รังสี | (n) radioactivity, See also: radiation, ray, light, Example: จากการตรวจวัดรังสีพบว่า จำนวนปริมาณรังสีแพร่กระจายออกมามีขนาดไม่อยู่ในเกณฑ์ที่จะเป็นอันตราย, Notes: (บาลี/สันสกฤต) |
รังสีเบตา | (n) beta ray, Notes: (อังกฤษ) |
รังสีวิทยา | (n) radiology, Thai Definition: วิทยาศาสตร์ที่ว่าด้วยรังสีเอกซ์และกัมมันตภาพรังสีรวมทั้งการใช้รังสีวิเคราะห์และรักษาโรค, Notes: (อังกฤษ) |
รังสีอัลฟา | (n) alpha ray, Notes: (อังกฤษ) |
รังสีแพทย์ | (n) radiologist, Example: เขาได้รับการอบรมให้เป็นรังสีแพทย์ประจำศูนย์บริการชุมชน, Thai Definition: แพทย์ที่วิเคราะห์และรักษาโรคโดยใช้ความรู้ทางรังสีวิทยา |
รังสีคอสมิก | (n) cosmic rays, Example: เราส่งดาวเทียมออกไปวนรอบโลกเพื่อวัดอุณหภูมิ รังสีคอสมิก และสนามแม่เหล็กรอบโลก, Thai Definition: คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่มีพลังงานสูงยิ่ง มีช่วงคลื่นสั้นยิ่งกว่ารังสีแกมมามาก องค์ประกอบส่วนใหญ่เป็นโปรตอนประมาณร้อยละ 90 และพบอิเล็กตรอน อนุภาคแอลฟาด้วย เกิดมาจากอวกาศนอกโลกพุ่งมาสู่โลก ยังไม่ทราบแหล่งกำเนิดแน่นอน., Notes: (อังกฤษ) |
รังสีแกมม่า | (n) gamma ray, Example: รังสีแกมมาเป็นรังสีที่ทรงอานุภาพมาก ต้องใช้ผนังคอนกรีตหนาถึง 2 เมตรจึงสามารถกันรังสีได้, Notes: (อังกฤษ) |
รังสีความร้อน | (n) infrared rays, See also: infrared, Syn. อินฟราเรด, รังสีอินฟราเรด, Example: การกระจายรังสีความร้อนออกจากร่างกายมนุษย์เป็นสัดส่วนแบบ exponential กับอุณหภูมิในร่างกาย, Thai Definition: รังสีแม่เหล็กไฟฟ้าซึ่งมีย่านของการแผ่รังสีที่มีช่วงคลื่นประมาณระหว่าง 7.8 x 10-7 เมตร กับ 1 มิลลิเมตร, Notes: (อังกฤษ) |
รังสีความร้อน | น. รังสีแม่เหล็กไฟฟ้าซึ่งมีย่านของการแผ่รังสีที่มีช่วงคลื่นประมาณระหว่าง ๗.๘ x ๑๐–๗ เมตร กับ ๑ มิลลิเมตร, อินฟราเรด ก็เรียก. |
รังสีคอสมิก | น. คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่มีพลังงานสูงยิ่ง มีช่วงคลื่นสั้นยิ่งกว่ารังสีแกมมามาก องค์ประกอบส่วนใหญ่เป็นโปรตอนประมาณร้อยละ ๙๐ และพบอิเล็กตรอน อนุภาคแอลฟาด้วย เกิดมาจากอวกาศนอกโลกพุ่งมาสู่โลก ยังไม่ทราบแหล่งกำเนิดแน่นอน. |
รังสีบีตา | ดู บีตา. |
รังสีวิทยา | น. วิทยาศาสตร์แขนงที่ว่าด้วยรังสีเอกซ์และกัมมันตภาพรังสี รวมทั้งการใช้รังสีวิเคราะห์และรักษาโรค. |
รังสีเรินต์เกน | ดู รังสีเอกซ์. |
รังสีเหนือม่วง | น. รังสีแม่เหล็กไฟฟ้าซึ่งมีย่านของการแผ่รังสีที่มีช่วงคลื่นประมาณระหว่าง ๔ x ๑๐–๗ เมตร กับ ๕ x ๑๐–๙ เมตร แสงแดดมีรังสีอัลตราไวโอเลต ซึ่งจะมีปฏิกิริยาต่อสาร ๗–ดีไฮโดรคอเลสเทอรอล (7–dehydrocholesterol) ในผิวหนังมนุษย์ ให้กลายเป็นวิตามินดี, อัลตราไวโอเลต ก็เรียก. |
รังสีเอกซ์ | น. รังสีแม่เหล็กไฟฟ้าซึ่งมีย่านของการแผ่รังสีที่มีช่วงคลื่นอยู่ประมาณระหว่าง ๕ x ๑๐–๙ เมตร ถึง ๖ x ๑๐–๑๒ เมตร ใช้ประโยชน์ในทางแพทย์ ทางวิศวกรรม เป็นต้น, รังสีเรินต์เกน หรือ เอกซเรย์ ก็เรียก |
