวันออก กระนั้นก็ยังมีความรู้สึกห่วงใยกันไม่น้อยว่า อนาคตทางการเมืองของกอร์บาชอฟจะไปได้ไกลสักแค่ไหน รวมทั้งความผูกพันเป็นลูกโซ่ภายในสหภาพโซเวียตเอง ซึ่งยังมีพวกคอมมิวนิสต์หัวรุนแรงหลงเหลืออยู่ภายในประเทศอีกไม่น้อย เพราะแต่เดิม คณะพรรคคอมมิวนิสต์ในสหภาพโซเวียตนั้น เป็นเสมือนจุดรวมที่ทำให้คนสัญชาติต่าง ๆ กว่า 100 สัญชาติภายในสหภาพ ได้รวมกันติดภายในประเทศที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในโลก คือมีพื้นที่ประมาณ 1 ใน 6 ส่วนของพื้นที่โลก และมีพลเมืองทั้งสิ้นประมาณ 280 ล้านคนจึงสังเกตได้ไม่ยากว่า หลังจากสหภาพโซเวียตล่มสลายไปแล้ว พวกหัวเก่าและพวกที่มีความรู้สึกชาตินิยมแรง รวมทั้งพลเมืองเผ่าพันธุ์ต่างๆ เกิดความรู้สึกไม่สงบ เพราะมีการแก่งแย่งแข่งกัน บังเกิดความไม่พอใจกับภาวะเศรษฐกิจที่ตนเองต้องเผชิญอยู่ จึงเป็นสาเหตุที่ทำให้จักรวรรดิของโซเวียตต้องแตกออกเป็นส่วน ๆ เช่น มีสาธารณรัฐที่มีอำนาจ ?อัตตาธิปไตย? (Autonomous) หลายแห่ง ต้องการมีความสัมพันธ์ในรูปแบบใหม่กับรัสเซีย เช่น สาธารณรัฐยูเกรน ไบโลรัสเซีย มอลดาเวีย อาร์เมเนีย และอุสเบคิสถาน เป็นต้น แต่ก็เป็นการรวมกันอย่างหลวม ๆ มากกว่า และอธิปไตยที่เป็นอยู่ขณะนี้ดูจะเป็นอธิปไตยที่มีขอบเขตจำกัดมากกว่าเช่นกัน โดยเฉพาะสาธารณรัฐมุสลิมในสหภาพโซเวียตเดิม ซึ่งมีพลเมืองรวมกันเกือบ 50 ล้านคน ก็กำลังเป็นปัญหาต่อเชื้อชาติสลาฟ และการที่พวกมุสลิมที่เคร่งครัดต่อหลักการเดิม (Fundamentalism) ได้เปิดประตูไปมีความสัมพันธ์อันดีกับประะเทศอิหร่านและตุรกีจึงทำให้มีข้อ สงสัยและครุ่นคิดกันว่า เมื่อสหภาพโซเวียตแตกสลายออกเป็นเสี่ยง ๆ ดังนี้แล้ว นโยบายหลักของกอร์บาชอฟจะมีทางอยู่รอดต่อไปหรือไม่ ซึ่งเป็นเรื่องที่ถกเถียงและอภิปรายกันอยู่พักใหญ่และแล้ว เมื่อวันที่ 19 สิงหาคม ค.ศ. 1991 ก็ได้เกิดความพยายามที่จะถอยหลังเข้าคลอง คือกลับนโยบายผ่อนเสรีของ Glasnost และ Perestroika ทั้งภายในประเทศและภายนอกประเทศโดยมีผุ้ที่ไม่พอใจได้พยายามจะก่อรัฐประหาร ขึ้นต่อรัฐบาลของนายกอร์บาชอฟ แม้การก่อรัฐประหารซึ่งกินเวลาอยู่เพียงไม่กี่วันจะไม่ประสบผลสำเร็จ แต่เหตุการณ์นี้ก่อให้เกิดผลสะท้อนลึกซึ้งมาก คือเป็นการแสดงว่า อำนาจของรัฐบาลกลางย้ายจากศูนย์กลางไปอยู่ตามเขตรอบนอกของประเทศ คือสาธารณรัฐต่างๆ ซึ่งก็ต้องประสบกับปัญหานานัปการ จากการที่ประเทศเป็นภาคีอยู่กับสนธิสัญญาระหว่างประเทศต่างๆ โดยเฉพาะความตกลงเกี่ยวกับการควบคุมอาวุธยุทโธปกรณ์ ซึ่งสหภาพโซเวียตเดิมได้ลงนามไว้หลายฉบับผู้นำของสาธารณรัฐที่ใหญ่ที่สุดคือ นายบอริส เยลท์ซินได้ประกาศว่า สหพันธ์รัฐรัสเซียยังถือว่า พรมแดนที่เป็นอยู่ขณะนี้ย่อมเปลี่ยนแปลงแก้ไขได้ ไม่ใช่เป็นสิ่งที่จะแก้ไขเสียมิได้และในสภาพการณ์ด้านต่างประทเศที่เป็นอยู่ ในขณะนี้ การที่โซเวียตหมดสภาพเป็นประเทศอภิมหาอำนาจ ทำให้โลกกลับต้องประสบปัญหายากลำบากหลายอย่าง โดยเฉพาะอย่างยิ่งปัญหาเศรษฐกิจระหว่างสาธารณรัฐต่างๆ ที่เคยสังกัดอยู่ในสหภาพโซเวียตเดิม จึงเห็นได้ชัดว่า สหภาพโซเวียตเดิมได้ถูกแทนที่โดยการรวมตัวกันระหว่างสาธารณรัฐต่างๆ อย่างหลวมๆ ในขณะนี้ คล้ายกับการรวมตัวกันระหว่างสาธารณรัฐภายในรูปเครือจักรภพหรือภายในรูป สมาพันธรัฐมากกว่า และนโยบายหลักของกอร์บาชอฟก็ได้ทำให้สหภาพโซเวียตหมดสภาพความเป็นตัวตนใน เชิงภูมิรัฐศาสตร์ (Geopolitics) [การทูต] |
Doctrine of Signature | [doc-trin of sik-na-tur] (n) การบำบัดรักษาโรคด้วยส่วนของพืชที่มีลักษณะพ้องจองกับอวัยวะหรืออาการนั้นๆ, สัญลักษณาการบำบัด (สญฺญลกฺษณ+อาการฺ+ขจดฺ), Syn. สัญลักษณ์บำบัด |
เถรวาท | (n) doctrine, See also: priest, Syn. หินยาน, ทักษิณนิกาย, ลัทธิเถรวาท, Ant. มหายาน, Example: หลวงปู่แจ่มเป็นพระสงฆ์ในนิกายเถรวาท, Thai Definition: ลัทธิที่ถือตามคติซึ่งพระเถระพุทธสาวกได้ทำสังคายนาไว้, Notes: (บาลี) |
ลัทธิ | (n) doctrine, See also: cult, creed, ideology, faith, belief, Syn. ความเชื่อ, หลักการ, แนวคิด, Example: ปราสาทนี้สร้างขึ้นด้วยแรงศรัทธาในลัทธิศาสนา, Thai Definition: คติความเชื่อถือหรือความคิดเห็น |
