homoeopathy | [โฮมีโอพาธี] (n) การบำบัดแบบโฮมีโอพาธีมีแนวคิดหรือปรัชญาพื้นฐานในการทำความเข้าใจร่างกายมนุษย์ที่แตกต่างจากระบบการแพทย์แผนปัจจุบันโดยสิ้นเชิง การมองร่างกายและจิตใจของ ผู้ป่วยจะไม่ได้มองเป็นอวัยวะที่แยกส่วนออกจากกัน แต่จะมองร่างกายและจิตใจของผู้ป่วยเป็นภาพรวมเดียวกัน ดังนั้นก่อนที่จะบำบัดผู้ป่วยจะต้องมีการสัมภาษณ์และคุยกับผู้ป่วยในเรื่องของลักษณะทั่วไป บุคลิกภาพ ประวัติทางการแพทย์ของครอบครัว อารมณ์ ความรู้สึกส่วนบุคคลต่อสิ่งแวดล้อม อาหาร อากาศ ฯลฯ รวมทั้งอาการของโรคด้วย นักบำบัด (practitioner) จะต้องนำคำตอบทั้งหมดมาประมวลและสรุปเป็นภาพรวมโดยเรียกว่า “ภาพของอาการ” (symtom picture)ดังนั้นการประเมินประสิทธิภาพของการบำบัดจึงไม่ควรใช้กรอบและแนวคิดของระบบการแพทย์แผนปัจจุบันประเมินแต่เพียงอย่างเดียว ควรมีการศึกษาและทำความเข้าใจแนวคิดพื้นฐานของการบำบัดแบบโฮมีโอพาธีด้วย โดยสรุปแล้วการบำบัดแบบโฮมีโอพาธีจัดเป็นศาสตร์การรักษาสุขภาพแบบองค์รวมที่เน้นเรื่องการปรับสมดุลสารชีวเคมีและพลังไหลเวียนภายในร่างกาย การให้ยาเป็นไปเพียงเพื่อกระตุ้นให้ร่างกายเกิดการปรับสมดุลด้วยกลไกตามธรรมชาติของร่างกายเอง ไม่ได้มุ่งหมายให้ยาไปขจัดหรือทำลายกลไกของร่างกายหรือสารที่ก่อให้เกิดอาการป่วย รวมทั้งไม่ได้มุ่งหมายที่จะขจัดสิ่งมีชีวิตใด ๆ ออกจากร่างกายด้วย |
immunostimulation | (vt) การกระตุ้นภูมิคุ้มกัน เช่น Several prominent researchers have been issued multiple patents for immunostimulation based, hair loss treatments., Syn. immune stimulation |
Amyotrophic Lateral Sclerosis (ALS) | (n, name) โรคกล้ามเนื้ออ่อนแรง เป็นโรคที่เกิดจากการเสื่อมสลายของเซลล์ประสาทที่ควบคุมการทำงานของกล้ามเนื้อ พยาธิสภาพของโรคเอแอลเอสอยู่ที่บริเวณแกนสมอง และไขสันหลัง ทำให้ผู้ป่วยมีกล้ามเนื้อแขนขา และลำตัวอ่อนแรง กลืนลำบาก และพูดไม่ชัด คำว่า “Amyotrophic” หมายถึง กล้ามเนื้ออ่อนแรง ฝ่อลีบและเต้นพลิ้ว (fasciculation) ส่วนคำว่า “Lateral sclerosis” หมายถึงรอยโรคในทางเดินของกระแสประสาทซึ่งควบคุมการทำงานของกล้ามเนื้อในไขสันหลัง โรคเอแอลเอสพบน้อยมาก โดยพบได้เพียง 4 ถึง 6 ต่อประชากร 100, 000 คน และโอกาสที่จะพบผู้ป่วยรายใหม่มีเพียง 1.5 ถึง 2.5 ต่อประชากร 100, 000 คนต่อปี โรคนี้เป็นกับผู้ใหญ่วัยใดก็ได้ แต่จะพบบ่อยขึ้นตามอายุ อายุเฉลี่ยของผู้ป่วยโรคนี้ประมาณ 65 ปี โดยมักเป็นในเพศชายมากกว่าเพศหญิง จนถึงปัจจุบัน ยังไม่ทราบแน่ชัดว่าโรคเอแอลเอสเกิดขึ้นได้อย่างไร ผู้ป่วยราวร้อยละ 5 (โดยเฉพาะผู้ป่วยอายุน้อย) อาจมีประวัติโรคนี้ในครอบครัว