รังสีเอกซ์ | เรียกการถ่ายภาพอวัยวะภายในโดยใช้รังสีเอกซ์ว่า การถ่ายภาพเอกซเรย์, เรียกการรักษาโรคมะเร็งและโรคผิวหนังบางประเภท โดยใช้รังสีเอกซ์ที่มีช่วงคลื่นสั้นกว่าที่ใช้ถ่ายภาพ ว่า การฉายเอกซเรย์ หรือ การฉายแสง. |
รังสีแกมมา | ดู แกมมา. |
รังสีแพทย์ | น. แพทย์ที่วิเคราะห์และรักษาโรคโดยใช้ความรู้ทางรังสีวิทยา. |
Infrared | รังสีอินฟราเรด [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Alpha ray | รังสีแอลฟา, กระแสของ<em>อนุภาคแอลฟา</em> หรืออาจใช้เรียกแทนอนุภาคแอลฟาได้ <br>(ดู Alpha particle ประกอบ)</br> [นิวเคลียร์] |
Background radiation | รังสีพื้นหลัง, รังสีจากสิ่งแวดล้อมซึ่งมีที่มาจากหลายแหล่ง เช่น รังสีคอสมิกจากอวกาศ รังสีจากสารกัมมันตรังสีตามธรรมชาติที่มีอยู่ในดิน น้ำ อากาศ อาหาร รวมทั้งที่มีอยู่ในร่างกายมนุษย์ (ดู natural exposure ประกอบ) [นิวเคลียร์] |
Brachytherapy | รังสีรักษาระยะใกล้, การรักษาโดยใช้สารกัมมันตรังสีที่เป็นของแข็ง ฝังไว้ในร่างกายใกล้ๆ กับบริเวณที่ต้องการรักษา, Example: [นิวเคลียร์] |
Bremsstrahlung | เบรมส์ชตราลุง, รังสีคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่ถูกปล่อยออกมา เมื่ออนุภาคที่มีประจุถูกเร่งให้เร็วขึ้น หรือถูกหน่วงให้ช้าลง รังสีเอกซ์จากเครื่องเอกซเรย์ทั่วไปก็เป็นรังสีชนิดนี้ [นิวเคลียร์] |
Characteristic X-ray | รังสีเอกซ์ลักษณะเฉพาะ, รังสีที่เกิดจากการที่อะตอมถูกกระตุ้น ทำให้อิเล็กตรอนวงในหลุดออกไป และอิเล็กตรอนวงถัดไปเข้ามาแทนที่ แล้วให้พลังงานส่วนเกินออกมาในรูปของรังสีเอกซ์ซึ่งมีค่าพลังงานเฉพาะของธาตุที่ถูกกระตุ้น (ดู excited state ประกอบ) [นิวเคลียร์] |
Cosmic radiation | รังสีคอสมิก, รังสีจากอวกาศซึ่งเข้าสู่ชั้นบรรยากาศของโลก มีองค์ประกอบโดยประมาณ ได้แก่ โปรตอนร้อยละ 87 รังสีแอลฟาร้อยละ 11 รังสีอนุภาคหนักที่มีเลขเชิงอะตอมระหว่าง 4 ถึง 26 ร้อยละ 1 และ อิเล็กตรอนร้อยละ 1 [นิวเคลียร์] |
Electromagnetic radiation | รังสีแม่เหล็กไฟฟ้า, คลื่นไฟฟ้าและคลื่นแม่เหล็กที่ประสาน และมีอันตรกิริยาต่อกัน เช่น คลื่นแสง คลื่นวิทยุ รังสีแกมมา และรังสีเอกซ์ รังสีเหล่านี้เคลื่อนที่ด้วยความเร็วเท่ากับความเร็วแสง และสามารถผ่านสุญญากาศได้ [นิวเคลียร์] |
External radiation | รังสีนอกร่างกาย, รังสีที่มนุษย์ได้รับจากแหล่งกำเนิดรังสีที่อยู่ภายนอกร่างกาย เช่น รังสีคอสมิก และรังสีจากต้นกำเนิดรังสีชนิดต่างๆ (ดู source ประกอบ) [นิวเคลียร์] |
X-rays | รังสีเอกซ์, รังสีในรูปของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า มีอำนาจทะลุทะลวงสูงไม่ได้มีต้นกำเนิดจากนิวเคลียสของอะตอม แต่เกิดขึ้นเมื่ออะตอมถูกกระตุ้น ทำให้อิเล็กตรอนวงในหลุดออกไป และอิเล็กตรอนวงถัดไปเข้ามาแทนที่ แล้วให้พลังงานส่วนเกินออกมาในรูปของรังสีเอกซ์ หรือเกิดจากการระดมยิงเป้าโลหะหนักบางชนิด เช่น ทังสเตน ด้วยอิเล็กตรอนความเร็วสูง ซึ่งอิเล็กตรอนจะถูกหน่วงให้ช้าลงอย่างทันทีทันใดและปล่อยรังสีเอกซ์ออกมา บางคน เรียกรังสีเอกซ์ว่า รังสีเรินต์เก็น ตามชื่อของ วิลเฮล์ม คอนราด เรินต์เก็น นักวิทยาศาสตร์ชาวเยอรมันผู้ค้นพบรังสีนี้เมื่อ ปี พ.ศ. 2438 [นิวเคลียร์] |