อภิธรรม | (n) excellent law, See also: higher doctrine, transcendental law, metaphysics, Example: การสวดหน้าศพมีการจัดตั้งเครื่องบูชา และจัดที่สำหรับพระสวดอภิธรรมในเวลากลางคืน, Thai Definition: ชื่อธรรมะชั้นสูง มี 7 คัมภีร์ นิยมใช้สวดในงานศพ, Notes: (บาลี/สันสกฤต) |
ลัทธิความเชื่อ | (n) creed, See also: faith, ideology, credo, belief, doctrine, Example: ศาสนิกชนของทุกศาสนา สามารถประกอบพิธีกรรมตามลัทธิความเชื่อของตนได้อย่างอิสระเสรี, Count Unit: ลัทธิ |
ส้วม | (n) lavatory, See also: latrine, toilet, cloakroom, water closet, loo, privy, powder room, W.C, Example: บ่อเกรอะที่ใช้ปุ๋ยรดนั้น มันหมักหมมและสกปรกกว่าส้วมด้วยซ้ำ, Count Unit: ส้วม, Thai Definition: ที่ถ่ายอุจจาระปัสสาวะ |
คติธรรม | (n) Buddhist doctrine, See also: moral teaching, moral lesson, Example: คติธรรมในพุทธศาสนามิได้ขัดแย้งกับพิธีกรรมในศาสนาพราหมณ์, Thai Definition: ธรรมที่เป็นแบบอย่าง |
คำสอน | (n) teaching, See also: doctrine, instruction, Syn. ตำรา, คำสั่งสอน, คำอบรม, Example: ศาสนาทุกศาสนามีคำสอนที่ต้องการให้คนเป็นคนดี |
คำสั่งสอน | (n) doctrine, See also: teaching, instruction, Syn. คำสอน, คำอบรม, Example: เขายึดพระพุทธพระธรรมคำสั่งสอนและพระสงฆ์เป็นที่พึ่งทางใจ, Count Unit: ข้อ |
พระธรรม | (n) Buddha's teaching, See also: Buddhist doctrine, Example: เมื่อพระพระพุทธเจ้าตรัสรู้แล้วก็เสด็จเผยแพร่พระธรรมยังแคว้นมคธและแคว้นใกล้เคียง, Thai Definition: คำสั่งสอนของพระพุทธเจ้า |
วาท | (n) ideology, See also: creed, doctrine, belief, opinion, Syn. ลัทธิความเชื่อ, ความเห็น, Notes: (บาลี/สันสกฤต) |
ถาน | (n) monk's water closet, See also: monk's toilet, monk's latrine/lavatory, Syn. ส้วม, Thai Definition: ส้วมของพระ |
ทักษิณาจาร | (n) name of Brahmin doctrine, See also: person of upright conduct, Thai Definition: ชื่อลัทธิตันตระแบบหนึ่ง นับเนื่องในนิกายหนึ่งของศาสนาพราหมณ์ยุคหลัง เป็นแบบขวาหรือฝ่ายขวา มีพิธีกรรมเปิดเผย ไม่มีลามกอนาจาร, คู่กับ วามาจาร, ชื่อลัทธิพุทธตันตระแบบหนึ่ง ซึ่งมีหลักปฏิบัติทำนองเดียวกับลัทธิตันตระของพราหมณ์ โดยถือพระไวโรจนพุทธะแทนพรหมัน, Notes: (สันสกฤต) |
ทฤษฎี | (n) theory, See also: hypothesis, supposition, doctrine, teachings, Syn. แนวความคิด, Example: รูปแบบโครงร่างของทฤษฎีทางภาษาศาสตร์จะเป็นอย่างไรนั้น จะต้องทดสอบกันอีกมาก, Count Unit: ทฤษฎี, Thai Definition: ลักษณะที่คิดคาดเอาตามหลักวิชา เพื่อเสริมเหตุผลและรากฐานให้แก่ปรากฏการณ์หรือข้อมูลในภาคปฏิบัติ ซึ่งเกิดขึ้นมาอย่างมีระเบียบ, Notes: (บาลี/สันสกฤต) |
นิยม | (n) principle, See also: theory, doctrine, Example: ประเทศในยุโรปตะวันออกหลายประเทศได้ยกเลิกการปกครองระบบสังคมนิยม |
ธรรม | (n) doctrine, See also: Teaching of Buddha, dharma, Syn. คำสั่งสอน, คุณความดี, หลักธรรมะ, Thai Definition: หลักคำสั่งสอนในศาสนา, Notes: (บาลี/สันสกฤต) |
หลักคำสอน | (n) doctrine, See also: canon, established principle, Syn. คำสอน, คำสั่งสอน, Example: พระพุทธเจ้ามีหลักคำสอนที่ให้ความนิยม และให้เกียรติผู้ให้มากกว่าผู้รับ |
หลักศาสนา | (n) dogma, See also: doctrine, principle of one's faith, Example: หลักศาสนาทั่วไปสั่งสอนให้คนทำแต่ความดี |
หลักศาสนา | (n) dogma, See also: doctrine, principle of one's faith, Example: หลักศาสนาทั่วไปสั่งสอนให้คนทำแต่ความดี |
เบ่งหน้าอก | [beng nā-ok] (v, exp) EN: puff out one's chest FR: bomber le torse ; bomber la poitrine |
หัวอก | [hūa-ǿk] (n) EN: chest ; breast ; bosom FR: poitrine [ f ] |
คำสั่งสอน | [khamsang søn] (n, exp) EN: doctrine ; teaching ; instruction |
คำสอน | [khamsøn] (n) EN: teaching ; doctrine FR: enseignement [ m ] ; doctrine [ f ] |
คติธรรม | [khatitham] (n) EN: Buddhist doctrine ; moral teaching ; moral lesson ; moral saying ; wise saying ; uplifting statement |
