virtual organization | (n) องค์การเสมือนจริง, เครือข่ายขององค์การซึ่งเชื่อมโยงกันด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อที่จะแลกเปลี่ยนทักษะ ทรัพยากร สินค้า บริการ การเข้าถึงตลาด และเพื่อลดต้นทุน |
avatar | (n) ตัวแทนตัวตนของเราในโลกเสมือนจริงหรืออินเทอร์เน็ต, ตัวตนจำลอง, See also: repretation |
avatar | (n) อวทาร์, รูปแทนตัวผู้ใช้ในโลกเสมือนหรือเกม ซึ่งอาจเป็นสองมิติหรือสามมิติก็ได้ [ ศัพท์คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ ฉบับราชบัณฑิตยสภา ] |
sandbag | (vi) ตี หรือ ทำให้บุคคลอื่นตกใจ ด้วยวิธีการใช้กระสอบทราย หรือ เสมือนว่าใช้กระสอบทราย |
butterfish | ['บัต-เถอะ ฟิช] (n) ชื่อเรียกปลาทะเลหลายชนิดที่มีตัวเมือกลื่นเสมือนกับจับก้อนเนย ในวงศ์ปลาจะละเม็ด (Stromateidae) โดยเฉพาะในสกุล Peprilus โดยเฉพาะ American butterfish (Peprilus triacanthus) ที่ใช้เป็นอาหาร นอกจากนี้ เช่น Gulf butterfish (Peprilus burti), Shining butterfish (Peprilus ovatus), Salema butterfish (Peprilus snyderi) |
_ | เครื่องหมาย underscore เป็นอักขระตัวหนึ่งบนแผงแป้นอักขระ มีลักษณะดังนี้ (-) ถ้าเป็นแป้นในพิมพ์ดีดจะใช้สำหรับขีดเส้นใต้ (underline) แทน แต่ในคอมพิวเตอร์ การขีดเส้นใต้มักนิยมใช้เป็นคำสั่ง (underline) แทน แต่บนแผงแป้นพิมพ์ก็ยังมีแป้นนี้อยู่ เมื่อกดแป้นนี้ คอมพิวเตอร์จะถือเสมือนเป็นตัวอักขระตัวหนึ่ง แต่ไม่สามารถใช้เป็นการขีดเส้นใต้ได้ต่อไปอีก เช่น อาจตั้งชื่อแฟ้มข้อมูลว่า A-B ก็ได้ |
apostrophise | (อะพอส'ทระไฟซ) vt., vi. พูดกับผู้ที่ไม่อยู่ หรือตายไปแล้วเสมือนกับว่าผู้นั้นอยู่ ณ ที่นั้น |
bank switching | การสลับชิปไปมาหมายถึง การสลับไปมาของการใช้ชิปในหน่วยความจำเดิมที่ติดมากับเครื่อง กับหน่วยความจำที่เพิ่มภายหลัง ที่สามารถทำได้อย่างรวดเร็ว จนกระทั่งทำให้รู้สึกเสมือนว่า หน่วยความจำทั้งสองนั้นเป็นหน่วยความจำเดียวกัน เช่น บริษัทไอบีเอ็มผลิตไมโครคอมพิวเตอร์ออกมาขายในตลาดโดยมีหน่วยความจำติดมาภายในตัวเครื่องเพียง 640 เคไบต์ แต่เรานำไปเพิ่มหน่วยความจำเป็นถึง 16 เมกกะไบต์ การที่จะทำให้หน่วยความจำเดิมกับหน่วยความจำที่เพิ่มมาใหม่ทำงานสลับกันไปมาได้ ก็จะต้องอาศัยการสลับชิปไปมานี้ อย่างไรก็ตาม หากเราเป็นเพียงผู้ใช้เครื่อง (user) ก็ไม่จำเป็นต้องมีความรู้ในเรื่องนี้เท่าไรนัก เป็นหน้าที่ของช่างฝ่ายเทคนิคที่จะต้องติดตั้งหรือจัดการทำให้ |