รังสี | [rangsī] (n) FR: demi-droite [ f ] |
รังสี = รังสิ | [rangsī = rangsi] (n) EN: ray ; beam of light ; radiation ; radioactivity FR: rayonnement [ m ] ; radiation [ f ] ; rayon [ m ] ; faisceau lumineux [ m ] |
รังสีความร้อน | [rangsī khwāmrøn] (n, exp) EN: infrared rays ; infrared FR: rayons infrarouges [ mpl ] |
รังสีคอสมิก | [rangsī khøtmik] (n, exp) EN: cosmic rays FR: rayonnement cosmique [ m ] ; rayons cosmiques [ mpl ] |
รังสีตกกระทบ | [rangsī tokkrathop] (n, exp) EN: incident ray FR: rayon incident [ m ] |
รังสีบีตา | [rangsī bītā] (n, exp) EN: beta rays FR: rayons bêta [ mpl ] |
รังสีวิทยา | [rangsīwitthayā] (n) EN: radiology FR: radiologie [ f ] |
รังสีอัลตราไวโอเลต | [rangsī antrāwaiōlēt] (n, exp) EN: UV FR: rayonnement ultraviolet [ m ] ; UV [ mpl ] |
รังสีอัลฟา | [rangsī anfā = rangsī alfā] (n, exp) EN: alpha rays FR: rayons alpha [ mpl ] |
รังสีอินฟราเรด | [rangsī infrārēt] (n, exp) EN: infrared FR: rayonnement infrarouge [ m ] |
absorption coefficient | สัมประสิทธิ์ของอัตราที่ลดลงของความเข็มช้นของรังสีเมื่อผ่านสาร ๆ หนึ่ง |
actinal | (แอค' ทินัล) adj. ซึ่งมีหนวดหรือส่วนยื่นหรือรังสี (having tentacles or rays) |
actinic | (แอคทิน' นิค) adj. เกี่ยวกับคุณสมบัติของการแผ่รังสี, มีรังสี (pertaining to actinism) |
actinic ray physics. | รังสีคลื่นสั้น, รังสีพันสีม่วง (which produces photochemical effects) |
actinide series | (แอค' ทิไนดฺ) chem. อนุกรมของธาตุกัมมันตภาพรังสีที่เริ่มจากธาตุ Actinium จนถึงธาตุ Lawrencium |
actinism | (แอค' ทินิสซึม) n. คุณสมบัติการแผ่รังสีซึ่งมีผลทางเคมี |
actinium | (แอคทิน' เนียม) n. ธาตุกัมมันตภาพรังสีที่มีสัญลักษณ์ AC; at. no, :89; at. wt.: 227; half life: 13.5 years |
actino- | (คำเสริมหน้า) เกี่ยวกับการแผ่กัมมันตภาพรังสี, เกี่ยวกับการแผ่ออก., Syn. actin- |
actinoid | (แอค' ทินอยด์) adj. ซึ่งคล้ายรังสี |
actinometer | (แอคทินอม' มิเทอะ) n. เครื่องมือวัดความเข้มข้นการแผ่รังสี. -actinometric adj. actinometry n. |
beam | (vi) เปล่งแสง, สว่าง, แผ่รังสี, ส่งสัญญาณวิทยุ, ยิ้ม |
irradiate | (vi) ฉายแสง, ฉายรังสี |
radiate | (vi, vt) แผ่รังสี, ส่งแสง, กระจายเสียง, ปล่อยออกมา |
radiation | (n) กัมมันตภาพรังสี, การส่งแสง, การแผ่รังสี, การฉายแสง |
radiator | (n) หม้อน้ำรถยนต์, ท่อนำความร้อน, ผู้ปล่อยรังสี |
radius | (n) รังสี, รัศมี, ขอบเขต |
ray | (n) รังสี, ปลากระเบน |
ray | (vi) ปล่อยแสง, ปล่อยรังสี, ปล่อยรัศมี |
X-X-ray | (n) รังสีเอกซ์, ภาพเอกซ์เรย์ |