หลักธรรมะ | [lakthamma] (n) EN: doctrine |
ลัทธิ | [latthi] (n) EN: ideology ; faith ; doctrine FR: idéologie [ f ] ; doctrine [ f ] ; croyance [ f ] |
หน้าอก | [nā-ok] (n) EN: chest ; bust ; breast ; bosom FR: buste [ m ] ; poitrine [ f ] ; torse [ m ] |
นกเด้าลมหัวเหลือง | [nok daolom hūa leūang] (n, exp) EN: Citrine Wagtail ; Yellow-hooded Wagtail FR: Bergeronnette citrine [ f ] |
นกเดินดงอกดำ | [nok doēn dong ok dam] (n, exp) EN: Black-breasted Thrush FR: Merle à poitrine noire [ f ] ; Grive à poitrine noire [ f ] |
นกหัวขวานด่างหัวแดงอกลาย | [nok hūa khwān dāng hūa daēng ok lāi] (n, exp) EN: Stripe-breasted Woodpecker FR: Pic à poitrine rayée [ m ] |
นกหัวขวานเขียวคอเขียว | [nok hūa khwān khīo khø khīo] (n, exp) EN: Streak-breasted Woodpecker FR: Pic verdâtre [ m ] ; Pic à poitrine striée [ m ] |
นกหัวโตขาดำ | [nok hūa tō khā dam] (n, exp) EN: Kentish Plover FR: Pluvier à collier interrompu [ m ] ; Gravelot à collier interrompu [ m ] ; Gravelot pattenoire [ m ] ; Gravelot de Kent [ m ] ; Pluvier de Kent [ m ] ; Pluvier à poitrine blanche [ m ] |
นกจาบดินอกลาย | [nok jāp din ok lāi] (n, exp) EN: Puff-throated Babbler FR: Akalat à poitrine tachetée [ m ] ; Timalie striée [ f ] ; Timalie à poitrine tachetée [ f ] |
นกจับแมลง อกแดง | [nok jap malaēng ok daēng] (n, exp) EN: Maroon-breasted Philentoma FR: Philentome à poitrine marron [ m ] ; Philentome à plastron roux [ m ] |
นกจับแมลงอกสีน้ำตาลอ่อน | [nok jap malaēng ok sī nāmtān øn] (n, exp) EN: Brown-chested Jungle Flycatcher ; Brown-chested Flycatcher FR: Gobemouche à poitrine brune [ m ] ; Rhinomyias à gorge blanche [ m ] ; Gobemouche olive [ m ] |
นกจับแมลงอกสีส้ม | [nok jap malaēng ok sī som] (n, exp) EN: Rufous-chested Flycatcher FR: Gobemouche à poitrine rousse [ m ] |
นกจับแมลงอกเทา | [nok jap malaēng ok thao] (n, exp) EN: Grey-chested Jungle Flycatcher FR: Gobemouche ombré [ m ] ; Rhinomyias à poitrine grise [ m ] |
นกจาบปีกอ่อนหัวเทา | [nok jāp pīk øn hūa thao] (n, exp) EN: Chestnut-eared Bunting FR: Bruant à oreillons [ m ] ; Bruant à demi-collier [ m ] ; Bruant à oreillons marron [ m ] ; Bruant à poitrine noire [ m ] |
นกจู๋เต้นจิ๋ว | [nok jū ten jiu] (n, exp) EN: Pygmy Wren-Babbler FR: Turdinule maillée [ f ] ; Timalie pygmée ; Turdinule pygmée [ f ] ; Pnoepyga à poitrine maillée |
นกจู๋เต้นคิ้วยาว | [nok jū ten khiu yāo] (n, exp) EN: Eyebrowed Wren-Babbler FR: Petite Turdinule [ f ] ; Timalie à poitrine tachetée [ f ] ; Turdinule à sourcils [ f ] |
นกกาฝากอกแดง | [nok kāfāk ok daēng] (n, exp) EN: Scarlet-breasted Flowerpecker FR: Dicée à poitrine écarlate [ m ] ; Dicée à gorge rubis [ m ] |
นกกาฝากอกเหลือง | [nok kāfāk ok leūang] (n, exp) EN: Yellow-breasted Flowerpecker FR: Dicée tacheté [ m ] ; Dicée à poitrine dorée [ m ] |
นกกาฝากอกสีเลือดหมู | [nok kāfāk ok sī leūat mū] (n, exp) EN: Crimson-breasted Flowerpecker FR: Dicée poignardé [ m ] ; Dicée à poitrine rouge [ m ] |
นกกะรางอกลาย | [nok karāng ok lāi] (n, exp) EN: Spot-breasted Laughingthrush FR: Garrulaxe à poitrine tachetée [ m ] ; Garrulax tacheté [ m ] ; Garrulaxe merle [ m ] |
นกกะรางสร้อยคอใหญ่ | [nok karāng søi khø yai] (n, exp) EN: Greater Necklaced Laughingthrush FR: Garrulaxe à plastron [ m ] ; Garrulax à bandeau [ m ] ; Garrulaxe à collier [ m ] ; Garrulaxe à poitrine noire [ m ] |
นกแขกเต้า | [nok khaek tāo] (n, exp) EN: Red-breasted Parakeet FR: Perruche à moustaches [ f ] ; Perruche à poitrine rose [ f ] |
