ความรู้ | (n) knowledge, See also: information, awareness, Syn. วิชาความรู้, Example: ความรู้ที่เรียนมานั้นสามารถนำมาใช้ประโยชน์ในการทำงานได้ |
ความรู้สึก | (n) feeling, See also: emotion, passion, Example: เขาอยากได้ความรู้สึกของการอยู่ร่วมกันอย่างฉันท์มิตรในบ้านของเขา |
ความรู้สึกผิด | (n) guilt, See also: conscience, Example: เธอโกหกพ่อแม่แต่เธอก็ยังมีความรู้สึกผิดในใจ |
ความรู้สึกด้อย | (n) inferiority feeling, Syn. ปมด้อย, Ant. ความรู้สึกเด่น, ปมเด่น |
ความรู้สึกเด่น | (n) superiority feeling, Syn. ความรู้สึกเขื่อง, ปมเด่น, Ant. ความรู้สึกด้อย, ปมด้อย |
ความรู้สึกนึกคิด | (n) feeling, See also: emotion, sentiment, Syn. ความนึกคิด, Example: การที่มนุษย์มองว่าสิ่งใดดีเลวขึ้นอยู่กับความรู้สึกนึกคิดของตัวมนุษย์เอง |
ความรู้สึกเขื่อง | (n) superiority feeling, Syn. ความรู้สึกเด่น, ปมเด่น, Ant. ความรู้สึกด้อย, ปมด้อย, Example: ถ้าเด็กเกิดความรู้สึกเขื่องขึ้นบ่อยๆ จะติดเป็นนิสัยได้ |
ความรู้สึกสะเทือนใจ | (n) sympathy, See also: compassion, condolence, Syn. ความสะเทือนใจ |
ความรู้เชิงปฏิบัติการ | (n) know-how, Example: นักวิจัยที่จะเข้ามาทำงานนี้จะต้องมีความรู้เชิงปฏิบัติการอย่างเชี่ยวชาญ, Thai Definition: ความรู้ความสามารถในการลงมือกระทำสิ่งใดสิ่งหนึ่งจริงๆ |
ความรู้เชิงปฏิบัติการ | (n) know-how |
ความรู้ | น. สิ่งที่สั่งสมมาจากการศึกษาเล่าเรียน การค้นคว้า หรือประสบการณ์ รวมทั้งความสามารถเชิงปฏิบัติและทักษะ เช่น ความรู้เรื่องประวัติศาสตร์, สิ่งที่ได้รับมาจากการได้ยิน ได้ฟัง การคิด หรือการปฏิบัติ เช่น ความรู้เรื่องสุขภาพ ความรู้เรื่องนิทานพื้นบ้าน |
ความรู้ | ความเข้าใจหรือสารสนเทศที่ได้รับมาจากประสบการณ์ เช่น ผู้ชายคนนี้เก่ง แต่ไม่มีความรู้เรื่องผู้หญิง. |
ความรู้ท่วมหัวเอาตัวไม่รอด | ว. มีความรู้มากแต่ไม่รู้จักใช้ความรู้ให้เป็นประโยชน์. |
ความรู้สึกช้า | น. ลักษณะอาการที่รับอารมณ์ต่าง ๆ ได้ช้า เช่น เขาเป็นคนมีความรู้สึกช้า ต้องใช้เวลานานกว่าจะเข้าใจ. |
ความรู้สึกด้อย | น. ความรู้สึกว่าตนเองมีความสามารถไม่เท่าเทียมบุคคลทั่วไป ความรู้สึกนี้ไม่จำเป็นจะต้องอยู่ในจิตใต้สำนึกและผู้นั้นไม่จำเป็นต้องมีปมด้อย อาจเกิดขึ้นในสิ่งแวดล้อมหรือในบางขณะเท่านั้น แต่ถ้าเกิดขึ้นเสมอ ๆ และมิได้แก้ไข ก็อาจเก็บกดไว้จนเกิดเป็นปมด้อยได้ |
ความรู้สึกด้อย | ความไม่เชื่อมั่นว่าตนเองมีฐานะหรือความสามารถเท่าเทียมผู้อื่น. |
ความรู้สึกเขื่อง, ความรู้สึกเด่น | น. ความรู้สึกว่าตนเองมีความสามารถเหนือกว่าหรือดีเด่นกว่าผู้อื่น ความรู้สึกนี้ไม่จำเป็นจะต้องอยู่ในจิตใต้สำนึก แต่ถ้าเกิดขึ้นเสมอ ๆ และมิได้แก้ไขหรือได้รับการสนับสนุน เช่นในการอบรมเลี้ยงดูเด็ก ก็อาจเก็บสะสมไว้เกิดเป็นนิสัยของบุคคลนั้นได้ |