สิ่งแวดล้อมหรือสารพิษบางชนิด อาจมีผลกับการเกิดโรคนี้ เนื่องจากพบว่าในบางพื้นที่ของโลก เช่นที่เกาะกวม พบโรคนี้มากกว่าที่อื่น นอกจากนั้นการศึกษาทางระบาดวิทยายังพบว่า นักกีฬาบางประเภท โดยเฉพาะนักฟุตบอลอาชีพมีโอกาสเป็นโรคนี้สูงกว่าประชากรทั่วไป ปัจจุบันเชื่อว่าสาเหตุของโรคนี้อาจเกิดจาก กลไกภูมิคุ้มกันต่อตนเองผิดปกติ (Autoimmune attack) หรือเกิดจากกลไกอนุมูลอิสระ (Free radicals) ทำลายเซลล์ประสาทของตนเอง ส่วนอีกทฤษฎีหนึ่งเชื่อว่า การเสื่อมสลายของเซลล์ประสาทในสมองและไขสันหลังเกิดจากสารสื่อนำกระแสประสาท (neurotransmitter) ที่เรียกว่ากลูตาเมต (glutamate) กระตุ้นให้เกิดการทำลายเซลล์ (ข้อมูลจาก ผศ.นพ.รุ่งนิรันดร์ ประดิษฐสุวรรณ สาขาวิชาอายุรศาสตร์ปัจฉิมวัย : http://www.thonburihospital.com/th/tip_detail.asp?id=22 , http://www.inf.ku.ac.th/article/diag/520506/alsmnd.html) |
acetolase | เอนไซม์ที่กระตุ้นการเปลี่ยนแปลงแอลกอฮอลล์เป็น acetic acid |
acetylcholinesterase | เอนไซม์ที่กระตุ้น hydrolysis ของ acetyl choline |
acetyltransferase | เอนไซม์ที่กระตุ้นการย้าย acetyl group |
acth | ย่อมาจาก adrenocorticotropic hormone ทำหน้าที่ควบคุมและกระตุ้นต่อมหมวกไตชั้นนอก ในการสร้างฮอร์โมนพวก hydrocortisone |
activate | (แอค' ทิเวท) vt. กระตุ้น, ทำให้เกิดภาวะกัมมันตภาพรังสี. -activator n. |
actuate | (แอค' ชูเอท) vt. กระตุ้นให้กระทำ, ดำเนินการ. -actuator n., Syn. move, motivate, Ant. deter, discourage, block |
adrenocorticotropic | (อะดรี' โนคอร์ทิโคทรอพ' พิค) adj. ซึ่งกระตุ้นส่วนเปลือกของต่อมหมวกไต |
aftereffect | (อาฟ' เทอะอิเฟคท'ฺ, แอฟ-') n. ผลหลังจากการกระตุ้น, ผลภายหลัง, Syn. side effect |
aminoacylase | เอนไซม์ในไตซึ่งกระตุ้นการเปลี่ยนแปลง hippuric acid เป็น benzoic acid และ glycine |
amphetamine | (แอมเฟท' ทะมีน) n. ยากระตุ้นจิตประสาทชนิดหนึ่งมันกระตุ้นระบบประสาทส่วนกลาง ใช้เป็นยาลดความอยากอาหาร (ยาบ้าของนายเสนาะ เทียนทอง) |
activate | (vt) กระตุ้น, ทำให้เคลื่อนไหว |
activation | (n) การกระตุ้น, การเคลื่อนไหว |
actuate | (vt) กระตุ้น, ดุน, ปลุกเร้า, ดำเนินการ |
animate | (vt) กระตุ้น, ทำให้มีชีวิต |
appetizing | (adj) กระตุ้นความต้องการ, เจริญอาหาร, น่ารับประทาน |
arouse | (vt) เร้าใจ, ปลุกใจ, ดลใจ, กระตุ้น, ทำให้ตื่นเต้น |
awaken | (vt) ปลุก, กระตุ้น, ทำให้ตื่น |
bestir | (vt) กระตุ้น, ทำให้กระฉับกระเฉง |
booster | (n) ผู้ยก, ผู้สนับสนุน, ผู้ดัน, สิ่งกระตุ้น |
cordial | (n) ยาหอม, ยาบำรุงหัวใจ, ยากระตุ้นหัวใจ |