นกคัคคูหางแพน | [nok khakkhū hāngphaēn] (n, prop) EN: Rusty-breasted Cuckoo ; Brush Cuckoo FR: Coucou à ventre roux [ m ] ; Coucou à poitrine rousse [ m ] |
นกขมิ้นหัวดำเล็ก | [nok khamin hūa dam lek] (n, exp) EN: Dark-throated Oriole FR: Loriot à gorge noire [ m ] ; Loriot à gorge sombre [ m ] ; Loriot à poitrine striée [ m ] |
นกขุนแผนอกสีส้ม | [nok khun phaēn ok sī som] (n, exp) EN: Orange-breasted Trogon FR: Trogon à poitrine jaune [ m ] ; Couroucou à poitrine jaune [ m ] ; Couroucou à poitrine orangée [ m ] |
นกกินแมลงป่าชายเลน | [nok kin malaēng pā chāilēn] (n, exp) EN: White-chested Babbler FR: Akalat à front noir [ m ] ; Timalie à poitrine blanche [ f ] ; Akalat à ventre blanc [ m ] |
นกกินแมลงป่าโกงกาง | [nok kin malaēng pā kōngkāng] (n, exp) EN: White-chested Babbler FR: Akalat à front noir [ m ] ; Timalie à poitrine blanche [ f ] ; Akalat à ventre blanc [ m ] |
นกกินแมลงป่าอกสีน้ำตาล | [nok kin malaēng pā ok sī nāmtān] (n, exp) EN: Buff-breasted Babbler FR: Akalat de Tickell [ m ] ; Timalie de Tickell [ f ] ; Akalat à poitrine fauve [ m ] |
นกกินปลีหางยาวคอดำ | [nok kin plī hāng yāo khø dam] (n, exp) EN: Black-throated Sunbird FR: Souimanga sombre [ m ] ; Souimanga à gorge noire [ m ] ; Souimanga à poitrine noire [ m ] |
นกกระจิบคอดำ | [nok krajip khø dam] (n, exp) EN: Dark-necked Tailorbird FR: Couturière à col noir [ f ] ; Fauvette-couturière à poitrine noire [ f ] ; Couturière des bois [ f ] |
นกกระจิบหญ้าคิ้วขาว | [nok krajip yā khiu khāo] (n, exp) EN: Hill Prinia FR: Prinia à gorge noire ; Fauvette-roitelet à poitrine blanche [ f ] |
นกกระจิบอกเทา | [nok krajip yā ok thao] (n, exp) EN: Grey-breasted Prinia FR: Prinia de Hodgson ; Fauvette-roitelet à poitrine grise [ f ] ; Prinia à poitrine grise |
นกกระจิ๊ดคิ้วดำท้องขาว | [nok krajit khiu dam thøng khāo] (n, exp) EN: Yellow-vented Warbler FR: Pouillot chanteur [ m ] ; Pouillot à poitrine jaune [ m ] |
นกกระเต็นอกขาว = นกกะเต็นอกขาว | [nok kraten ok khāo = nok katen ok khāo] (n, exp) EN: White-throated Kingfisher FR: Martin-chasseur de Smyrne [ m ] ; Martin-pêcheur à poitrine blanche [ m ] ; Martin-chasseur à gorge blanche [ m ] ; Martin-pêcheur à gorge blanche [ m ] ; Martin-pêcheur de Smyrne |
นกกระทาดงอกสีน้ำตาล | [nok krathā dong ok sī nāmtān] (n, exp) EN: Bar-backed Partridge FR: Torquéole à poitrine brune ; Perdrix à poitrine brune |
นกกระทาดงอกเทา | [nok krathā dong ok thao] (n, exp) EN: Grey-breasted Partridge FR: Torquéole de Sumatra ; Perdrix à poitrine grise [ f ] |
นกกระทาดงปักษ์ใต้ | [nok krathā dong pak tāi] (n, exp) EN: Chestnut-necklaced Partridge FR: Torquéole à poitrine châtaine ; Perdrix de Charlton [ f ] |
นกกวัก | [nok kwak] (n, exp) EN: White-breasted Waterhen FR: Râle à poitrine blanche [ m ] ; Marouette à poitrine blanche [ f ] |
นกน็อทเล็ก | [nok not lek] (n, exp) EN: Red Knot FR: Bécasseau maubèche [ m ] ; Bécasseau à poitrine rousse [ m ] ; Maubèche canut [ f ] ; Maubèche grise [ f ] ; Maubèche rousse [ f ] ; Bécasseau canut [ m ] |
นกปรอดหัวโขนก้นเหลือง | [nok parøt hūa khōn kon leūang] (n, exp) EN: Brown-breasted Bulbul FR: Bulbul à poitrine brune [ m ] ; Bulbul à ventre jaune [ m ] ; Bulbul d’Anderson [ m ] |
นกปลีกล้วยท้องเทา | [nok plī klūay thøng thao] (n, exp) EN: Grey-breasted Spiderhunter FR: Arachnothère à poitrine grise [ m ] ; Arachnothère modeste [ m ] |
นม | [nom] (n) EN: breast ; bust ; chest ; thorax ; bosom ; udders ; tit (vulg.) FR: mamelle [ f ] ; poitrine [ f ] ; sein [ m ] ; téton [ m ] (fam.) ; nichon [ m ] (vulg.) ; lolo [ m ] (fam.) ; néné [ m ] (fam.) |
อก | [ok] (n) EN: chest ; breast ; bust ; bosom FR: buste [ m ] ; poitrine [ f ] ; gorge [ f ] |
พระธรรม | [phratham] (n) EN: Buddha's teaching ; Buddhist doctrine FR: sermons du Bouddha [ mpl ] |
ศาสนาธรรม | [sātsanatham] (n) EN: religious doctrine |
trine | |
strine | |
citrine | |
latrine | |
doctrine | |
doctrine | |
latrines | |
doctrines | |
doctrine's |
latrine | |
doctrine | |
latrines | |
doctrines | |
sultriness |
accipitrine | (adj) of or relating to or belonging to the genus Accipiter (or to typical hawks) |
alpestrine | (adj) growing at high altitudes, Syn. subalpine |
baptistic doctrine | (n) any of various doctrines closely related to Anabaptism |
citrine | (n) semiprecious yellow quartz resembling topaz |
doctrine | (n) a belief (or system of beliefs) accepted as authoritative by some group or school, Syn. philosophy, philosophical system, school of thought, ism |
doctrine of analogy | (n) the religious belief that between creature and creator no similarity can be found so great but that the dissimilarity is always greater; any analogy between God and humans will always be inadequate, Syn. analogy, Ant. cataphatism, apophatism |
lacustrine | (adj) of or relating to or living near lakes |
latrine | (n) a public toilet in a military area |
monroe doctrine | (n) an American foreign policy opposing interference in the western hemisphere from outside powers |
paltriness | (n) worthlessness due to insignificance, Syn. sorriness |
philosophical doctrine | (n) a doctrine accepted by adherents to a philosophy, Syn. philosophical theory |
religious doctrine | (n) the written body of teachings of a religious group that are generally accepted by that group, Syn. gospel, creed, church doctrine |
sultriness | (n) oppressively hot and humid weather |
sultriness | (n) the quality of expressing or arousing sexual desire |
theological doctrine | (n) the doctrine of a religious group |
trinectes | (n) a genus of Soleidae, Syn. genus Trinectes |
trine immersion | (n) baptism by immersion three times (in the names in turn of the Trinity) |
truman doctrine | (n) President Truman's policy of providing economic and military aid to any country threatened by communism or totalitarian ideology |
alabaster | (adj) of or resembling alabaster, Syn. alabastrine |
breast of lamb | (n) a cut of lamb including the breastbone and attached muscles dressed as meat, Syn. poitrine d'agneau |
case | (n) a glass container used to store and display items in a shop or museum or home, Syn. showcase, vitrine, display case |
cell theory | (n) (biology) the theory that cells form the fundamental structural and functional units of all living organisms; proposed in 1838 by Matthias Schleiden and by Theodor Schwann, Syn. cell doctrine |
cy pres | (n) a rule that when literal compliance is impossible the intention of a donor or testator should be carried out as nearly as possible, Syn. cy pres doctrine, rule of cy pres |
hogchoker | (n) useless as food; in coastal streams from Maine to Texas and Panama, Syn. Trinectes maculatus |
legal principle | (n) (law) a principle underlying the formulation of jurisprudence, Syn. judicial doctrine, judicial principle |
rupestral plant | (n) plants growing among rocks, Syn. rupestrine plant, saxicolous plant, rupicolous plant |
three | (n) the cardinal number that is the sum of one and one and one, Syn. triplet, trio, triad, leash, deuce-ace, III, trinity, threesome, 3, trey, terzetto, trine, tercet, tierce, ternary, ternion, troika |
yellowhammer | (n) European bunting the male being bright yellow, Syn. Emberiza citrinella, yellow bunting |
Accipitrine | a. [ Cf. F. accipitrin. ] (Zool.) Like or belonging to the Accipitres; raptorial; hawklike. [ 1913 Webster ] |
Alabastrine | a. Of, pertaining to, or like, alabaster; |
Alpestrine | a. [ L. Alpestris. ] |
Austrine | n. [ L. austrinus, from auster south. ] Southern; southerly; austral. [ Obs. ] Bailey. [ 1913 Webster ] |
Citrine | a. [ F. citrin. See Citron. ] Like a citron or lemon; of a lemon color; greenish yellow. [ 1913 Webster ]
|
Citrine | n. A yellow, pellucid variety of quartz. [ 1913 Webster ] |
doctrine | n. [ F. doctrine, L. doctrina, fr. doctor. See Doctor. ] He taught them many things by parables, and said unto them in his doctrine, Hearken. Mark iv. 2. [ 1913 Webster ] Articles of faith and doctrine. Hooker. [ 1913 Webster ]
Unpracticed he to fawn or seek for power |
Electrine | a. [ L. electrinus of amber. See Electric. ] |
Endoctrine | v. t. [ Pref. en- + doctrine. ] To teach; to indoctrinate. [ Obs. ] Donne. [ 1913 Webster ] |
Lacustrine |
|
Latrine | n. [ L. latrina: cf. F. latrines. ] A privy, or water-closet, esp. in a camp, hospital, etc. [ 1913 Webster ] |
Monroe doctrine | . See under Doctrine. [ 1913 Webster ] |
paltriness | n. The state or quality of being paltry. [ 1913 Webster ] |
Palustrine | a. Of, pertaining to, or living in, a marsh or swamp; marshy. [ 1913 Webster ] |
Petrine | a. Of or pertaining to |
Socotrine | a. Of or pertaining to Socotra, an island in the Indian Ocean, on the east coast of Africa. -- |
Sultriness | n. The quality or state of being sultry. [ 1913 Webster ] |
Textrine | a. [ L. textrinus, for textorinus, fr. textor a weaver. ] Of or pertaining to weaving, textorial; |
Trine | a. [ See Trinal. ] Threefold; triple; |
Trine | n. [ F. trine, trin. See Trinal. ] In sextile, square, and trine. Milton. [ 1913 Webster ] A single trine of brazen tortoises. Mrs. Browning. [ 1913 Webster ] Eternal One, Almighty Trine! Keble. [ 1913 Webster ] |
Trine | v. t. To put in the aspect of a trine. [ R. ] [ 1913 Webster ] By fortune he [ Saturn ] was now to Venus trined. Dryden. [ 1913 Webster ] |
Trinervate | a. [ NL. trinervatus; pref. tri- + L. nervus nerve. ] (Bot.) Having three ribs or nerves extending unbranched from the base to the apex; -- said of a leaf. Gray. [ 1913 Webster ] |
Trinerved | |
Valeritrine | n. [ Valeric + tropine + -ine. ] (Chem.) A base, |
Veratrine | n. [ Cf. F. vératrine. See Veratrum. ] (Chem.) A poisonous alkaloid obtained from the root of hellebore ( |
Vitrine | n. [ F. ] A glass show case for displaying fine wares, specimens, etc. [ Webster 1913 Suppl. ] |
原则 | [原 则 / 原 則] principle; doctrine #1,116 [Add to Longdo] |
学说 | [学 说 / 學 說] theory; doctrine #10,577 [Add to Longdo] |
唯物主义 | [唯 物 主 义 / 唯 物 主 義] materialism, philosophical doctrine that physical matter is the whole of reality #20,330 [Add to Longdo] |
闷热 | [闷 热 / 悶 熱] sultry; sultriness; hot and stuffy; stifling hot #20,782 [Add to Longdo] |
无为 | [无 为 / 無 為] the Daoist doctrine of inaction; let things take their own course; laisser-faire #22,697 [Add to Longdo] |
中庸 | [中 庸] doctrine of the mean #23,374 [Add to Longdo] |
佛法 | [佛 法] Dharma (the teachings of the Buddha); Buddhist doctrine #25,915 [Add to Longdo] |
