51 ผลลัพธ์ สำหรับ ใช้เวลา
หรือค้นหา: -ใช้เวลา-, *ใช้เวลา*

Longdo Unapproved MED - TH
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
hangout[แฮ๊งเอ๊าท์] (n, vt) ใช้เวลาว่างกับเพื่อนๆโดยไม่ได้มีเป้าหมายอะไรพิเศษ

พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔
ใช้เวลาก. เอาเวลามาทำสิ่งใดสิ่งหนึ่ง เช่น งานฝีมือชิ้นนี้ใช้เวลาทำ ๒ เดือน วัน ๆ ได้แต่ใช้เวลานินทาชาวบ้าน.

ตัวอย่างประโยคจาก Open Subtitles
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
It'll take me a few days to get it analyzed. ใช้เวลาไม่กี่วัน ถึงจะรู้ว่ามันคืออะไร Basic Instinct (1992)
The crosses are for the days you've spent with the Lintons. ที่กากบาทไว้คือวันที่ เธอใช้เวลากับพวกลินตัน Wuthering Heights (1992)
The dots are for the days you've spent with me. จุดคือวันที่ เธอใช้เวลากับฉัน Wuthering Heights (1992)
Take your time. Here we go. มันต้องใช้เวลา The Lawnmower Man (1992)
He absorbed Latin yesterday in less than two hours. เมื่อวานเขารับภาษาละตินเข้าไป ใช้เวลาน้อยกว่าสองชั่วโมงซะอีก The Lawnmower Man (1992)
It took me a year just to learn the Latin alphabet. ตอนฉันเรียนภาษาลาติน ยังต้องใช้เวลาเป็นปี The Lawnmower Man (1992)
I spend all my time telling you things, then you forget 'em. ฉันใช้เวลาทั้งหมดคอยบอกนาย แล้วนายลืมเนี่ยนะ Of Mice and Men (1992)
It took ages. I used real oranges. ใช้เวลาตั้งนาน น้ำส้มแท้นะ The Cement Garden (1993)
I suppose however long it takes. ก็คงต้องใช้เวลา The Cement Garden (1993)
It takes a long time, doesn't it. ใช้เวลาทำตั้งนานแหน่ะ The Cement Garden (1993)
We spent that night in a hotel. เราใช้เวลาในคืนนั้น ในโรงแรม In the Name of the Father (1993)
Take a walk. ใช้เวลาเดิน In the Name of the Father (1993)

Volubilis Dictionary (TH-EN-FR)
ใช้เวลา[chai wēlā] (v, exp) EN: spend time ; take time  FR: passer du temps ; prendre du temps ; durer
ใช้เวลานานเท่าไหร่[chai wēlā nān thaorai] (xp) EN: how long ?  FR: combien de temps ?
ใช้เวลาว่าง[chai wēlā wāng] (v, exp) FR: s'occuper ; passer son temps
ใช้เวลาไปโดยเปล่าประโยชน์[chai pai dōi plao prayōt] (v, exp) EN: while away the time ; waste time