ความรู้สึกเขื่อง, ความรู้สึกเด่น | ความเชื่อหรือความมั่นใจว่าตนเองมีฐานะหรือความสามารถเหนือกว่าผู้อื่น. |
ความรู้สึกไว | น. ลักษณะอาการที่รับอารมณ์ต่าง ๆ ได้รวดเร็ว เช่น ผู้ที่ศึกษาวรรณคดีควรจะมีความรู้สึกไวจึงจะรับรสวรรณคดีได้. |
ความคิด | ความรู้ที่เกิดขึ้นภายในใจ ก่อให้เกิดการแสวงหาความรู้ต่อไป เช่น เครื่องบินเกิดขึ้นได้เพราะความคิดของมนุษย์ |
Know-how | ความรู้ความชำนาญ [เศรษฐศาสตร์] |
Knowledge | ความรู้ [การจัดการความรู้] |
Individual knowledge | ความรู้เฉพาะบุคคล [การจัดการความรู้] |
Organizational knowledge | ความรู้ขององค์กร [การจัดการความรู้] |
Structural knowledge | ความรู้ที่เป็นระบบ [การจัดการความรู้] |
Tacit knowledge | ความรู้ที่อยู่ภายใน, ความรู้ฝังลึก, Example: เป็นความรู้ที่อยู่ภายในตัวของแต่ละบุคคล เกิดจากประสบการณ์ การเรียนรู้ สื่อสารออกมาเป็นลายลักษณ์อัีกษรได้ยาก เป็นความรู้ที่ก่อให้เกิดความได้เปรียบในการแข่งขัน [การจัดการความรู้] |
Explicit knowledge | ความรู้ที่อยู่ภายนอก, ความรู้ที่สามารถรวบรวมและถ่ายทอดออกมาในรูปแบบต่างๆ ได้ เช่น หนังสือ คู่มือ ตำรา เอกสารต่างๆ คนทั่วไปสามารถเข้าถึงความรู้ประเภทนี้ได้ง่าย [การจัดการความรู้] |
มรณภาพ | ความรู้สึกกลัวต่อความตาย ภัยที่อันตรายถึงตาย, Example: คำที่มักเขียนผิด มรณะภาพ [คำที่มักเขียนผิด] |
Emotions | ความรู้สึก [TU Subject Heading] |
Handbooks, vade-mecums, etc. | ความรู้ทั่วไป [TU Subject Heading] |
ความรู้ | [khwāmrū] (n) EN: knowledge ; learning ; erudition ; information ; awareness FR: connaissance [ f ] ; savoir [ m ] |
ความรู้ก่อนประสบการณ์ | [khwāmrū køn prasopkān] (n, exp) EN: a priori ; a priori knowledge |
ความรู้ความชำนาญ | [khwām rū khwām chamnān] (n, exp) EN: know-how |
ความรู้จัก | [khwām rūjak] (n) FR: connaissance [ f ] |
ความรู้ทางธุรกิจ | [khwāmrū thāng thurakit] (n, exp) EN: business experience |
ความรู้พื้นฐาน | [khwāmrū pheūnthān] (n, exp) EN: basic knowledge FR: connaissances élémentaires [ fpl ] ; connaissances de base [ fpl ] |
ความรู้สึก | [khwām rūseuk] (n) EN: feeling ; emotion ; passion ; sentiment FR: sentiment [ m ] ; sensation [ f ] |
ความรู้สึกด้อย | [khwām rūseuk dǿi] (n, exp) EN: inferiority feeling FR: sentiment d'infériorité [ m ] |
ความรู้สึกนึกคิด | [khwām rūseuk neukkhit] (n, exp) EN: feeling ; emotion ; sentiment |
ความรู้สึกผิด | [khwām rūseuk phit] (n, exp) EN: guilt ; conscience |
give so. the creeps | (colloq) ให้ความรู้สึกที่น่ากลัวสะหวั่นพรั่นพรึง เช่น That black cat gives me the creeps every time I see it. |
give so. the creeps | (colloq) ไม่ถูกชะตา, ให้ความรู้สึกที่ไม่ชอบ เช่น He really gives me the creeps. |
ayurveda | (n) อายุรเวช (มาจากสันสกฤต หมายความว่าความรู้ (เวช) เกี่ยวกับชีวิต (อายุร)) |
Central Bankruptcy Court | (n, name, org, uniq) ศาลล้มละลายกลาง เป็นศาลชั้นต้นตามพระธรรมนูญศาลยุติธรรม ซึ่งมีลักษณะเป็นศาลชำนัญพิเศษ จัดตั้งขึ้นโดยพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลล้มละลายและวิธีพิจารณาคดีล้มละลาย พ.ศ. 2542 โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้คดีล้มละลายซึ่งมีลักษณะพิเศษแต่กต่างจากคดีแพ่ง ทั่วไป ได้รับการพิจารณาพิพากษาจากผู้พิพากษาที่มีความรู้ความชำนาญเป็นพิเศษ - อ้างอิงจากhttp://www.judiciary.go.th/bkcc/history.html |
homoeopathy | [โฮมีโอพาธี] (n) การบำบัดแบบโฮมีโอพาธีมีแนวคิดหรือปรัชญาพื้นฐานในการทำความเข้าใจร่างกายมนุษย์ที่แตกต่างจากระบบการแพทย์แผนปัจจุบันโดยสิ้นเชิง การมองร่างกายและจิตใจของ ผู้ป่วยจะไม่ได้มองเป็นอวัยวะที่แยกส่วนออกจากกัน แต่จะมองร่างกายและจิตใจของผู้ป่วยเป็นภาพรวมเดียวกัน ดังนั้นก่อนที่จะบำบัดผู้ป่วยจะต้องมีการสัมภาษณ์และคุยกับผู้ป่วยในเรื่องของลักษณะทั่วไป บุคลิกภาพ ประวัติทางการแพทย์ของครอบครัว อารมณ์ ความรู้สึกส่วนบุคคลต่อสิ่งแวดล้อม อาหาร อากาศ ฯลฯ รวมทั้งอาการของโรคด้วย นักบำบัด (practitioner) จะต้องนำคำตอบทั้งหมดมาประมวลและสรุปเป็นภาพรวมโดยเรียกว่า “ภาพของอาการ” (symtom picture)ดังนั้นการประเมินประสิทธิภาพของการบำบัดจึงไม่ควรใช้กรอบและแนวคิดของระบบการแพทย์แผนปัจจุบันประเมินแต่เพียงอย่างเดียว ควรมีการศึกษาและทำความเข้าใจแนวคิดพื้นฐานของการบำบัดแบบโฮมีโอพาธีด้วย โดยสรุปแล้วการบำบัดแบบโฮมีโอพาธีจัดเป็นศาสตร์การรักษาสุขภาพแบบองค์รวมที่เน้นเรื่องการปรับสมดุลสารชีวเคมีและพลังไหลเวียนภายในร่างกาย การให้ยาเป็นไปเพียงเพื่อกระตุ้นให้ร่างกายเกิดการปรับสมดุลด้วยกลไกตามธรรมชาติของร่างกายเอง ไม่ได้มุ่งหมายให้ยาไปขจัดหรือทำลายกลไกของร่างกายหรือสารที่ก่อให้เกิดอาการป่วย รวมทั้งไม่ได้มุ่งหมายที่จะขจัดสิ่งมีชีวิตใด ๆ ออกจากร่างกายด้วย |
collectivism | (n) ความรู้สึกผูกพันกับกลุ่ม เช่น Collectivism is an answer to the first question. It says value to the collective, whether that's society, your tribe, your family, your nation and your race. |
mansplaining | (n, slang) การกระทำที่ผู้พูด (มักเป็นผู้ชาย) อธิบายหรือแสดงความคิดเห็นต่อสิ่งต่างๆ ให้แก่ผู้ฟัง (มักเป็นผู้หญิง) ในลักษณะที่ทำตัวเหนือกว่า, คิดว่าฝ่ายผู้ฟังไม่มีความรู้ในเรื่องนั้นๆ หรือ ใช้คำอธิบายในลักษณะที่ทำให้ผู้ฟังเข้าใจง่ายจนเกินสมควรเช่นเหมือนอธิบายเด็ก ดูคำอธิบายเพิ่มเติม https://dict.longdo.com/blog/word-of-the-day-mansplaining/ |