hard space | (ฮาร์ดสเปซ) หมายถึงที่ว่างที่ถือเสมือนไม่ใช่ที่ว่าง ใช้เฉพาะในโปรแกรมประมวลผลคำ ในกรณีที่พิมพ์คำบางคำที่มีที่ว่างระหว่างคำ เช่น World War II หรือ พิมพ์วันที่ เช่น May 7 เช่นนี้ ถ้าบังเอิญพิมพ์คำนี้มาถึงปลายบรรทัด แต่ไม่มีที่ว่างพอจะพิมพ์ทั้งคำ คอมพิวเตอร์จะแยกนำคำหลังช่องว่างมาขึ้นบรรทัดใหม่ ซึ่งจะเป็นการไม่ถูกต้อง เราจึงต้องกำหนดให้ที่ว่างที่เห็นนั้นเป็นฮาร์ดสเปซ เพื่อให้โปรแกรมไม่แยกเป็นคนละบรรทัด ถ้าที่ไม่พอในบรรทัดบน ก็จะนำลงมาบรรทัดใหม่ทั้งคำ |
liken | (ไล'เคิน) { likened, likening, likens } vt. เปรียบเทียบ, เปรียบเสมือน |
operating system | ระบบปฏิบัติการใช้ตัวย่อว่า OS หมายถึง ซอฟต์แวร์ระบบ (systems software) ที่ทำหน้าที่ควบคุมการทำงานของฮาร์ดแวร์ทั้งหมด รวมทั้งการปฏิบัติงานของโปรแกรมด้วย เปรียบเสมือนเป็นแม่บ้าน ที่คอยดูแลให้อุปกรณ์ต่าง ๆ ทำงานประสานกัน ระบบปฏิบัติการของโมโครคอมพิวเตอร์ จะเรียกว่า ระบบปฏิบัติการแบบใช้จาน (disk operating systemหรือที่ใช้ตัวย่อว่า DOS) ที่มีชื่อโด่งดังอยู่ในขณะนี้ ก็คือ MS DOS (ใช้กับพีซี) และ System 7 (ใช้กับแมคอินทอช) หลังจากดอสแล้ว ก็มานิยมใช้ระบบวินโดว์แทน |
os | (โอเอส) ย่อมาจาก operating system (ระบบปฏิบัติการ) หมายถึง ซอฟต์แวร์ระบบ (systems software) ที่ทำหน้าที่ควบคุมการทำงานของฮาร์ดแวร์ทั้งหมด รวมทั้งการปฏิบัติงานของโปรแกรมด้วย เปรียบเสมือนเป็นแม่บ้าน ที่คอยดูแลให้อุปกรณ์ต่าง ๆ ทำงานประสานกัน ระบบปฏิบัติการของโมโครคอมพิวเตอร์ จะเรียกว่า ระบบปฏิบัติการแบบใช้จาน (disk operating systemหรือที่ใช้ตัวย่อว่า DOS) ที่มีชื่อโด่งดังอยู่ในขณะนี้ ก็คือ MS DOS (ใช้กับพีซี) และ System 8 (ใช้กับแมคอินทอช) หลังจากดอสแล้ว ก็มานิยมใช้ระบบวินโดว์ (Windows) แทน ระบบเหล่านี้ได้รับการพัฒนาอยู่ตลอดเวลา เช่น ขณะนี้ ในขณะที่แมคใช้ System 8 หรือ 8.5 พีซีกำลังนิยมใช้ วินโดว์ 95 และ98 |
paged memory management u | ใช้ตัวย่อว่า PMMU (อ่านว่า พีเอ็มเอ็มยู) หมายถึง ชิป (chip) หรือวงจรตัวหนึ่งในคอมพิวเตอร์รุ่นใหม่ ๆ ที่สร้างขึ้นมาเพื่อใช้ขยายหน่วยความจำเสมือน (virtual memory) |
pmmu | (พีเอ็มเอ็มยู) ย่อมาจาก paged memory management unit หมายถึง ชิป (chip) หรือวงจรตัวหนึ่งในคอมพิวเตอร์รุ่นใหม่ ๆ ที่สร้างขึ้นมาเพื่อใช้ขยายหน่วยความจำเสมือน (virtual memory) |
tape drive | หน่วยขับแถบบันทึกอุปกรณ์ที่ใช้ในการอ่าน/บันทึกข้อมูลจากหรือลงในแถบบันทึก (tape) การอ่านข้อมูลจากแถบบันทึกนั้นสามารถอ่านได้ทั้ง 2 ทิศทาง หน่วยขับแถบบันทึกนี้จะมีลักษณะเป็นเสมือนตู้กระจก มองเห็นวงล้อเทปสองวง และจะมีม้วนเทปร้อยติดอยู่ ส่วนหนึ่งของเนื้อเทปจะต้องร้อยผ่านหัวอ่าน/บันทึก การอ่านและบันทึกนั้นจะทำได้เร็วมากคือประมาณ 100, 000 ถึง 300, 000 ตัวอักษรต่อวินาที การหมุนของวงล้อจึงต้องอยู่ในตู้ที่เป็นสุญญากาศ (อุปกรณ์นี้ใช้กับคอมพิวเตอร์ เมนเฟรม (mainframe) เท่านั้น) |