Longdo Approved EN-TH
chin up(idiom) สู้เขา! เชิดหน้าเข้าไว้! (เป็นคำที่ใช้เวลาให้กำลังใจผู้อื่น), Syn. Keep your chin up.
stonefly(n, name) สโตนฟลาย เป็นแมลงใน อันดับ พลีคอปเทอร่า (Order Plecoptera: Class Insecta) ลักษณะตัวเต็มวัย (adult) แบ่งออกเป็น ส่วนหัว ส่วนอก และส่วนท้อง ชัดเจน; ส่วนหัว (head) มีหนวด (antennae) ยาว 1 คู่ มีตารวม (compound eyes) 1 คู่ มีตาเดี่ยว (ocelli) 0-3 ตา มีปากแบบกัดกิน (Chewing mouthpart), ส่วนอก (thorax) มีขา 3 คู่ มีปีก 2 คู่เป็นแผ่นบางใส (membranous wings) ปีกคู่หลัง (hind wings) จะซ้อนพับอยู่ใต้ปีกคู่หน้า (fore wings), ส่วนท้อง (abdomen) ยาวแบ่งเป็นปล้อง; มีการเจริญเติบโตแบบไม่สมบูรณ์ (Incomplete metamorphosis) คือเจริญเติบโตจากไข่ ฟักออกมาเป็นตัวอ่อน ลอกคราบหลายครั้งจนเป็นตัวเต็มวัย โดยไม่มีระยะดักแด้; ในระยะตัวอ่อน (nymph) มีลักษณะคล้ายตัวเต็มวัยแต่ไม่มีปีก อาจพบเหงือก (gills) รูปร่างต่าง ๆ ตามลำตัวเป็นอวัยวะช่วยในการหายใจ อาศัยอยู่ในแหล่งน้ำไหล (Lotic habitat, running water) บางชนิดมีนิสัยการกินแบบผู้ล่า (predator) กินสัตว์อื่นที่มีขนาดเล็กกว่าเป็นอาหาร แต่บางชนิดกินเศษซากตะกอนในแหล่งน้ำเป็นอาหาร (detritivore) และเมื่อลอกคราบครั้งสุดท้ายเป็นตัวเต็มวัยจะอาศัยอยู่บนบกใกล้แหล่งน้ำ สโตนฟลายบางชนิดที่มีวงจรชีวิตระยะตัวอ่อนเป็นเวลายาวนาน เมื่อลอกคราบเป็นตัวเต็มวัยแล้วจะจับคู่ผสมพันธุ์ทันทีโดยไม่กินอาหาร แต่ในบางชนิดที่มีวงจรชีวิตใช้เวลาในระยะตัวอ่อนน้อย เมื่อลอกคราบเป็นตัวเต็มวัยแล้วจะกินน้ำหรือเศษซากพืชหรือซากตะกอนเพียงเล็กน้อย เพื่อพัฒนาระบบสืบพันธุ์ให้เจริญเต็มที่ ก่อนจับคู่ผสมพันธุ์ เมื่อผสมพันธุ์แล้วตัวเต็มวัยเพศเมียจะวางไข่ลงในแหล่งน้ำไหลเพื่อให้ไข่ฟักออกมาเป็นตัวอ่อนอาศัยเจริญเติบโตในแหล่งน้ำไหลนั้นต่อไป; จากลักษณะการดำรงชีวิตโดยอาศัยพึ่งพาแหล่งน้ำอยู่เกือบตลอดทั้งวงจรของชีวิต แมลงชนิดนี้จึงจัดอยู่ในกลุ่มของแมลงน้ำ (Aquatic insect), See also: plecoptera
alogia[ออโลเจีย] (n) ความผิดปกติด้านพฤติกรรมของผู้ป่วยโรคจิตเภท เป็นหนึ่งในกลุ่มอาการด้านลบ ลักษณะคือพูดน้อย, เนื้อหาที่พูดมีน้อย , ใช้เวลานานกว่าจะตอบ
TL;DR(phrase, slang) ย่อมาจาก too long; didn't read เป็นคำศัพท์ที่ใช้กันในเครือข่ายอินเทอร์เน็ตเพื่อระบุว่า ข้อความที่ตามมาจะเป็นการสรุปเนื้อหาสั้นๆ สำหรับคนที่ไม่มีเวลาอ่านทั้งบทความ (ซึ่งมักจะต้องใช้เวลานาน)