networking | (n) กิจกรรมการพบปะผู้คน, ทำความรู้จักคนใหม่ๆ, สนทนา และแลกเปลี่ยนความคิดเห็น เช่น ในงานสัมมนาอาจมีช่วงงานเลี้ยงที่เป็น networking party ให้ผู้เข้าร่วมได้พบปะทำความรู้จักกัน |
acquaintance | (n) ความรู้, See also: ประสบการณ์, Syn. familiarity, experience |
aesthesia | (n) ความรู้สึกต่อสิ่งใดสิ่งหนึ่ง, See also: ความรับรู้ |
affinity | (n) ความรู้สึกชอบพอ, Syn. fondness, liking, sympathy |
annoyance | (n) ความรำคาญ, See also: ความรู้สึกรำคาญ, Syn. vexation, irritation, uneasiness, Ant. pleasure, joy, delight |
cognizance | (n) ความรู้ความเข้าใจ, Syn. knowledge |
command | (n) ความรู้อย่างแตกฉานทางภาษา, Syn. mastery, expertise, facility, grasp, ability |
compassion | (n) ความเห็นใจ, See also: ความรู้สึกเศร้าใจไปกับความทุกข์ของผู้อื่น, Syn. sympathy, empathy, pity |
compunction | (n) ความรู้สึกสำนึกผิด, Syn. penitence, qualm |
conscience | (n) ความรู้สึกผิดชอบชั่วดี, Syn. moral sense, inner voice |
consolation | (n) ความรู้สึกสะดวกสบาย, Syn. comfort, solace |
aesthetic | (al) (เอสเธท' ทิค, -เคิล) adj. เกี่ยวกับความรู้สึกต่อความงาม, เกี่ยวกับสุนทรีย์ศาสตร์, เกี่ยวกับอารมณ์และความรู้สึกที่บริสุทธิ์, ทฤษฏีหรือความคิดเห็นที่ถือความงามเป็นใหญ่., Syn. esthetic al -esthetician n. |
affect | (vi., vt. อะเฟคทฺ'; -n. เอฟ' แฟคทฺ, อะเฟคท'ฺ) -vt., vi. มีผลต่อ, ส่งผลต่อ, กระทบกระเทือน, ทำให้เสียใจ, ทำให้สงสาร, เป็น (โรค) , เสแสร้ง, ชอบ, โน้มเอียงไปทาง-n. ความรู้สึก, อารมณ์ |
affective | (อะเฟค' ทิฟว) adj. ด้าน (ความรู้สึก) , เกี่ยวกับอารมณ์, ทำให้เกิดอารมณ์หรือความรู้สึก, |
afternoons | (อาฟเทอะนูนซฺ', แอฟ-') n. รสที่ยังกรุ่นอยู่ในปาก, ความรู้สึกที่กรุ่นอยู่หลังเหตุการณ์ที่พอใจผ่านไป |
agnostic | (แอกนอส' ทิค) n., adj. ผู้ไม่เชื่อว่ามีพระเจ้าเพราะไม่มีใครที่รู้จริง, ผู้ไม่เชื่อว่า ความรู้เป็นสิ่งแน่นอนที่สุดในบาง อย่าง (ทฤษฎีอวิชชา) |
algometer | (แอลกอม' มิเทอะ) n. เครื่องมือวัดความรู้สึกต่อความเจ็บปวดที่เกิดจากการกดหรือแรงกด. -algometric (al) adj. -algometry n. |
alphabet | (แอล' ฟาเบท) n. อักษรพยัญชนะ, อักษร, อักขระ, ระบบตัวอักษร, ความรู้พื้นฐาน, ขั้นมูลฐาน. |
ambitendency | (แอมบิเทน' ดันซึ่) n., (pl. -cies) Psycho. ความรู้สึกรวมที่เป็นทั้งเชิงบวกและเชิงบวกและเชิงลบที่มีต่อบุคคลอื่นหรือสิ่งของ |
ambivalence | (แอมบิฟ' วะลันซฺ) n. ความไม่แน่ใจ (โดยเฉพาะในการเลือกสิ่งที่ตรงกันข้าม) ความรู้สึกรวมที่มีทั้งที่เป็นเชิงบวกและเชิงลบต่อบุคคลอื่นหรือสิ่งของ. -ambivalent adj. |
