้ัhypertext | ข้อความหลายมิติ [คอมพิวเตอร์] |
Hypertext | ข้อความหลายมิติ [เทคโนโลยีการศึกษา] |
Hypertext | ข้อความหลายมิติ, ไฮเปอร์เท็กซ์, Example: ไฮเปอร์เท็กซ์ (Hypertext) หมายถึง ข้อความ หรือกลุ่มของข้อความที่ถูกเชื่อมโยงเข้าด้วยกัน โดยการนำเสนอแบบปฏิสัมพันธ์ (Interaction) ด้วยการนำข้อความที่ใช้มาเป็นจุดเชื่อมโยง ซึ่งจะปรากฏในลักษณะที่เด่นกว่าข้อความอื่น เช่น เป็นคำที่ขีดเส้นใต้ หรือคำที่เป็นตัวหนา เป็นต้น ในยุคแรกที่มีการนำไฮเปอร์ลิ้งค์เข้ามาใช้ในคอมพิวเตอร์ ที่เห็นได้เด่นชัด ได้แก่ ข้อความในระบบช่วยเหลือของโปรแกรมต่าง ๆ ซึ่งรูปแบบของระบบช่วยเหลือจะเริ่มด้วยการแสดงหัวข้อของการช่วยเหลือทั้งหมด เพื่อให้ผู้ใช้เป็นผู้เลือกว่าต้องการความช่วยเหลืออย่างไรโดยใช้เมาส์คลิกที่หัวข้อนั้นๆ แล้วจะมีช่องข้อความและภาพที่เกี่ยวข้องกับคำนั้นปรากฏขึ้นมาให้อ่าน จากหัวข้อที่ถูกเลือกจะถูกเชื่อมโยงไปยังรายละเอียดภายในที่ได้ตระเตรียมไว้แล้ว และแสดงผลออกมาทางหน้าจอในรูปของข้อความซึ่งภายในข้อความเหล่านี้อาจจะมีบางข้อความที่สำคัญได้ถูกเชื่อมโยงไปยังเนื้อหาอื่นอีก รูปแบบของข้อความหลายมิติจึงไม่ใช่เป็นการเสนอเนื้อหาแบบเส้นตรงที่ผู้อ่านจะต้องอ่านตั้งแต่ต้นไปจนจบ แต่สามารถอ่านแทรกข้อความที่เป็นคำสำคัญที่ตนสนใจได้เป็นระยะ ๆ ตามความต้องการ การนำเสนอเนื้อหาทั้งหมดนี้เป็นไปในรูปแบบของตัวอักษรทั้งสิ้น จึงเรียกว่า “ไฮเปอร์เท็กซ์ (Hypertext)” [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Hypertext | ข้อความหลายมิติ, ไฮเปอร์เท็กซ์, Example: ไฮเปอร์เท็กซ์ (Hypertext) หมายถึง ข้อความ หรือกลุ่มของข้อความที่ถูกเชื่อมโยงเข้าด้วยกัน โดยการนำเสนอแบบปฏิสัมพันธ์ (Interaction) ด้วยการนำข้อความที่ใช้มาเป็นจุดเชื่อมโยง ซึ่งจะปรากฏในลักษณะที่เด่นกว่าข้อความอื่น เช่น เป็นคำที่ขีดเส้นใต้ หรือคำที่เป็นตัวหนา เป็นต้น ในยุคแรกที่มีการนำไฮเปอร์ลิ้งค์เข้ามาใช้ในคอมพิวเตอร์ ที่เห็นได้เด่นชัด ได้แก่ ข้อความในระบบช่วยเหลือของโปรแกรมต่าง ๆ ซึ่งรูปแบบของระบบช่วยเหลือจะเริ่มด้วยการแสดงหัวข้อของการช่วยเหลือทั้งหมด เพื่อให้ผู้ใช้เป็นผู้เลือกว่าต้องการความช่วยเหลืออย่างไรโดยใช้เมาส์คลิกที่หัวข้อนั้นๆ แล้วจะมีช่องข้อความและภาพที่เกี่ยวข้องกับคำนั้นปรากฏขึ้นมาให้อ่าน จากหัวข้อที่ถูกเลือกจะถูกเชื่อมโยงไปยังรายละเอียดภายในที่ได้ตระเตรียมไว้แล้ว และแสดงผลออกมาทางหน้าจอในรูปของข้อความซึ่งภายในข้อความเหล่านี้อาจจะมีบางข้อความที่สำคัญได้ถูกเชื่อมโยงไปยังเนื้อหาอื่นอีก