NECTEC Lexitron Dictionary EN-TH
be employed in(phrv) ใช้เวลาอยู่กับ, See also: วุ่นอยู่กับ, ง่วนอยู่กับ, Syn. engage in
be over(phrv) ใช้เวลานาน (ในการทำบางอย่าง), Syn. take over
bring up to date(phrv) ใช้เวลาทำบางสิ่ง, Syn. be up to
bum about(phrv) ใช้เวลาหมดไปอย่างเปล่าประโยชน์ (คำสแลง), See also: สูญเวลาเปล่า, Syn. bum around
bum around(phrv) ใช้เวลาหมดไปอย่างเปล่าประโยชน์ (คำสแลง), See also: สูญเวลาเปล่า, Syn. bum about
dream away(phrv) คิดไร้สาระ, See also: ใช้เวลานึกถึงสิ่งที่ไร้ประโยชน์
fuck about(phrv) ใช้เวลาหมดไปโดยเปล่าประโยชน์ (คำต้องห้าม), Syn. fuck off, mess about
fuck around(phrv) ใช้เวลาหมดไปโดยเปล่าประโยชน์ (คำต้องห้าม), Syn. fuck off, mess about
fuck off(phrv) ใช้เวลาหมดไปโดยเปล่าประโยชน์ (คำต้องห้าม)
futz(vi) ใช้เวลาหมดไปอย่างไร้ประโยชน์

Hope Dictionary
access timeช่วงเวลาเข้าถึง (ข้อมูล) หมายถึง เวลาที่ใช้ในการที่หัวอ่าน (บางทีเรียกหัวเข็ม) ของหน่วยบันทึกจะสามารถอ่านแฟ้มข้อมูล หรือดึงข้อมูลออกมาจากที่เก็บข้อมูล เช่น จากจานบันทึก หรือฮาร์ดดิสก์ หากใช้เวลาเข้าถึงข้อมูลน้อย ก็หมายความว่า อ่านได้เร็ว ดู direct access, indirect access, random access, sequential access, immediate access ประกอบ
buffer(บัฟ'เฟอะ) { buffered, buffering, buffers } n. ตัวกันชน, สารที่สามารถทำให้ทั้งกรดและด่างเป็นกลาง, เครื่องขัดเงา, คนงานขัดเงา vt. ใส่ตัวทำให้กรดหรือด่างเป็นกลาง, ผ่อนคลาย, ปกป้อง, กันชน, Syn. cushion ที่พัก ข้อมูล กันชนบัฟเฟอร์ในกรณีที่อัตราความเร็วในการทำงานของอุปกรณ์บางอย่างมีความเร็วไม่เท่ากัน เป็นต้นว่า เครื่องพิมพ์และหน่วยประมวลผลซึ่งทำงานด้วยความเร็วที่แตกต่างกันมาก คอมพิวเตอร์ประมวลผลเสร็จแล้วจึงต้องส่งผลมารออยู่ที่บัฟเฟอร์ก่อน เพราะเครื่องพิมพ์จะใช้เวลามากกว่าในการพิมพ์ พิมพ์ตามไม่ทัน เราจะพบบ่อย ๆ ว่า แม้ว่าจะสั่งให้หยุดพิมพ์ แต่เครื่องพิมพ์จะไม่หยุดทันที ทั้งนี้เป็นเพราะมีข้อมูลที่คอมพิวเตอร์ส่งไปรออยู่ที่บัฟเฟอร์แล้ว เครื่องพิมพ์จะต้องพิมพ์จนหมดข้อมูลในบัฟเฟอร์นี้ จึงจะหยุด คอมพิวเตอร์นั้นจะมีที่พักข้อมูลทั้งเมื่อรับข้อมูลเข้าและเมื่อส่งข้อมูลออก อันที่จริง บัฟเฟอร์ก็เป็นส่วนหนึ่งของหน่วยความจำนั่นเอง
c(ซี) n. พยัญชนะอังกฤษตัวที่3, ตัวเลข100ของโรมัน, สัญลักษณ์ทางเคมีของธาตุคาร์บอน ภาษาซีเป็นภาษาระดับสูง (high level language) ภาษาหนึ่ง ที่ใช้ในการเขียนโปรแกรม ภาษานี้เริ่มต้นมาจากห้องปฏิบัติการของบริษัท Bell ในช่วงทศวรรษ 1970 ภาษาซีนี้ เป็นภาษาที่ใช้ทั่วไปเทียบเคียงได้กับภาษาเบสิก (BASIC) หรือภาษาปาสกาล (Pascal) ความที่ภาษาซีเป็นภาษาที่ใช้ง่ายและสะดวก โปรแกรมสำเร็จรูปที่มีชื่อเสียงเป็นที่รู้จักกันอย่างดี เช่น Lotus 1-2-3 และ Microsoft FoxPro ก็เขียนด้วยภาษาซี ภาษาซีได้เปรียบภาษาอื่น ๆ อย่างน้อย 3 ประการด้วยกัน คือ 1. ภาษาซีง่ายในการเขียน และเรียนรู้ได้ง่ายเกือบจะเท่ากับภาษาเบสิก2. โปรแกรมภาษาซีใช้เวลาของเครื่อง (คอมพิวเตอร์) น้อยมาก พอ ๆ กับภาษาแอสเซมบลี (Assembly) แต่เขียนได้ง่ายกว่ากันมาก3. ภาษาซีใช้ได้กับคอมพิวเตอร์ทุกเครื่องทุกยี่ห้อ ไม่ว่าจะเป็นแมคอินทอชหรือไอบีเอ็ม (แทบจะไม่ต้องแก้ไขดัดแปลงอะไรเลย ผิดกับภาษาเบสิกและภาษาปาสกาล ซึ่งหากนำไปใช้กับเครื่องต่างตระกูลกันแล้ว จะต้องแก้ไขมากจนเรียกได้ว่าไม่คุ้ม
collate(โคเลท') { collated, collating, collates } vt. ตรวจเทียบ, ตรวจทาน, ตรวจปรู๊ฟ, ปรับให้เหมาะสม, ลำดับหน้า, เรียง, แต่งตั้งตำแหน่งทางศาสนาคริสต์ รวมแฟ้มเรียง1. หมายถึงการนำแฟ้มข้อมูลมาเรียงกัน2. เป็นคำสั่งพิมพ์เมื่อต้องการพิมพ์หลายชุด (ถ้าใช้เครื่องพิมพ์เลเซอร์) แต่ต้องการให้พิมพ์ให้เสร็จทีละชุด (แทนที่จะพิมพ์หน้าเดียวกันให้ครบจำนวนชุดที่ต้องการ) การพิมพ์แบบ collate จะใช้เวลาในการพิมพ์มากกว่า
computer languageภาษาคอมพิวเตอร์หมายถึงภาษาที่ใช้กับเครื่องคอมพิวเตอร์ หรือใช้เพื่อสื่อสารให้คอมพิวเตอร์เข้าใจ และสามารถปฏิบัติตามคำสั่งได้ โดยปกติเราแบ่งภาษาที่ใช้กับคอมพิวเตอร์ออกเป็น 2 ชนิด คือ1. ภาษาเครื่อง (machine language) คำสั่งที่เขียนด้วยภาษานี้เครื่องจะรับรู้และปฏิบัติตามได้ทันที ผู้ออกแบบคอมพิวเตอร์แต่ละแบบก็จะคิดแบบของภาษาที่ใช้กับเครื่องนั้น ๆ ขึ้นเป็นภาษาเฉพาะของเครื่องลักษณะของภาษาประเภทนี้จะเป็นตัวเลขฐานต่าง ๆ ขึ้นอยู่กับการออกแบบ ฉะนั้นจึงเป็นการยากสำหรับผู้เขียนโปรแกรม ซึ่งต้องเรียนรู้รายละเอียดของเครื่องนั้น ๆ ก่อน จึงจะใช้ภาษาได้2. ภาษาแนวมนุษย์ (human oriented language) หมายถึงภาษาที่มนุษย์เข้าใจ (แต่เครื่องไม่เข้าใจ) เนื่องจากภาษาเครื่องยุ่งยากและสับสน จึงมีการคิดภาษาหนังสือซึ่งมนุษย์เราเคยชินกันอยู่แล้วขึ้น แล้วใช้ตัวแปล (translator) แปลเป็นภาษาเครื่องอีกทีหนึ่ง เครื่องจึงจะดำเนินการได้ ภาษาแนวมนุษย์นี้แบ่งออก ได้เป็น 2 ระดับ คือ2.1 ภาษาระดับต่ำ (low - level language) เช่น ภาษาแอสเซมบลี (Assembly) 2.2 ภาษาระดับสูง (high - level language) เช่นภาษาฟอร์แทรน (FORTRAN) โคบอล (COBOL) ลักษณะของภาษาระดับสูงนี้ ได้มีการประดิษฐ์ขึ้นให้เหมาะสมกับงานเฉพาะอย่าง เช่น ภาษาฟอร์แทรน เหมาะกับงานทางคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และงานวิจัย ภาษาโคบอลและอาร์พีจี (RPG) เหมาะกับงานด้านธุรกิจ เป็นต้น นอกจากนี้ ก็ยังมีภาษาอื่นที่เป็นที่นิยมอีกมาก ภาษาเหล่านี้จะใช้ได้กับเครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนมาก เพราะในคอมพิวเตอร์ จะมีตัวแปล (translator) ซึ่งมีหน้าที่คอยแปลภาษาแนวมนุษย์ให้เป็นภาษาเครื่องอีกทีหนึ่ง การใช้ภาษาแนวมนุษย์นี้มีข้อดีคือ ใช้ง่ายกว่า มีความผิดพลาดน้อย แก้ไขตอนหนึ่งตอนใดได้ง่ายกว่า และเขียนได้สั้นกว่า เพราะบางทีคำสั่งเพียงคำสั่งเดียวก็มีผลเท่ากับหลาย ๆ คำสั่งของภาษาเครื่อง แต่ภาษาเครื่องก็มีส่วนดี ตรงที่ใช้เวลาของเครื่องน้อยกว่า เพราะไม่ต้องเสียเวลาในการแปล
direct accessการเข้าถึงโดยตรงหมายถึง การเข้าถึงข้อมูลโดยใช้เวลาในการค้นหาข้อมูลได้เร็วเท่ากันหมด ไม่ขึ้นกับตำแหน่งที่เก็บ หมายความว่า ไม่ว่าข้อมูลจะเก็บอยู่ที่ส่วนใดของสื่อที่ใช้บันทึก หัวอ่าน (read head) ก็จะเจาะตรงลงไปอ่านได้เลย เช่น การอ่านข้อมูลจากจานบันทึก ซึ่งผิดกับการอ่านข้อมูลจากแถบบันทึก (tape) ที่ต้องอ่านเรียงไปตามลำดับตั้งแต่ต้นเทปไปจนกว่าจะถึงข้อมูลที่ต้องการทุกครั้ง ทำให้ช้ากว่ากันมากดู indirect access เทียบ
doze(โดซ) { dozed, dozing, dozes } vt., vi., n. (การ) ม่อยหลับ, งีบหลับ, สัปหงก, เคลิ้ม. vt. ใช้เวลาในการงีบหลับ, See also: dozer n. ดูdoze, Syn. nap
employ(เอมพลอย') vt. จ้าง, ว่าจ้าง, ใช้, ใช้สอย, ใช้เวลา. -n. การจ้าง, การว่าจ้าง, การบริการ, อาชีพ., See also: employability n. ดูemploy employable adj. ดูemploy employer n. ดูemploy, Syn. engage
human oriented languageภาษาแนวมนุษย์หมายถึงภาษาที่ใกล้เคียงภาษามนุษย์ เขียนได้ง่าย เข้าใจง่าย และกระทัดรัด สะดวกในการใช้งาน ภาษานี้มีลักษณะเหมือนภาษาหนังสือ ใช้เขียนสั่งให้คอมพิวเตอร์ทำงาน แต่คอมพิวเตอร์จะต้องนำไปแปลให้เป็นภาษาเครื่อง (machine language) ก่อนจึงจะเข้าใจ และนำไปปฏิบัติได้ แบ่งเป็น 2 ระดับ คือ1. ภาษาระดับสูง (high level language) 2. ภาษาระดับต่ำ (low level language) การใช้ภาษามนุษย์เขียนชุดคำสั่งนี้มีข้อดีคือ ทำได้ง่าย มีความผิดพลาดน้อย แก้ไขตอนหนึ่งตอนใดได้ง่าย เขียนได้สั้น เพราะบางทีคำสั่งเพียงคำสั่งเดียวก็มีผลเท่ากับหลายคำสั่งในภาษาเครื่อง แต่ภาษาเครื่องก็มีส่วนดีตรงที่สามารถใช้เวลาของเครื่องน้อยกว่าเพราะไม่เสียเวลาในการแปลดู computer language ประกอบดู machine language เปรียบเทียบ
immediate accessหมายถึง การเข้าถึงข้อมูลโดยใช้เวลาในการค้นหาข้อมูลได้เร็วเท่ากันหมด ไม่ขึ้นกับตำแหน่งที่เก็บ หมายความว่า ไม่ว่าข้อมูลจะเก็บอยู่ที่ส่วนใดของสื่อที่ใช้บันทึก หัวอ่าน (read head) ก็จะเจาะตรงลงไปอ่านได้เลย เช่น การอ่านข้อมูลจากจานบันทึก ซึ่งผิดกับการอ่านข้อมูลจากแถบบันทึก (tape) ที่ต้องอ่านเรียงไปตามลำดับตั้งแต่ต้นเทปไปจนกว่าจะถึงข้อมูลที่ต้องการทุกครั้ง ทำให้ช้ากว่ากันมากมีความหมายเหมือน direct access

Nontri Dictionary
hibernate(vi) จำศีล, ใช้เวลาหน้าหนาว

Longdo Unapproved EN-TH
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
Psh[ผะ-ฉิ] (slang) ใช้เวลาเรียกเพื่อนแต่กลัวคนอื่นได้ยิน

Saikam JP-TH-EN Dictionary
過ごす[すごす, sugosu] TH: ใช้เวลา  EN: to spend

Longdo Approved DE-TH
dochใช่ดอก (ใช้เวลาต้องการตอบใช่ในคำถามปฏิเสธ) เช่น Hast du noch kein Mittagessen gehabt? - Doch. เธอยังไม่ได้ทานอาหารกลางวันใช่ไหม - ผมทานแล้ว
du(pron) คุณหรือเธอ, สรรพนามบุรุษที่ 2 (สุภาพน้อยกว่า Sie, ใช้เวลาคุยกับคนที่สนิท หรือ ไม่เป็นทางการ)
manคนหนึ่งๆ ใช้เวลาว่าไม่เจาะจงว่าใคร
Zeit verbringen mit etw.(phrase) ใช้เวลากับสิ่งใดสิ่งหนึ่ง
Zeit verbringen mit jm.(phrase) ใช้เวลากับคนใดคนหนึ่ง
Ich habe den Sprung ins kalte Wasser gewagt.กล้าเสี่ยงที่จะทำอะไรบางอย่าง (แปลตามตรง ฉันกล้าที่จะกระโดดลงไปในน้ำเย็น ในที่นี้ไม่ใช้น้ำร้อนเพราะว่าถ้าโดดลงไปในน้ำร้อน เราก็จะพอเดาผลได้ คือตัวเราเองจะโดนต้มสุก แต่การกระโดดลงไปในน้ำเย็นนั้น เราไม่รู้ว่าเราจะหนาวจนตาย แข็งจนตาย หรือรอดชีวิตได้ เพราะในน้ำเย็นอาจจะต้องใช้เวลาก่อนที่เราจะแข็งเป็นน้ำแข็ง ดังนั้นในที่นี้จึงหมายความว่าเป็นการเสี่ยงในการทำอะไรบางอย่าง โดยที่ไม่รู้ผลลัพธ์ที่ตามมา)

Time: 0.0278 seconds, cache age: 8.03 (clear)Longdo Dict -- https://dict.longdo.com/