42 ผลลัพธ์ สำหรับ จึ่ง
หรือค้นหา: -จึ่ง-, *จึ่ง*
เนื่องจากผลลัพธ์มีน้อย ระบบจึงเปลี่ยนคำค้นเป็น *จึ่ง*

พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔
จึ้งน. เหล็กสำหรับไชรูอย่างหนึ่ง เช่น เกะกะกบไสไชเหล็กจึ้ง (ขุนช้างขุนแผน). (ดิกชนารีไทย).
จึง, จึ่งสัน. สำหรับต่อความแสดงกิริยาที่กระทำภายหลัง เช่น กินข้าวแล้วจึงไป, แสดงความที่เป็นผลเนื่องจากเหตุข้างหน้า เช่น ทำดีจึงได้ดี.
กฎ(กด) น. คำบังคับ เช่น จึ่งสมเด็จพระมหินทราธิราชเจ้าแผ่นดินก็ตรัสให้ทำตามกฎให้ลงมานั้นทุกประการ (พงศ. ๑๑๓๖)
กฎหมายตราสั่ง เช่น จึ่งกฎหมายให้สามไป เดือนหนึ่งจอมไตร ดำรัสให้เร่งคืนมา (พากย์)
กระแสง ๑น. เสียงเพราะมีกังวาน เช่น จึ่งตั้งนโม ซุ่มเสียงใหญ่โต กระแสงแจ่มใส (ประถม ก กา).
กรุงกษัตริย์ เช่น จึ่งกรุงสุทโธทนเห็นอัศจรรย์ก็ทูลพลันด่งงนี้ (ม. คำหลวง ทศพร).
กลม ๔(กฺลม) ว. ปวง, หมด, สิ้น, เช่น ทั้งกลม คือ ทั้งปวง, จึ่งได้เมืองแก่กู ทงงกลํ (จารึกสยาม)
กันทะน. กระทะ เช่น จึ่งตั้งโลหะกันทะโดยตบะบนเส้าโขมดผี ให้ประโคมแล้วโหมอัคคี มาลีธูปเทียนบูชา (รามเกียรติ์ ร. ๒ ตอนศึกไมยราพณ์).
จำนองก. ผูก, คล้อง, หมายไว้, กำหนด, จำไว้, (โบ; กลอน) ประพันธ์, แต่ง, เช่น จึ่งจำนองโคลงอ้าง ถวายแด่บพิตรเจ้าช้าง (ลอ).
ฉบัด(ฉะ-) ว. ชัด, สันทัด, ทันทีทันใด, เช่น เจ้าช้างจึ่งรู้ฉบัด (ลอ), เร่งยอมนุญาตเยาวฉบัด (สรรพสิทธิ์).
ชุ่งสัน. จึ่ง, จวน, เช่น ครั้นชุ่งจะใกล้อ้า ค่อยผ้ายโชยชาย (ลอ).
ชุบทำให้มีชีวิต เช่น จึ่งหน่อนเรศร์ เรืองเวทชุบชาญ อื้นอาคมขาน ชูชีพย์ชายา (สรรพสิทธิ์)
เชียก. ไหว้ เช่น จึ่งพระมัทรีนางหนุ่มเหน้า เชียเชิงเจ้าพ่อผววแม่แง่ (ม. คำหลวง ทานกัณฑ์).
โซรม(โซม) ก. รุมกัน, ช่วยกัน, เช่น จึ่งจะรุมโรมโซรมปรทยด (ม. คำหลวง ชูชก), เลือดไหลคือโชรเซราะธาร ยักษาพลพาน โซรมก็ผาดผลาญผลง (อนิรุทธ์).
ตระกัด(ตฺระ-) ก. ใคร่, อยาก, ยินดี, เขียนเป็น ตรกัด ก็มี เช่น จึ่งเจ้ามัทรีเฉลอย ว่าพ่อเอยใช่ต้งงใจแก่ความกำหนัด ในตรกัดกรีธา แลข้าจะมาในที่นี้ (ม. คำหลวง กุมาร), กระกัด ก็ว่า.
ตรีเพชรทัณฑี(ตฺรีเพ็ดทันที) น. ชื่อโคลงชนิดหนึ่งที่เลื่อนคำรับสัมผัสในบาทที่ ๒ จากคำที่ ๕ มาเป็นคำที่ ๓ ส่วนข้อบังคับอื่น ๆ เหมือนโคลงสี่สุภาพทุกประการ เช่น ปางนั้นสองราชไท้ ดาบศ สาพิมตไปมา กล่าวแก้ว ประทานราชเอารส สองราช เวนแต่ชูชกแล้ว จึ่งไท้ชมทาน (จินดามณี).
ไตรจักร(-จัก) น. โลกทั้ง ๓ คือ สวรรค์ มนุษยโลก บาดาล เช่น จึ่งจับศรจันทวาทิตย์ อันเรืองฤทธิ์ปราบทั่วทั้งไตรจักร (รามเกียรติ์ ร. ๑).
ถีบทางก. เดินตรวจตรา เช่น นั่นแหละมึงจึ่งจะรู้จักฝีมือกูผู้ชื่อเจตบุตรพราน อันได้ถีบทางตระเวนด่านนี้แล (ม. ร่ายยาว ชูชก).
ทรู่(ซู่) ก. ลากไป, คร่าไป, เช่น จึ่งจะทรู่ไปหยาบ ด้วยอานุภาพกำลังมัน (ม. คำหลวง กุมาร).
บังอรเด็ก ๆ ที่กำลังน่ารัก เช่น จึ่งตรัสประภาษไปว่าพราหมณ์เอ่ย อย่าเพ่อน้อยใจแก่เราก่อน เราจะพาสองกุมารบังอรมาให้จงได้ (ม. ร่ายยาว กุมาร).
ประเทียดก. ประชด, ว่าร้ายในเชิงเปรียบเทียบ, เขียนเป็น ปรทยด หรือ ประทยด ก็มี เช่น จึ่งจะรุมโรมโซรมปรทยด, จึงจะรุมโรมโซรมประทยด สยดตัดพ้อ (ม. คำหลวง ชูชก).

พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔
จึง, จึ่งสัน. สำหรับต่อความแสดงกิริยาที่กระทำภายหลัง เช่น กินข้าวแล้วจึงไป, แสดงความที่เป็นผลเนื่องจากเหตุข้างหน้า เช่น ทำดีจึงได้ดี.
จึ้งน. เหล็กสำหรับไชรูอย่างหนึ่ง เช่น เกะกะกบไสไชเหล็กจึ้ง (ขุนช้างขุนแผน). (ดิกชนารีไทย).
กฎ(กด) น. คำบังคับ เช่น จึ่งสมเด็จพระมหินทราธิราชเจ้าแผ่นดินก็ตรัสให้ทำตามกฎให้ลงมานั้นทุกประการ (พงศ. ๑๑๓๖)
กฎหมายตราสั่ง เช่น จึ่งกฎหมายให้สามไป เดือนหนึ่งจอมไตร ดำรัสให้เร่งคืนมา (พากย์)
กระแสง ๑น. เสียงเพราะมีกังวาน เช่น จึ่งตั้งนโม ซุ่มเสียงใหญ่โต กระแสงแจ่มใส (ประถม ก กา).
กรุงกษัตริย์ เช่น จึ่งกรุงสุทโธทนเห็นอัศจรรย์ก็ทูลพลันด่งงนี้ (ม. คำหลวง ทศพร).
กลม ๔(กฺลม) ว. ปวง, หมด, สิ้น, เช่น ทั้งกลม คือ ทั้งปวง, จึ่งได้เมืองแก่กู ทงงกลํ (จารึกสยาม)
กันทะน. กระทะ เช่น จึ่งตั้งโลหะกันทะโดยตบะบนเส้าโขมดผี ให้ประโคมแล้วโหมอัคคี มาลีธูปเทียนบูชา (รามเกียรติ์ ร. ๒ ตอนศึกไมยราพณ์).
จำนองก. ผูก, คล้อง, หมายไว้, กำหนด, จำไว้, (โบ; กลอน) ประพันธ์, แต่ง, เช่น จึ่งจำนองโคลงอ้าง ถวายแด่บพิตรเจ้าช้าง (ลอ).
ฉบัด(ฉะ-) ว. ชัด, สันทัด, ทันทีทันใด, เช่น เจ้าช้างจึ่งรู้ฉบัด (ลอ), เร่งยอมนุญาตเยาวฉบัด (สรรพสิทธิ์).
ชุ่งสัน. จึ่ง, จวน, เช่น ครั้นชุ่งจะใกล้อ้า ค่อยผ้ายโชยชาย (ลอ).
ชุบทำให้มีชีวิต เช่น จึ่งหน่อนเรศร์ เรืองเวทชุบชาญ อื้นอาคมขาน ชูชีพย์ชายา (สรรพสิทธิ์)
เชียก. ไหว้ เช่น จึ่งพระมัทรีนางหนุ่มเหน้า เชียเชิงเจ้าพ่อผววแม่แง่ (ม. คำหลวง ทานกัณฑ์).
โซรม(โซม) ก. รุมกัน, ช่วยกัน, เช่น จึ่งจะรุมโรมโซรมปรทยด (ม. คำหลวง ชูชก), เลือดไหลคือโชรเซราะธาร ยักษาพลพาน โซรมก็ผาดผลาญผลง (อนิรุทธ์).
ตระกัด(ตฺระ-) ก. ใคร่, อยาก, ยินดี, เขียนเป็น ตรกัด ก็มี เช่น จึ่งเจ้ามัทรีเฉลอย ว่าพ่อเอยใช่ต้งงใจแก่ความกำหนัด ในตรกัดกรีธา แลข้าจะมาในที่นี้ (ม. คำหลวง กุมาร), กระกัด ก็ว่า.
ตรีเพชรทัณฑี(ตฺรีเพ็ดทันที) น. ชื่อโคลงชนิดหนึ่งที่เลื่อนคำรับสัมผัสในบาทที่ ๒ จากคำที่ ๕ มาเป็นคำที่ ๓ ส่วนข้อบังคับอื่น ๆ เหมือนโคลงสี่สุภาพทุกประการ เช่น ปางนั้นสองราชไท้ ดาบศ สาพิมตไปมา กล่าวแก้ว ประทานราชเอารส สองราช เวนแต่ชูชกแล้ว จึ่งไท้ชมทาน (จินดามณี).
ไตรจักร(-จัก) น. โลกทั้ง ๓ คือ สวรรค์ มนุษยโลก บาดาล เช่น จึ่งจับศรจันทวาทิตย์ อันเรืองฤทธิ์ปราบทั่วทั้งไตรจักร (รามเกียรติ์ ร. ๑).
ถีบทางก. เดินตรวจตรา เช่น นั่นแหละมึงจึ่งจะรู้จักฝีมือกูผู้ชื่อเจตบุตรพราน อันได้ถีบทางตระเวนด่านนี้แล (ม. ร่ายยาว ชูชก).
ทรู่(ซู่) ก. ลากไป, คร่าไป, เช่น จึ่งจะทรู่ไปหยาบ ด้วยอานุภาพกำลังมัน (ม. คำหลวง กุมาร).
บังอรเด็ก ๆ ที่กำลังน่ารัก เช่น จึ่งตรัสประภาษไปว่าพราหมณ์เอ่ย อย่าเพ่อน้อยใจแก่เราก่อน เราจะพาสองกุมารบังอรมาให้จงได้ (ม. ร่ายยาว กุมาร).
ประเทียดก. ประชด, ว่าร้ายในเชิงเปรียบเทียบ, เขียนเป็น ปรทยด หรือ ประทยด ก็มี เช่น จึ่งจะรุมโรมโซรมปรทยด, จึงจะรุมโรมโซรมประทยด สยดตัดพ้อ (ม. คำหลวง ชูชก).

Time: 0.0231 seconds, cache age: 2.166 (clear)Longdo Dict -- https://dict.longdo.com/