เอ็ดอึง | ว. เอะอะอื้ออึง. |
กระเวยกระวาย | ว. เสียงร้องขอความช่วยเหลืออย่างเอ็ดอึง. |
กริว ๒ | (กฺริว) ว. เกรียว, เสียงเอ็ดอึงพร้อมกันหลาย ๆ เสียง, เช่น บางหมู่ก็กริวเกริ่น (ม. ฉันท์ มหาพน). |
กริวกราว | ว. เสียงโห่, เสียงเอ็ดอึงพร้อมกันหลาย ๆ เสียง, เช่น บ้างโบกธงธุชพรายพราวโลดเต้นกริวกราว. |
เกรียว | (เกฺรียว) ว. ลักษณะที่ต่อเนื่องกันมาก ๆ เป็นแถว ๆ เช่น มากันเกรียว, ลักษณะอาการที่เป็นอย่างเดียวพร้อม ๆ กัน เช่น ขนลุกเกรียว, เสียงเอ็ดอึงพร้อมกันหลาย ๆ เสียง เช่น หมาเห่าเกรียว เล่นกันเกรียว. |
เกรียวกราว | ว. เสียงเอ็ดอึงพร้อมกันหลาย ๆ เสียง, โดยปริยายหมายความว่า ที่รู้และพูดกันทั่วไป เช่น เป็นข่าวเกรียวกราว. |
ขรม | (ขะหฺรม) ว. เอ็ดอึง, แซ่, (ใช้แก่เสียง). |
โขมง | (ขะโหฺมง) ว. ฟุ้ง, เอ็ดอึง, เช่น คุยโขมง. |
โฉงเฉง | ว. เอะอะเอ็ดอึงเป็นทำนองเกะกะเกเร เช่น พูดจาโฉงเฉง. |
ทรหึง | เสียงเอ็ดอึง. |
โบ๊เบ๊ | ว. มีเสียงเอ็ดอึงจนฟังไม่ได้ศัพท์. |
ปึงปัง | ว. เสียงดังเอ็ดอึง. |
แปร้น | (แปฺร้น) ว. เสียงตะเบ็งเอ็ดอึงอย่างคนขึ้นเสียงทะเลาะกัน, แปร๋น หรือ แปร๋น ๆ ก็ว่า. |
โผงเผง | ก. เอ็ดอึงเป็นทำนองเกะกะเกเร. |
ล้งเล้ง | ก. ต่อว่าหรือดุว่าด้วยเสียงเอ็ดอึง เช่น ฉันทำแก้วแตกเขามาล้งเล้งเอากับฉันใหญ่. |
ล้งเล้ง | ว. อาการที่ส่งเสียงเอ็ดอึงราวกับทะเลาะวิวาทกัน เช่น พูดกันล้งเล้ง. |
โว้เว้ | ก. พูดเสียงเอ็ดอึง, พูดหาเรื่อง, พูดเหลวไหล |
ศัพท์สำเนียง | น. เสียง เช่น ข้างนอกเสียงเอ็ดอึง อยู่ข้างในฟังไม่ได้ศัพท์สำเนียง. |
สรพะ | (สะระพะ) ว. เสียงดัง, เอ็ดอึง. |
อึกทึก | (อึกกะทึก) ว. เอ็ดอึง, อื้ออึง, ครึกโครม. |
เอ็ดอึง | ว. เอะอะอื้ออึง. |
กระเวยกระวาย | ว. เสียงร้องขอความช่วยเหลืออย่างเอ็ดอึง. |
กริว ๒ | (กฺริว) ว. เกรียว, เสียงเอ็ดอึงพร้อมกันหลาย ๆ เสียง, เช่น บางหมู่ก็กริวเกริ่น (ม. ฉันท์ มหาพน). |
กริวกราว | ว. เสียงโห่, เสียงเอ็ดอึงพร้อมกันหลาย ๆ เสียง, เช่น บ้างโบกธงธุชพรายพราวโลดเต้นกริวกราว. |
เกรียว | (เกฺรียว) ว. ลักษณะที่ต่อเนื่องกันมาก ๆ เป็นแถว ๆ เช่น มากันเกรียว, ลักษณะอาการที่เป็นอย่างเดียวพร้อม ๆ กัน เช่น ขนลุกเกรียว, เสียงเอ็ดอึงพร้อมกันหลาย ๆ เสียง เช่น หมาเห่าเกรียว เล่นกันเกรียว. |
เกรียวกราว | ว. เสียงเอ็ดอึงพร้อมกันหลาย ๆ เสียง, โดยปริยายหมายความว่า ที่รู้และพูดกันทั่วไป เช่น เป็นข่าวเกรียวกราว. |
ขรม | (ขะหฺรม) ว. เอ็ดอึง, แซ่, (ใช้แก่เสียง). |
โขมง | (ขะโหฺมง) ว. ฟุ้ง, เอ็ดอึง, เช่น คุยโขมง. |
โฉงเฉง | ว. เอะอะเอ็ดอึงเป็นทำนองเกะกะเกเร เช่น พูดจาโฉงเฉง. |
ทรหึง | เสียงเอ็ดอึง. |
โบ๊เบ๊ | ว. มีเสียงเอ็ดอึงจนฟังไม่ได้ศัพท์. |
ปึงปัง | ว. เสียงดังเอ็ดอึง. |
แปร้น | (แปฺร้น) ว. เสียงตะเบ็งเอ็ดอึงอย่างคนขึ้นเสียงทะเลาะกัน, แปร๋น หรือ แปร๋น ๆ ก็ว่า. |
โผงเผง | ก. เอ็ดอึงเป็นทำนองเกะกะเกเร. |
ล้งเล้ง | ก. ต่อว่าหรือดุว่าด้วยเสียงเอ็ดอึง เช่น ฉันทำแก้วแตกเขามาล้งเล้งเอากับฉันใหญ่. |
ล้งเล้ง | ว. อาการที่ส่งเสียงเอ็ดอึงราวกับทะเลาะวิวาทกัน เช่น พูดกันล้งเล้ง. |
โว้เว้ | ก. พูดเสียงเอ็ดอึง, พูดหาเรื่อง, พูดเหลวไหล |
ศัพท์สำเนียง | น. เสียง เช่น ข้างนอกเสียงเอ็ดอึง อยู่ข้างในฟังไม่ได้ศัพท์สำเนียง. |
สรพะ | (สะระพะ) ว. เสียงดัง, เอ็ดอึง. |
อึกทึก | (อึกกะทึก) ว. เอ็ดอึง, อื้ออึง, ครึกโครม. |