anaesthesia | (แอนเอสธี' เซีย) n. การไร้ความรู้สึก, การทำให้ชา, ภาวะชา. -anesthetic adj., -n. anesthetist (loss of sensation) |
affective | (adj) เกี่ยวกับความรู้สึก, เกี่ยวกับอารมณ์ |
anaesthesia | (n) การหมดความรู้สึก, การชา |
anaesthetic | (adj) ซึ่งหมดความรู้สึก |
anesthesia | (n) การหมดความรู้สึก, การชา |
befriend | (vt) เป็นเพื่อน, ตีสนิท, ทำความรู้จัก |
benumb | (vt) ทำให้ชา, ทำให้หมดความรู้สึก, ทำให้มึนงง |
cognition | (n) ความรู้ความเข้าใจ, ญาณ |
COLD-cold-blooded | (adj) เย็นชา, เฉยเมย, เลือดเย็น, ดุร้าย, ไม่มีความรู้สึก, อำมหิต |
COLD-cold-hearted | (adj) ไม่สงสาร, ไม่ปรานี, ไม่มีความรู้สึก, ไร้ความเมตตา |
communicate | (vt) ติดต่อ, แจ้ง, บอกให้ทราบ, ถ่ายทอด, ส่ง, ให้ความรู้ |
親近感 | [しんきんかん, shinkinkan] ความรู้สึกชอบพอ |
鑑賞 | [かんしょう, kanshou] ความรู้คุณค่า, ความกตัญญู, การประเมินค่า, การตระหนัก |
悟り | [さとり, satori] (n) ความรู้แจ้งเห็นจริง การตรัสรู้, See also: R. 悟りを開く |
感想 | [かんそう, kansou] (n) ความรู้สึก |
予備知識 | [よびちしき, yobichishiki] (n) ความรู้พื้นฐาน |
予備知識 | [よびちしき, yobichishiki] (n) ความรู้พื้นฐาน |
感性 | [かんせい, kansei] (n) ความรู้สึก |
kalt | (adj) เย็นชา, ไร้ความรู้สึก, เมินเฉย, See also: Syn. eisig, frostig |
Kenntnis | (n) |die, pl. Kenntnisse| ความรู้ |
eine Bekanntschaft machen | ทำความรู้จัก, See also: bekanntmachen, kennenlernen |
spüren | (vi, vt) |spürte, hat gespürt| รู้สึกถึง, รับความรู้สึก, รับรู้ เช่น Du sollst spüren, daß sie immer für dich da ist. นายควรรับรู้ไว้ว่าเธออยู่ตรงนี้เสมอสำหรับนาย (สังเกตความแตกต่างระหว่าง spüren และ fühlen โดยมาก fühlen ใช้บ่งความรู้สึกทางร่างกาย เช่น Ich fühle mich schlecht.ซึ่งจะไม่พูดว่า Ich spüre schlecht. ), See also: Related: fühlen |
etw. nimmt etw.(D) den Stachel. | (idiomatisch) สิ่งหนึ่งทำให้ความรู้สึกอึดอัด หรือความไม่สบายใจของอีกสิ่งหนึ่งลดลง |
knallhart | (adv) โดยไม่คำนึงถึงความรู้สึกของผู้อื่น เช่น ich hab' ihm knallhart meine Meinung gesagt! = ผมแสดงความคิดเห็นกับเขาโดยไม่ต้องเกรงใจอะไร, See also: schonungslos, Syn. deutlich |
Pragmatismus | (n) |der, nur Sg.| ปฏิบัตินิยม, หลักการหรือปรัชญาที่ว่าผลของการปฏิบัติเป็นแกนหรือความหมายของความรู้ |
zartfühlend | (adj) คำนึงถึงความรู้สึกของผู้อื่นมาก, See also: taktvoll, Syn. rücksichtsvoll |
kaltbleiben | (vi) |blieb kalt, ist kalt geblieben| ไม่มีความรู้สึกร่วม, มีแต่ความเย็นชา |
Vorbereitungskurs | (n) |der, pl. Vorbereitungskurse| วิชาหรือหลักสูตรปูพื้นฐานความรู้ก่อนเข้าเรียนในสาขาใดๆ |