教义 | [教 义 / 教 義] creed; doctrine #30,456 [Add to Longdo] |
唯心主义 | [唯 心 主 义 / 唯 心 主 義] philosophy of idealism, the doctrine that external reality is a product of consciousness #31,179 [Add to Longdo] |
教条 | [教 条 / 教 條] creed; doctrine; religious dogma #31,720 [Add to Longdo] |
释义 | [释 义 / 釋 義] the meaning of sth; an explanation of the meaning of words or phrases; an interpretation (of doctrine); religious doctrine #33,432 [Add to Longdo] |
唯物论 | [唯 物 论 / 唯 物 論] the philosophy of materialism, doctrine that physical matter is the whole of reality #36,016 [Add to Longdo] |
传道 | [传 道 / 傳 道] to lecture on doctrine; to expound the wisdom of ancient sages; to preach; a sermon #45,601 [Add to Longdo] |
义理 | [义 理 / 義 理] doctrine (esp. religious); argumentation (in a speech or essay) #46,115 [Add to Longdo] |
唯心论 | [唯 心 论 / 唯 心 論] philosophy of idealism, the doctrine that external reality is a product of consciousness #47,562 [Add to Longdo] |
四书 | [四 书 / 四 書] Four Books - namely the Great Learning 大學|大学, the Doctrine of the Mean 中庸, the Analects of Confucius 論語|论语, and Mencius 孟子 #62,065 [Add to Longdo] |
传经 | [传 经 / 傳 經] to pass on scripture; to teach Confucian doctrine; to pass on one's experience #85,104 [Add to Longdo] |
多元论 | [多 元 论 / 多 元 論] pluralism, philosophical doctrine that the universe consists of different substances #109,025 [Add to Longdo] |
玄秘 | [玄 秘] mystery; mysterious; occult; abstruse doctrine (e.g. religious) #122,719 [Add to Longdo] |
黄水 | [黄 水 / 黃 水] citrine (orange or yellow quartz SiO2); yellow water; name of river in Henan #126,610 [Add to Longdo] |
释典 | [释 典 / 釋 典] Buddhist doctrine; sutras #261,949 [Add to Longdo] |
不可知论 | [不 可 知 论 / 不 可 知 論] agnosticism, the philosophical doctrine that some questions about the universe are in principle unanswerable #377,320 [Add to Longdo] |
一中原则 | [一 中 原 则 / 一 中 原 則] One-China principle, the official doctrine that Taiwan is a province of China [Add to Longdo] |
可知论 | [可 知 论 / 可 知 論] gnosticism, the philosophical doctrine that everything about the universe is knowable [Add to Longdo] |
教义和圣约 | [教 义 和 圣 约 / 教 義 和 聖 約] Doctrine and Covenants [Add to Longdo] |
黄水晶 | [黄 水 晶 / 黃 水 晶] citrine (orange or yellow quartz SiO2 as a semiprecious stone) [Add to Longdo] |
主義 | [しゅぎ, shugi] (n) doctrine; rule; principle; (P) #704 [Add to Longdo] |
論 | [ろん, ron] (n) (1) argument; discussion; dispute; controversy; discourse; debate; (2) theory; doctrine; (3) essay; treatise; comment #860 [Add to Longdo] |
義 | [ぎ, gi] (n, adj-no) (1) morality; righteousness; justice; honour (honor); (2) meaning; (3) { Buddh } teachings; doctrine; (n, n-pref) (4) nonconsanguineous relationship (i.e. of in-laws); (5) prosthesis #1,914 [Add to Longdo] |
教え(P);訓 | [おしえ, oshie] (n) teaching; instruction; teachings; precept; lesson; doctrine; (P) #2,184 [Add to Longdo] |
理念 | [りねん, rinen] (n) (Platonic) ideal (of how things ought to be, e.g. human rights); foundational principle; idea; conception (e.g. of the university); doctrine; ideology; (P) #6,765 [Add to Longdo] |
便所 | [べんじょ, benjo] (n) toilet; lavatory; rest room; latrine; comfort station; (P) #11,375 [Add to Longdo] |
教義 | [きょうぎ, kyougi] (n) creed; doctrine; dogma #12,651 [Add to Longdo] |
宗旨 | [しゅうし, shuushi] (n) tenets (doctrines) of a religious sect; (religious) sect #16,831 [Add to Longdo] |
エルゴメトリン | [erugometorin] (n) ergometrine [Add to Longdo] |
シトリン | [shitorin] (n) (See 黄水晶) citrine; citrine quartz; false topaz [Add to Longdo] |
シナトラドクトリン | [shinatoradokutorin] (n) Sinatra Doctrine [Add to Longdo] |
トルーマンドクトリン | [toru-mandokutorin] (n) Truman Doctrine [Add to Longdo] |
ドクトリン | [dokutorin] (n) doctrine; (P) [Add to Longdo] |
ブッシュ・ドクトリン;ブッシュドクトリン | [busshu . dokutorin ; busshudokutorin] (n) Bush Doctrine (American foreign policy guidelines allowing preemptive war, unilateral action, etc.) [Add to Longdo] |
モンロー主義 | [モンローしゅぎ, monro-shugi] (n) Monroe Doctrine; Monroeism [Add to Longdo] |
異端邪説 | [いたんじゃせつ, itanjasetsu] (n) heretical doctrine (thought, faith) [Add to Longdo] |
一乗 | [いちじょう, ichijou] (n) { Buddh } ekayana (doctrine that only one teaching, usu. the Lotus Sutra, can lead to enlightenment) [Add to Longdo] |
烏伝神道 | [うでんしんとう, udenshintou] (n) Uden Shinto (Shinto doctrines enunciated by Kamo no Norikiyo of Kamigamo Shrine) [Add to Longdo] |
黄水晶 | [きずいしょう, kizuishou] (n) citrine; yellow quartz [Add to Longdo] |
温気 | [うんき, unki] (n) heat; warmth; sultriness [Add to Longdo] |
教理 | [きょうり, kyouri] (n) doctrine [Add to Longdo] |
己を枉ぐ | [おのれをまぐ, onorewomagu] (exp) (arch) to cast aside one's beliefs and doctrines [Add to Longdo] |
胡麻蝶蝶魚;胡麻蝶々魚 | [ごまちょうちょううお;ゴマチョウチョウウオ, gomachouchouuo ; gomachouchouuo] (n) (uk) speckled butterflyfish (Chaetodon citrinellus, species of the Indo-Pacific); citron butterflyfish [Add to Longdo] |
護法 | [ごほう, gohou] (n) (1) { Buddh } defence of Buddhist doctrines; god who defends Buddhist doctrines; (2) defence of the constitution; (3) religious power to dispel demons and diseases [Add to Longdo] |
邪説 | [じゃせつ, jasetsu] (n) heretical doctrine [Add to Longdo] |
宗学 | [しゅうがく, shuugaku] (n) (See 神学) study of religious doctrine [Add to Longdo] |
宗義 | [しゅうぎ, shuugi] (n) denominational doctrine; doctrine of a sect [Add to Longdo] |
宗門 | [しゅうもん, shuumon] (n) doctrine; creed; sect; (P) [Add to Longdo] |
深奥 | [しんおう, shin'ou] (adj-na, n) esoteric doctrines; mysteries [Add to Longdo] |
祖述 | [そじゅつ, sojutsu] (n, vs) exposition (propagation) of one's master's teachings or doctrines [Add to Longdo] |
中庸 | [ちゅうよう, chuuyou] (adj-na, n) (1) middle way; (golden) mean; moderation; middle path; (2) (See 四書) the Doctrine of the Mean - one of the Four Books [Add to Longdo] |
超保守主義 | [ちょうほしゅしゅぎ, chouhoshushugi] (n, adj-no) ultraconservative doctrine; ultraconservative policy [Add to Longdo] |
天津鞴韜 | [てんしんふくとう;あまつたたら, tenshinfukutou ; amatsutatara] (n) { Buddh } bellows (of the) imperial harbor; Shinto Buddhist doctrines [Add to Longdo] |
二国論 | [にこくろん, nikokuron] (n) two-country model (esp. China and Taiwan); two-country doctrine [Add to Longdo] |
法華神道 | [ほっけしんとう, hokkeshintou] (n) (See 法華宗・1) Hokke Shinto (Shinto doctrines based on Nichiren Buddhism) [Add to Longdo] |
法輪 | [ほうりん, hourin] (n) { Buddh } (See 輪宝, 転法輪) the teachings of Buddha (as likened to the Dharmachakra, originally a wheel-like weapon used to destroy the evils of mankind); Buddhist doctrine [Add to Longdo] |
無政府主義 | [むせいふしゅぎ, museifushugi] (n) (doctrine of) anarchism [Add to Longdo] |
唯心 | [ゆいしん, yuishin] (n) (1) { Buddh } doctrine that all phenomena are produced from consciousness (a central teaching of the Avatamska sutra); (2) (See 唯物) spiritualism (in philosophy) [Add to Longdo] |
利益至上主義 | [りえきしじょうしゅぎ, riekishijoushugi] (n) self interest supremacy doctrine; (irresponsible) capitalism [Add to Longdo] |
立破 | [りっぱ;りゅうは, rippa ; ryuuha] (n) { Buddh } establishing and refuting (a doctrine) [Add to Longdo] |