accent | (n. แอค' เซินทฺ, v. แอค' เซินทฺ, แอค' เซนทฺ') n. เสียงหนัก, เสียงเน้น, เครื่องหมายเสียงหนัก, การเน้นเสียงหนักตรงพยางค์หนึ่งพยางค์ใด, สำเนียงเปล่ง, ลักษณะจำพวก, ความเน้นหนัก. |
accent mark | เครื่องหมายการเน้นเสียง |
accentual | (แอคเซน' ชวล) adj. เกี่ยวกับการเน้นเสียงหนัก, ซึ่งเป็นจังหวะ. -accentuality n. |
attribute | (อะทริบ'บิวทฺ) vt. ให้เหตุผลว่า, ถือเอา, อ้างเหตุผล. -n. คุณลักษณะ. -attributer, attributor n. -attribution n., Syn. assign, consider, quality ลักษณะประจำหมายถึง คุณสมบัติของสิ่งใดสิ่งหนึ่งที่มีลักษณะพิเศษ มีการเน้นความแตกต่างจากของอื่นในประเภทเดียวกัน เช่น ถ้าเป็นแฟ้มข้อมูลในระบบดอส จะมีลักษณะประจำต่างกันเป็น 4 อย่าง คือ แฟ้มข้อมูลที่มีการจัดเก็บเป็นระเบียบ archive แฟ้มที่อ่านได้อย่างเดียว แก้ไขไม่ได้ read only แฟ้มที่ไม่แสดงตัว hidden และแฟ้มระบบ system หรือถ้าต้องการหาคำใดคำหนึ่ง เช่น ในโปรแกรมประมวลผลคำ นอกจากจะบอกคอมพิวเตอร์ว่าสะกดอย่างไรแล้ว อาจบอกเพิ่มเติมว่า ...เป็นคำที่ใช้แบบอักษร Times New Roman ขนาด 14 จุด ข้อความที่บ่งบอกคุณสมบัติเพิ่มเติมไปนี้ก็เรียกว่า " attribute " ทั้งสิ้น |
beat | (บีท) { beat, beaten, beating, beats } vt. ตี, เคาะ, หวด, ตบ, เฆี่ยน, กระทบ, รบชนะ, พิชิต, ฟัน, ดีกว่า, เก่งกว่า, โกง, ค้นหา n. จังหวะ, การเต้น, เสียงเดินติ๊ก ๆ ของนาฬิกา, ทางเดินปกติ, การเน้น adj. เหนื่อยอ่อน |
em dash | (เอ็มแดช) เป็นอักษรพิเศษตัวหนึ่งที่ใช้ในการพิมพ์ มีลักษณะเป็นขีดยาวเท่า ๆ กับอักษร M หรือเครื่องหมาย hyphen 2 ตัวพิมพ์ติด ๆ กัน (--) โดยปกติ จะใช้เพื่อแสดงว่าต้องการเน้นข้อความนั้น ๆ เช่น " การ เล่นกอล์ฟเป็นการพนันอย่างหนึ่ง -- การพนันที่เป็นที่นิยมมากเสียด้วย " ดู en dash เปรียบเทียบ |
emphasis | (เอม'ฟะซิส) n. การเน้น, ความสำคัญ, สิ่งที่มีความสำคัญ, การเน้น คำ, ความเข้มข้น, ความ |
emphatic | (เอมแฟท'ทิค) adj. เกี่ยวกับการเน้น, สำคัญ, มีพลังงาน, เด่นชัด, เด็ดขาด, เฉียบขาด., See also: emphaticalness n. ดูemphatic |
emphatical | (เอมแฟท'ทิค) adj. เกี่ยวกับการเน้น, สำคัญ, มีพลังงาน, เด่นชัด, เด็ดขาด, เฉียบขาด., See also: emphaticalness n. ดูemphatic |
extended technology | เทคโนโลยีแบบขยายใช้ตัวย่อว่า XT (อ่านว่า เอกซ์ที) เป็นเทคโนโลยีใหม่แบบหนึ่งที่นำมาใช้ในการสร้างไมโครคอมพิวเตอร์ ไมโครคอมพิวเตอร์รุ่นนั้น จึงได้รับสมญานาม ว่า XT มีการเน้นในเรื่องการกำหนดให้มีช่องเสียบแผ่นวงจร (card) เพิ่ม เพื่อการปรับขยายในภายหลัง กับการใช้จานบันทึกที่มีความจุสูง ดู AT ประกอบ |