รูปแบบของข้อความหลายมิติจึงไม่ใช่เป็นการเสนอเนื้อหาแบบเส้นตรงที่ผู้อ่านจะต้องอ่านตั้งแต่ต้นไปจนจบ แต่สามารถอ่านแทรกข้อความที่เป็นคำสำคัญที่ตนสนใจได้เป็นระยะ ๆ ตามความต้องการ การนำเสนอเนื้อหาทั้งหมดนี้เป็นไปในรูปแบบของตัวอักษรทั้งสิ้น จึงเรียกว่า “ไฮเปอร์เท็กซ์ (Hypertext)” [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Hypertext Markup Language( HTML) | เอชทีเอ็มแอล, ภาษาที่ใช้จัดรูปแบบการแสดงผลของข้อความและรูปภาพ รวมถึงสื่อประสมบนหน้าเว็บ ดังนั้นเอชทีเอ็มแอลจึงไม่ได้ถูกจัดเป็นภาษาที่ใช้ในการเขียนโปรแกรมอย่างแท้จริง แต่เป็นการกำหนดวิธีการในการแสดงผล [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
Hypertext systems | ระบบไฮเปอร์เทกซ์ [TU Subject Heading] |
Hypertext Transfer Protocol | โปรโตคอลเครือข่ายคอมพิวเตอร์ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Hypertext Transfer Protocol( HTTP) | เอชทีทีพี, ย่อมาจาก Hyper Text Transfer Protocol เป็นโปรโตคอลสื่อสารที่ทำงานอยู่บนระบบโปรโตคอล TCP HTTP ใช้ในระบบเครือข่ายใยแมงมุม (www)ทำหน้าที่ในการจำหน่าย, แจกจ่าย รวมไปถึงการรับข้อมูล จากระบบสื่อกลางชั้นสูง ที่ประกอบด้วยเครื่องให้บริการที่มีอยู่มากมายทั่วโลก [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
Hypertext | ข้อความหลายมิติ [เทคโนโลยีการศึกษา] |
Hypertext | ข้อความหลายมิติ, ไฮเปอร์เท็กซ์, Example: ไฮเปอร์เท็กซ์ (Hypertext) หมายถึง ข้อความ หรือกลุ่มของข้อความที่ถูกเชื่อมโยงเข้าด้วยกัน โดยการนำเสนอแบบปฏิสัมพันธ์ (Interaction) ด้วยการนำข้อความที่ใช้มาเป็นจุดเชื่อมโยง ซึ่งจะปรากฏในลักษณะที่เด่นกว่าข้อความอื่น เช่น เป็นคำที่ขีดเส้นใต้ หรือคำที่เป็นตัวหนา เป็นต้น ในยุคแรกที่มีการนำไฮเปอร์ลิ้งค์เข้ามาใช้ในคอมพิวเตอร์ ที่เห็นได้เด่นชัด ได้แก่ ข้อความในระบบช่วยเหลือของโปรแกรมต่าง ๆ ซึ่งรูปแบบของระบบช่วยเหลือจะเริ่มด้วยการแสดงหัวข้อของการช่วยเหลือทั้งหมด เพื่อให้ผู้ใช้เป็นผู้เลือกว่าต้องการความช่วยเหลืออย่างไรโดยใช้เมาส์คลิกที่หัวข้อนั้นๆ แล้วจะมีช่องข้อความและภาพที่เกี่ยวข้องกับคำนั้นปรากฏขึ้นมาให้อ่าน จากหัวข้อที่ถูกเลือกจะถูกเชื่อมโยงไปยังรายละเอียดภายในที่ได้ตระเตรียมไว้แล้ว และแสดงผลออกมาทางหน้าจอในรูปของข้อความซึ่งภายในข้อความเหล่านี้อาจจะมีบางข้อความที่สำคัญได้ถูกเชื่อมโยงไปยังเนื้อหาอื่นอีก รูปแบบของข้อความหลายมิติจึงไม่ใช่เป็นการเสนอเนื้อหาแบบเส้นตรงที่ผู้อ่านจะต้องอ่านตั้งแต่ต้นไปจนจบ แต่สามารถอ่านแทรกข้อความที่เป็นคำสำคัญที่ตนสนใจได้เป็นระยะ ๆ ตามความต้องการ การนำเสนอเนื้อหาทั้งหมดนี้เป็นไปในรูปแบบของตัวอักษรทั้งสิ้น จึงเรียกว่า “ไฮเปอร์เท็กซ์ (Hypertext)” [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Hypertext | ข้อความหลายมิติ, ไฮเปอร์เท็กซ์, Example: ไฮเปอร์เท็กซ์ (Hypertext) หมายถึง ข้อความ หรือกลุ่มของข้อความที่ถูกเชื่อมโยงเข้าด้วยกัน โดยการนำเสนอแบบปฏิสัมพันธ์ (Interaction) ด้วยการนำข้อความที่ใช้มาเป็นจุดเชื่อมโยง ซึ่งจะปรากฏในลักษณะที่เด่นกว่าข้อความอื่น เช่น เป็นคำที่ขีดเส้นใต้ หรือคำที่เป็นตัวหนา เป็นต้น ในยุคแรกที่มีการนำไฮเปอร์ลิ้งค์เข้ามาใช้ในคอมพิวเตอร์ ที่เห็นได้เด่นชัด ได้แก่ ข้อความในระบบช่วยเหลือของโปรแกรมต่าง ๆ ซึ่งรูปแบบของระบบช่วยเหลือจะเริ่มด้วยการแสดงหัวข้อของการช่วยเหลือทั้งหมด เพื่อให้ผู้ใช้เป็นผู้เลือกว่าต้องการความช่วยเหลืออย่างไรโดยใช้เมาส์คลิกที่หัวข้อนั้นๆ แล้วจะมีช่องข้อความและภาพที่เกี่ยวข้องกับคำนั้นปรากฏขึ้นมาให้อ่าน จากหัวข้อที่ถูกเลือกจะถูกเชื่อมโยงไปยังรายละเอียดภายในที่ได้ตระเตรียมไว้แล้ว และแสดงผลออกมาทางหน้าจอในรูปของข้อความซึ่งภายในข้อความเหล่านี้อาจจะมีบางข้อความที่สำคัญได้ถูกเชื่อมโยงไปยังเนื้อหาอื่นอีก รูปแบบของข้อความหลายมิติจึงไม่ใช่เป็นการเสนอเนื้อหาแบบเส้นตรงที่ผู้อ่านจะต้องอ่านตั้งแต่ต้นไปจนจบ แต่สามารถอ่านแทรกข้อความที่เป็นคำสำคัญที่ตนสนใจได้เป็นระยะ ๆ ตามความต้องการ การนำเสนอเนื้อหาทั้งหมดนี้เป็นไปในรูปแบบของตัวอักษรทั้งสิ้น จึงเรียกว่า “ไฮเปอร์เท็กซ์ (Hypertext)” [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Hypertext Markup Language( HTML) | เอชทีเอ็มแอล, ภาษาที่ใช้จัดรูปแบบการแสดงผลของข้อความและรูปภาพ รวมถึงสื่อประสมบนหน้าเว็บ ดังนั้นเอชทีเอ็มแอลจึงไม่ได้ถูกจัดเป็นภาษาที่ใช้ในการเขียนโปรแกรมอย่างแท้จริง แต่เป็นการกำหนดวิธีการในการแสดงผล [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
Hypertext systems | ระบบไฮเปอร์เทกซ์ [TU Subject Heading] |
Hypertext Transfer Protocol | โปรโตคอลเครือข่ายคอมพิวเตอร์ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Hypertext Transfer Protocol( HTTP) | เอชทีทีพี, ย่อมาจาก Hyper Text Transfer Protocol เป็นโปรโตคอลสื่อสารที่ทำงานอยู่บนระบบโปรโตคอล TCP HTTP ใช้ในระบบเครือข่ายใยแมงมุม (www)ทำหน้าที่ในการจำหน่าย, แจกจ่าย รวมไปถึงการรับข้อมูล จากระบบสื่อกลางชั้นสูง ที่ประกอบด้วยเครื่องให้บริการที่มีอยู่มากมายทั่วโลก [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |